SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
สมาชิก
ในกลุ่ม 
2.นายสหภาพ เนาวะราช รหัส 563050144-8 
1.นายทัตพงศ์ นนยะโสรหัส 563050094-7 
3.นายศุภรัตน์ บุญคุ้ม รหัส 563050394-5 
4.นายไกรวุฒิ เทศประสิทธิ์ รหัส 563050073-5
สถานการณ์ปัญหา 
ครูพลกิต เป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด ผู้อานวยการ โรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้องเด็กเก่งด้วย ยิ่งทาให้ ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทาได้ดีหรือไม่และนักเรียนจะสนุกหรือสนใจใน วิธีการสอนของตนเองหรือไม่ ที่สาคัญคือนักเรียนห้องนี้มีลักษณะที่ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่ เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้าทายการทางานนักเรียนจะชอบมาก อีกทั้งยังเรียนพิเศษ แบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียนส่วนใหญ่นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ ที่สังเกตได้ชัดคือนักเรียนจะแข่งกันเรียน ทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จเท่าที่ควร 
ซึ่งผู้อานวยการโรงเรียนฝากความหวังไว้ที่ครูพลกิตเพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของ นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5ห้องนี้ให้ได้
ภารกิจ
1. ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร 
2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใดจึง จะสอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่ กาหนดให้ 
คิดออกแล้ว
1.ครูพลกิตจะมีหลักในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้สามารถ จัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร 
ในการเตรียมความพร้อมที่จะสอนนักเรียนนั้นจะต้องมีการ เตรียมสิ่งต่างๆดังนี้ 
1.การเตรียมสื่อการเรียนรู้ 
2.การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
3.การเตรียมผู้เรียน 
4.การดาเนินการตามบทเรียน
1.การเตรียมสื่อการเรียนรู้ 
ผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมของสื่อให้มีความสอดคล้องกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ 
ตามแผนที่ได้ออกแบบไว้ในขั้นตอนการเตรียมความพร้อมของสื่อจะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือกสื่อที่ใช้ในการ นาเสนอความรู้การพัฒนาหรือปรับปรุงสื่อเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตลอดจนการออกแบบและพัฒนาสื่อ การเรียนรู้ขึ้นมาใหม่ในการใช้สื่อนั้นผู้สอนอาจแบ่งออกเป็น3ช่วงคือ 
1.ก่อนการจัดการเรียนรู้เป็นช่วงการเตรียมความพร้อมให้สมบูรณ์ในทุกส่วนได้แก่ตรวจสอบความ พร้อมของสื่อฝึกใช้สื่อให้ชานาญเก็บสื่อไว้ในที่ที่สามารถใช้งานได้ง่าย 
2.ระหว่างการจัดการเรียนรู้มีการเน้นสาระสาคัญในสื่อที่สอน 
3.หลังการจัดการเรียนรู้มีการให้ทาโครงงานหรือกิจกรรม
2.การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ 
ผู้สอนจะต้องจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมสถานที่ที่ใช้ในการเรียนให้มีประสิทธิภาพมาก ที่สุดเพื่อที่นักเรียนสามารถที่จะเกิดการเรียนรู้ได้อย่างสูงสุดเช่นการเตรียมอุปกรณ์ ต่างๆในห้องให้เรียบร้อยการจดเตรียมห้องให้น่าเรียนเป็นต้น
3.การเตรียมผู้เรียน 
การเตรียมผู้เรียนอาจเริ่มด้วยการให้มโนมิติทางการเรียน(Advance organizer) ล่วงหน้าก่อนเรียนโดยการจัดทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้า การแนะนากิจกรรมการเรียนหรือการให้สารสนเทศที่สาคัญก่อนการจัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมทักษะความรู้และทัศนคติที่ดีต่อการเรียนโดยมีเป้าหมายที่สาคัญคือการทาให้ ผู้เรียนใส่ใจและสร้างความต้องการที่จะเรียนรู้จากสื่อหรือวิธีการที่ครูจัดไว้ในบทเรียน (Ausubel, 1968)
4.การดาเนินการตามบทเรียน 
มีขั้นตอนดังนี้ 
1.การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน 
2.การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้ 
3.การสร้างแรงจูงใจในการเรียน 
4.การตั้งคาถามในระหว่างเรียน
2. ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้สื่อหรือวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ ใดจึงจะสอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม สถานการณ์ที่กาหนดให้ 
ควรใช้สื่อแบบร่วมมือเพราะว่านักเรียนห้องนี้เป็นนักเรียนที่ แข่งกันเรียนควรที่จะทางานเป็นกลุ่มควรร่วมมือร่วมใจกันเรียน
เป็นกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดให้นักเรียนเรียนด้วยกันเป็น กลุ่มเล็กแบบคละความสามารถให้ทางานร่วมกันช่วยเหลือกันในการผสมผสานความรู้ที่มี อยู่เดิมกับความรู้ใหม่และค้นพบความหมายของสิ่งที่ศึกษาด้วยกลุ่มโดยทากิจกรรมในการ สืบค้น(Explore) อภิปราย(Discuss) อธิบาย(Explain) สอบสวนแนวความคิดและ แก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่มเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกันเป็นวิธีเรียนวิธีหนึ่งที่กาลังได้รับความ สนใจและนาไปประยุกต์ในการเรียนการสอนทุกวิชาและทุกระดับชั้นรูปแบบการเรียนแบบ ร่วมมือที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลายมีดังต่อไปนี้ 
การเรียนแบบร่วมมือ
1. STAD (Student Teams -Achievement Division) เป็น รูปแบบการเรียนรู้มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาการสัมฤทธิ์พลของการเรียนและทักษะ ทางสังคมเป็นสาคัญ 
2. TGT (Team Games Tournament) เป็นรูปแบบที่คล้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจในการเรียนเพิ่มขึ้นโดยการใช้การแข่งขันเกมแทนการ ทดสอย่อย 
3. TAI (Team Assisted Individualization) เป็นรูปแบบการเรียน ที่ผสมผสานแนวคิดระหว่างการร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล (Individualized Instruction) รูปแบบของTAI เป็นการประยุกต์ใช้กับการสอน คณิตศาสตร์
4. CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) 
เป็นรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือแบบผสมผสานที่มุ่งพัฒนาขึ้นเพื่อสอนการ อ่านและการเขียนสาหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลายโดยเฉพาะ 
5. Jigsaw ผู้ที่คิดค้นการเรียนการสอนแบบJigsaw เริ่มแรกคือ Elliot –Aronson และคณะ(1978) หลังจากนั้นสลาวินได้นาแนวคิด ดังกล่าวมาปรับขยายเพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือมาก ยิ่งขึ้นเป็นรูปแบบที่เหมาะสมกับวิชาที่เกี่ยวข้องกับการบรรยายเช่นสังคม ศึกษาวรรณคดีวิทยาศาสตร์ในบางเรื่องรวมทั้งวิชาอื่นๆที่เน้นการพัฒนา ความรู้ความเข้าใจมากกว่าพัฒนาทักษะ
6. Co –op Co –op เป็นรูปแบบที่พัฒนาโดยShlomo และYael Shsran ที่ใช้ในงานเฉพาะอย่างลักษณะสาคัญคือสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม ย่อยจะได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้อหาหรือทากิจกรรมที่ต่างกันทาเสร็จ แล้วนาผลงานมารวมกันเป็นกลุ่มร่วมกันแก้ไขทบทวนแล้วนามาเสนอต่อชั้น เรียน 
7. การเล่าเรื่องรอบวง(Round robin) เป็นเทคนิคการเรียนแบบ ร่วมมือที่เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มได้เล่าประสบการณ์ความรู้สิ่งที่ ตนกาลังศึกษาสิ่งที่ตนประทับใจให้เพื่อนๆในกลุ่มฟังบทที่9การเลือกใช้สื่อ และวิธีการจัดการเรียนรู้
8. มุมสนทนา(Corners) เริ่มต้นจากการให้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละ กลุ่มเข้าไปนั่งตามมุมหรือจุดต่างๆของห้องเรียนและช่วยกันหาคาตอบ สาหรับโจทย์ปัญ หาต่างๆที่ครูยกขึ้นมาและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนอธิบาย เรื่องราวที่ตนศึกษาให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง 
9. คู่ตรวจสอบ(Pairs Check) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ4 หรือ6 คนให้นักเรียนจับคู่กันทางานคนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะวิธีแก้ปัญ หาอีกคน ทาหน้าที่แก้โจทย์เสร็จข้อที่1แล้วให้สลับหน้าที่กันเมื่อเสร็จครบ2ข้อให้ นาคาตอบมาตรวจสอบกับคาตอบของคู่อื่นในกลุ่ม
10. คู่คิด(Think-Pair Share) ครูตั้งคาถามให้นักเรียนตอบนักเรียน แต่ละคนจะต้องคิดคาตอบของตนเองนาคาตอบมาอภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติด กับตนนาคาตอบมาเล่าให้เพื่อนทั้งชั้นฟัง 
11. ร่วมกันคิด(Numbered Heads Together) เริ่มจากครูถาม คาถามเปิดโอกาสให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบจากนั้นครูจึงเรียก ให้นักเรียนคนใดคนหนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือทุกๆกลุ่มตอบคาถามเป็น วิธีการที่นิยมใช้ในการทบทวนหรือตรวจสอบความเข้าใจ
12. การเรียนแบบร่วมมือกับการสอนคณิตศาสตร์จอห์นสันและ จอห์นสัน(Johmson and Johmson, 1989) กล่าวว่าการเรียนแบบ ร่วมมือสามารถใช้ได้เป็นอย่างดีในการเรียนคณิตศาสตร์เพื่อให้นักเรียนคิด ทางคณิตศาสตร์เข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างมโนมติและกระบวนการและ สามารถที่จะประยุกต์ใช้ความรู้อย่างคล่องแคล่ว
Thank you! 
Contact Address: 
Prof. Somchai Doe 
Tel: 
Email: 
www.kku.ac.th

More Related Content

What's hot

Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาChapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาWilasinee Narinrat
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdfFerNews
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4Jiraporn Kru
 

What's hot (13)

บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาChapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
Chapter9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdf
 
บทท 9 (1) 2
บทท  9 (1) 2บทท  9 (1) 2
บทท 9 (1) 2
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 

Similar to Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้

การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาJaengJy Doublej
 
Chapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มChapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มTa'Tatpong Nonyaso
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้pohn
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้sarayut_mark
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Suparat Boonkum
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล มtheandewxx
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังAchariyaChuerpet
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 Watcharasak Chantong
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nisachol Poljorhor
 

Similar to Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ (20)

การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
Chapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มChapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่ม
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
 
ท(1)
ท(1)ท(1)
ท(1)
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
chapter5
chapter5chapter5
chapter5
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 2 งานกล ม
Chapter 2 งานกล  มChapter 2 งานกล  ม
Chapter 2 งานกล ม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้