SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่ 2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
การศึกษา
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความ
เชี่ยวชาญในด้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละ
ครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้นักเรียนจา และสื่อการ
สอนที่นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็ นในลักษณะที่เน้นการ
ถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็ นหนังสือเรียน, การสอนบน
กระดาน หรือแม้กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดย
ครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือ
สามารถทาให้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้
ได้มากที่สุด
สถานการณ์ปัญหา
ส่วนนักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้
จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครู
กาหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหา
ความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอซึ่งจาก
วิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมา
ทั้งหมดได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือเมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่นานก็
ทาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่
สามารถที่จะนามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน
และการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับ
ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
หรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
ภารกิจที่ 1
1. การจัดการเรียนการสอน ครูสมศรีมักสอนหรือบรรยายให้
นักเรียนจา และเชื่อว่าการสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้นคือ
สามารถทาให้นักเรียนจาเนื้อหาในบทเรียนได้มากที่สุด แต่
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเน้นให้นักเรียน คิดเป็น
แก้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษาด้วยตนเองได้ และ Bruner
ได้กล่าวไว้ว่า “ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก
“การจดจา” ข้อเท็จจริงไปสู่การเริ่มต้นคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และสร้างสรรค์ ”
แนวคิดวิธีจัดการเรียนการสอน การใช้สื่อการสอนของ
ครูสมศรี วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูป
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพราะ
2. การใช้สื่อการสอน สื่อการสอนของครูสมศรีเป็นในลักษณะ
การถ่ายทอดความรู้ เช่น หนังสือเรียน การสอนบนกระดาน
วีดีโอ เป็นต้น แต่การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้นเปลี่ยนจาก
สื่อการสอนเป็นสื่อการเรียนรู้และนวัตกรรมการเรียนรู้ คือการ
ใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนรับข้อเท็จจริงได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น การใช้เทคนิคช่วยจา สถานการณ์จาลอง การ
ค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ นอกจากเพื่อให้
ผู้เรียนสามารถจดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้แล้วยังพัฒนาคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ของสังคมไทย เช่น สามารถคิดแบบองค์รวม ทางาน
ร่วมกับเป็นทีม สามารถแสวงหาความรู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง
ได้ เพื่อทาให้เป็นสังคมที่มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่จะ
สามารถแข่งขัน ร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลกต่อไป
3. วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน นักเรียนของครูสมศรีเป็นประเภทที่
รอรับความรู้จากครูเพียงอย่างเดียว ดาเนินกิจกรรมการเรียน
ตามที่ครูกาหนดทั้งหมด เรียนนานไปก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นหา
ความรู้เพิ่มเติมให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นั้น แต่การเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทาในภารกิจการ
เรียนที่ส่งเสริมการแสวงหาข้อมูล สารสนเทศ การค้นพบคาตอบ
ตลอดจนสามารถนาความรู้ที่เรียนมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ ไม่ใช่
แค่รอรับความรู้จากครูเพียงอย่างเดียว
วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
มาสู่ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลสนับสนุน
ภารกิจที่ 2
1. ด้านวิธีการเรียนการสอน
แนวคิดดั้งเดิม ครูเป็นผู้ถ่ายทอดเนื้อหาเน้นทักษะการ
จดจานักเรียนนั่งฟังรอรับความรู้จากครู เป็นการสอน
ที่ผู้เรียนไม่สามารถคิดเกินกว่าข้อมูลที่ครูจัดให้
แนวคิดใหม่ เป็นการจัดการศึกษาที่เป็นความรู้พื้นฐานที่
จะเป็นบันไดในการศึกษาวิชาอื่นๆ และความรู้
เกี่ยวกับความเป็นมนุษย์ คือ ให้คิดเป็น แก้ปัญหา
เป็น และสามารถศึกษาด้วยตนเองได้
2. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
แนวคิดเดิม เป็นสื่อการสอน คือตัวกลางหรือช่องทางใน
การถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียน
แนวคิดใหม่ เป็นสื่อการเรียนรู้และ
นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ คือสื่อที่
ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองเป็นสิ่งสาคัญ ทาให้ผู้เรียน
เข้าใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น
3.ด้านวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน
แนวคิดเดิม ผู้เรียนเป็นภาชนะที่
ว่างเปล่าที่รอการเติมให้เต็ม
แนวคิดใหม่ ผู้เรียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความตื่นตัวใน
การเรียนรู้ คิดค้น เสาะแสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตั้ง
คาถาม อธิบาย ตลอดจนทาความเข้าใจสิ่งแวดล้อม
ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครู
สมศรี ให้เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
ภารกิจที่ 3
แต่เดิมการเรียนการสอนมักสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยการท่องจา
ควรปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียนเรียนรู้ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น มีเทคนิคการช่วยจา แต่ไม่ใช่การท่องจา
ฝึกให้ผู้เรียนมีการคิด วิเคราะห์ มีการทดลอง ฝึกเชื่อมโยงความรู้
ฝึกให้ผู้เรียนแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริง เปิดโอกาสให้เรียนรู้อย่าง
อิสระ มีสื่อต่างๆและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อการเรียนรู้ มีการสรุป
องค์ความรู้ให้เข้าใจง่ายขึ้น เช่น การทาคอนเซปแมป เพื่อตรวจสอบ
ความเข้าใจของนักเรียน ถ้านักเรียนเรียนรู้โดยการท่องจาก็จะส่งผล
ทาให้ลืมบทเรียนได้ง่าย แต่ถ้านักเรียนเรียนรู้ด้วยการทาความเข้าใจก็
จะส่งผลให้จดจาบทเรียนได้ไปตลอด และสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในด้านต่างๆได้
THE END
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวลลิตา มะลิต้น 553050226-5
นางสาวนภารัตน์ ศรีทน 553050292-2
นางสาวพรสุดา เสนไชย 553050304-1
241203 Sec.1
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า

More Related Content

What's hot

ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาB'nust Thaporn
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4edk2bn
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 

What's hot (16)

ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
งานบทที่ 2
งานบทที่ 2งานบทที่ 2
งานบทที่ 2
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Powerpoint5
Powerpoint5Powerpoint5
Powerpoint5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 

Viewers also liked

นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3LALILA226
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8LALILA226
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Teerasak Nantasan
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2Nuttapoom Tossanut
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาTeerasak Nantasan
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 

Viewers also liked (17)

นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8นวัตกรรม บทที่ 8
นวัตกรรม บทที่ 8
 
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
Cognitive learning theories and its implication on science classroom teaching...
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 2
 
นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร บทที่ 1
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 

Similar to นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า

นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxFame Suraw
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatSattakamon
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Dekdee Hoptu
 
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Pacharatorn Jampeeprom
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
Chapter2 group
Chapter2 groupChapter2 group
Chapter2 groupRay Ruchi
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2goojaewwaow
 

Similar to นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า (20)

นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docx
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
สถานการณ์ปัญหา บทที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombat
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
Problem based learning (16 มิ.ย. 56)
 
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1
 
Chapter2 group
Chapter2 groupChapter2 group
Chapter2 group
 
1 chapter2
1 chapter21 chapter2
1 chapter2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2
 
Innovation chapter 2
Innovation chapter 2Innovation chapter 2
Innovation chapter 2
 

นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า