SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
บทที่ 2
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในด้านนี้เป็นอย่าง
ดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้นักเรียนจา และสื่อการสอนที่
นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอน
บนกระดาน หรือแม้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมี
ประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทาให้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด ส่วนนักเรียน
ของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครู
กาหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทา
แค่นั้นพอ
ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมาทั้งหมด ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ
เมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนามา
ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
ภารกิจ
 1. วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจน
วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
 2. วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
 3. ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการ
ใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของ
นักเรียน ว่าสอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
ไม่สอดคล้อง เพราะว่า...ในยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น
 ครูสมศรีไม่ควรเน้นวิธีการสอนโดยการบรรยาย และการให้นักเรียนจาเนื้อหาเพียง
อย่างเดียว เพราะเรียนไปไม่นานก็จะทาให้ลืมเนื้อหาที่เรียน
แต่ครูสมศรีควรปรับเปลี่ยนตนมาเป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วมแก้ปัญหา ชี้นา
ความรู้ และผู้ร่วมเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง แสดงออกอย่างอิสระ
เรียนรู้จากสภาพจริงและประสบการณ์ตรง เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง
ตอบ
 ครูสมศรีไม่ควรนาสื่อการสอนที่เน้นการถ่ายทอดความรู้ เรื่องราวในบทเรียน ผ่านทาง
หนังสือเรียน กระดาน ไปยังผู้เรียนโดยตรงอย่างเดียว ซึ่งจะทาให้นักเรียนไม่เกิดการเรียนรู้
ด้วยตนเอง ไม่สามารถคิด และแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
ดังนั้นครูสมศรีจึงควรครูสมศรีควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ใช้สื่อ
การเรียนรู้ และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับ
ความรู้ใหม่
 นักเรียนของครูสมศรีควรจะ...
 เรียนรู้อย่างตื่นตัว
 ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
 เรียนรู้อย่างมีความสุข
 ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับผู้อื่น
 เรียนรู้ให้ตรงกับความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง
 มีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
แนวคิดวิธีการในยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนี้จะทาให้เป็นสังคม
ที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่
ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง ?
พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงโฉม
หน้าทางการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่
เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
ต้องปรับเปลี่ยนให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของ
สังคมอยู่ตลอดเวลา บุคคลที่จะอยู่รอดต้องรู้จักคิด รู้จัก
แก้ปัญหาได้ จึงจาเป็นต้องให้การศึกษาที่มีคุณภาพใช้
เทคโนโลยีและสารสนเทศต่างๆให้เป็นประโยชน์
แนวคิดดั้งเดิม
แนวคิดใหม่
เน้นทักษะการจดจา
คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษา
ด้วยตนเองได้
เหตุผล
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
ปัจจุบันสภาพชีวิตจริงต้องการบุคคลที่มี
ความสามารถในการใช้ทักษะการให้เหตุผลในระดับที่
สูงขึ้น เพื่อการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน
เมื่อก่อน
ผู้เรียนเป็นเหมือนภาชนะที่ว่างเปล่า
ที่รอรับการเติมให้เต็ม
ปัจจุบัน ผู้เรียนมีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง
และค้นหาความหมาย
เหตุผล
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียน
ที่เน้นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง
ทุกคนต้องการเกี่ยวกับการศึกษาเพิ่มขึ้น ผู้เรียน
จึงควรได้รับทักษะที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิด
ความพร้อมในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริงที่ซับซ้อน
ต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก “การจดจา” ข้อเท็จจริงไปสู่
การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์”
เหตุผล
ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อ
ช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ เป็นผู้ส่งเสริม และร่วมแก้ปัญหา
ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของ
ครูสมศรีให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
ตอบ
วิธีการสอนของครูสมศรีนั้น มักจะบรรยายให้นักเรียนจา และสื่อที่
นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้
ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน และวิดีโอ โดยวิธีการ
สอนแบบนี้ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็ทาให้
ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะ
นามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ ซึ่งในยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญนี้ควรที่จะมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการสอน ผู้สอน
ควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้
ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่
ซึ่งแต่เดิมมักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยการท่องจา ควรปรับเปลี่ยนมาสู่
การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนรับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสอนที่
ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโยงความรู้ โดยเน้นการใช้วิธีการต่างๆ
อาทิ สถานการณ์จาลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ
สาหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง
 ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
 เรียนรู้จากสภาพจริงและประสบการณ์ตรง
 เรียนรู้อย่างมีความสุข
 เรียนรู้ให้ตรงกับความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง
 มีโอกาสใช้กระบวนการคิด
 มีโอกาสแสดงออกอย่างอิสระ
 ได้ใช้สื่อต่างๆในการเรียนรู้
 ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับผู้อื่น
รายชื่อสมาชิก
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1

More Related Content

What's hot

สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวjome1994
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์Natcha Wannakot
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
ธัญญลักษณ์ No.10 d1
ธัญญลักษณ์ No.10 d1ธัญญลักษณ์ No.10 d1
ธัญญลักษณ์ No.10 d1thanyalak nernphom
 

What's hot (18)

Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
The saddest experience
The saddest experienceThe saddest experience
The saddest experience
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ครู
ครูครู
ครู
 
ครู1
ครู1ครู1
ครู1
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
ธัญญลักษณ์ No.10 d1
ธัญญลักษณ์ No.10 d1ธัญญลักษณ์ No.10 d1
ธัญญลักษณ์ No.10 d1
 

Similar to บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2Ann Pawinee
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatSattakamon
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2Thamonwan Kottapan
 
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2Sasitorn Seajew
 
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาB'nust Thaporn
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxFame Suraw
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 

Similar to บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1 (20)

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombat
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
งานบทที่ 2
งานบทที่ 2งานบทที่ 2
งานบทที่ 2
 
งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2
 
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ บทที่ 2
 
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docx
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Innovation chapter 2
Innovation chapter 2Innovation chapter 2
Innovation chapter 2
 

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา 1