SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
สถานการณ์ปัญหา
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในด้าน
นี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้
นักเรียนจาและสื่อการสอนที่นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการ
ถ่ายทอดความรู้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทั่งวิดีโอที่
นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพ
นั้น คือสามารถทาให้นักเรียนสามารถจาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด ส่วน
นักเรียนของครูสมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว ดาเนิน
กิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหา
ความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็ทาแค่นั้นพอ ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรี
และลักษณะของนักเรียนที่กล่าวมาทั้งหมด ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่านมา
ได้ไม่นานก็ทาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะ
นามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
ภารกิจที่ 1
วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้
สื่อการสอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่า
สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
วิธีการจัดการเรียนการสอนและการใช้สื่อการสอนของครู
สมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียนของครูสมศรี
“ ไม่สอดคล้อง ”
กับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้เรียนเป็น
สาคัญ
ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
เรียนรู้ตรงกับความ
ต้องการ ความสนใจ
และความถนัด
มีโอกาสใช้
กระบวนการคิด
เรียนรู้จากสภาพจริง
และประสบการณ์ตรง
ได้ใช้สื่อต่าง ๆ
เพื่อการเรียนรู้
ได้แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ร่วมกับ
ผู้อื่น มีโอกาสแสดงออก
อย่างอิสระ
เรียนรู้อย่างมีความสุข
กระบวนทัศน์
ครูสมศรี กระบวนทัศน์ใหม่
ครูเป็นผู้ถ่ายทอด
นักเรียน
ครู
สื่อเทคโนโลยี
ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
แหล่งการ
เรียนรู้
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุค
ปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้ง
อธิบายเหตุผลสนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
“เน้นทักษะการจดจา”
แนวคิดใหม่
“ให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และ
สามารถศึกษาด้วยตนเองได้”
พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติพุทธศักราช 2542
แนวคิดดั้งเดิม
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
Driscoll (1994) กล่าวว่า “ อาจจะไม่ใช่เวลาที่จะคิดว่าผู้เรียนเป็น
ภาชนะที่ว่างเปล่า ที่รอรับการเติมให้เต็ม แต่น่าจะคิดว่าผู้เรียนเป็น
สิ่งมีชีวิตที่มีความตื่นตัว กระฉับกระเฉง และค้นหาความหมาย ”
การเปลี่ยนแปลงมาสู่การเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Bruner (1983) กล่าวว่า “ผู้เรียนต้องยกระดับการ
เรียนที่เพิ่มจาก “การจดจา” ข้อเท็จจริงไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิด
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์”
การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ใหม่
จากครูถ่ายทอด
ผู้เรียน • สื่อ
• ครู
• แหล่งการเรียนรู้
• ภูมิปัญญาท้องถิ่น
• เทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงบทบาท
บทบาทเดิม บทบาทที่เปลี่ยนแปลง
ครู
• เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน
เนื้อหาและเป็นแหล่งสาหรับคาตอบ
• เป็นผู้ควบคุมการเรียนการสอนและส่งเนื้อหา
ความรู้ไปยังผู้เรียนโดยตรง
• เป็นผู้ส่งเสริม เอื้ออานวย ร่วมแก้ปัญหา โค้ช ชี้
นาความรู้ และผู้ร่วมเรียนรู้โดยตรง
• เป็นผู้จัดเตรียมหรือให้สิ่งที่ตอบสนองต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนอย่างหลากหลาย
ผู้เรียน
• เป็นผู้รอรับสารสนเทศจากครูอย่างเฉื่อยชา
• เป็นกิจกรรมการเรียนรู้รายบุคคล
• เป็นผู้คัดลอกหรือจดจาความรู้
• เป็นผู้ร่วมเรียนรู้อย่างตื่นตัวในกระบวนการเรียนรู้
• เป็นการร่วมมือกันเรียนรู้กับผู้เรียนอื่นๆ
• เป็นผู้สร้างและแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกับเพื่อน
ชั้นแบบผู้เชี่ยวชาญ
ภารกิจที่ 3
ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้
เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะ
นามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่
ควรปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียน
รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การใช้เทคนิคช่วยการ
จา เช่น Mnemonics เป็นต้น
ผู้เรียนควรได้รับ “ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-Order
Thinking Skills) ” ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการ
แก้ปัญหา และการถ่ายโยงความรู้ โดยเน้น การใช้วิธีการต่างๆ อาทิ
สถานการณ์จาลอง การค้นพบ การแก้ปัญหา และการเรียนแบบ
ร่วมมือ
รายชื่อผู้จัดทา
นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
น.ส.พชรธรษ์ จาปีพรหม 553050086-5
นายวิวัฒน์ งามเสน่ห์ 553050100-7

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้าLALILA226
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้a35974185
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__sinarack
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้lalidawan
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์Natcha Wannakot
 

What's hot (14)

นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
 

Viewers also liked

Viewers also liked (15)

Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Marketing trends participantes
Marketing trends participantesMarketing trends participantes
Marketing trends participantes
 
Teoria aprendiz caceres
Teoria aprendiz caceresTeoria aprendiz caceres
Teoria aprendiz caceres
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Cloud doroga tv
Cloud doroga tvCloud doroga tv
Cloud doroga tv
 
Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)Chap.8 (problem)
Chap.8 (problem)
 
Cloud.DorogaTV - services for intelligent public transportation
Cloud.DorogaTV - services for intelligent public transportationCloud.DorogaTV - services for intelligent public transportation
Cloud.DorogaTV - services for intelligent public transportation
 
Kelas xi ipa 3
Kelas xi ipa 3Kelas xi ipa 3
Kelas xi ipa 3
 
Pecahan editan vikky lagi
Pecahan editan vikky lagiPecahan editan vikky lagi
Pecahan editan vikky lagi
 
الوحدة السادسة Emidicine الطب عن بعد7-4-2012
الوحدة السادسة  Emidicine الطب عن بعد7-4-2012الوحدة السادسة  Emidicine الطب عن بعد7-4-2012
الوحدة السادسة Emidicine الطب عن بعد7-4-2012
 
Eight part sameera um11 12-2012
Eight part sameera um11 12-2012Eight part sameera um11 12-2012
Eight part sameera um11 12-2012
 
operasi hitung Bilangan Cacah
operasi hitung Bilangan Cacahoperasi hitung Bilangan Cacah
operasi hitung Bilangan Cacah
 
Power point tentang Opersi Hitung Bilangan
Power point tentang Opersi Hitung BilanganPower point tentang Opersi Hitung Bilangan
Power point tentang Opersi Hitung Bilangan
 

Similar to Problem based learning (16 มิ.ย. 56)

สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediaZhao Er
 
งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2Ann Pawinee
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxFame Suraw
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newchatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuchatruedi
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatSattakamon
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2Thamonwan Kottapan
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 

Similar to Problem based learning (16 มิ.ย. 56) (20)

สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational media
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2งานกลุ่มบทที่2
งานกลุ่มบทที่2
 
นวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docxนวัตกรรม Chapter2.docx
นวัตกรรม Chapter2.docx
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kku
 
บทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombatบทที่2sattagamon tongsombat
บทที่2sattagamon tongsombat
 
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2งานกลุ่มชิ้นที่2
งานกลุ่มชิ้นที่2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Problem based learning (16 มิ.ย. 56)