SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
สถานการณ์ปัญหา
(Problem-based learning
ครูพลกิตเป็นครูที่พึ่งมาบรรจุใหม่หลังจากที่รายการตัวต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประจาจังหวัดที่สังกัดแล้วก็ไปรายงานตัวต่อโรงเรียนซึ่งเป็นโรงเรียนประจาจังหวัด
ผู้อานวยการโรงเรียนมอบหมายให้ครูพลกิตสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และเป็นห้อง
เด็กเก่งด้วยยิ่งทาให้ครูพลกิตรู้สึกไม่มั่นใจในการสอนว่าตนเองจะสามารถทาได้ดีหรือไม่
และนักเรียนจะสนุกหรือสนใจในวิธีการสอนของตนเองหรือไม่ที่สาคัญคือนักเรียนห้องนี้มี
ลักษณะที่ชอบค้นคว้า หาความรู้ กิจกรรมที่เน้นให้ปฏิบัติได้ลงมือกระทา ฝึกคิดหรือที่ท้า
ทายการทางานนักเรียนจะชอบมาก อีกทั้งยังเรียนพิเศษแบบเข้มข้นเนื้อหาในหนังสือเรียน
ส่วนใหญ่นักเรียนจะรู้และทาความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาก่อนแล้ว แต่ที่สังเกตได้ชัดคือ
นักเรียนจะแข่งกันเรียนทางานกลุ่มไม่ค่อยประสบความสาเร็จเท่าที่ควร ซึ่งผู้อานวยการ
โรงเรียนฝากความหวังไว้ ทีครูพลกิ เพื่อช่วยพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนใน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องนี้ให้ได้ภารกิจ
ครูพลกิตจะมีหลักในการ
เตรียมความพร้อมเพื่อให้
สามารถจัดการเรียนรู้ให้มี
ประสิทธิภาพได้อย่างไร
ภารกิจที่ 1
การจัดการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพนั้น
ผู้สอนควร
ดาเนินการจัดเตรียม
ความพร้อมและสิ่งที่
จะสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์เรียนรู้
ของผู้เรียนให้บรรลุ
เป้ าหมายและเกิด
การเรียนรู้ที่ดี
สิ่งที่ครูพลกิต
ต้องจัดเตรียม
เตรียมสื่อการ
เรียนรู้
เตรียมสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
เตรียมผู้เรียน
การดาเนินการตาม
บทเรียน
ครูพลกิตต้องเตรียมความพร้อมของ
สื่อการเรียนรู้ ดังนี้
 คัดเลือกสื่อที่ตอบสนองวิธีการ
เรียนรู้ เพื่อใช้ ในการนาเสนอความรู้
 ออกแบบและพัฒนาสื่อการ
เรียนรู้เพื่อให้สอดคล้องกับการเสาะ
แสวงหาความรู้ และเป้ าหมายของ
รายวิชา
ครูพลกิตต้องเตรียมความพร้อมของ
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ดังนี้
เตรียมความพร้อมของห้องเรียน
ให้น่าเรียน เอื้อต่อการจัดกิจกรรม
กลุ่มหรือกิจกรรมการเรียนรู้อื่นๆ
เตรียมความพร้อมของห้องปฏิบัติ
หรืออุปกรณ์ต่างๆให้มีสภาพที่
พร้อมใช้งานได้จริงอยู่เสมอ
ครูพลกิตต้องเตรียมความพร้อมของ
ผู้เรียน ดังนี้
เริ่มด้วยการให้มโนมิติทางการเรียน
ล่วงหน้าก่อนเรียน
มีเป้ าหมายที่สาคัญ คือ การทาให้ ผู้เรียนใส่ใจ และสร้างความ
ต้องการที่จะเรียนรู้จากสื่อหรือวิธีการที่ครูจัดไว้ในบทเรียน
โดยการ จัดทาโครงเรื่องเนื้อหาให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้า
แนะนากิจกรรมการเรียน หรือการให้สารสนเทศที่สาคัญก่อน
การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะ ความรู้ และทัศนคติ ที่ดี
ต่อการเรียน
ครูพลกิตต้องดาเนินการตามบทเรียนเพื่อให้
การดาเนินการจัดการเรียนรู้
ในชั้นเรียนบรรลุเป้ าหมายที่ตั้งไว้
- การให้กิจกรรมการเรียนรู้ที่ชัดเจน
- การกาหนดขั้นตอนในการเรียนรู้
- การสร้างแรงจูงใจในการเรียน
- การตั้งคาถามในระหว่างเรียน
ภารกิจที่ 2
ให้วิเคราะห์ว่าจะเลือกใช้ สื่อหรือ
วิธีการจัดการเรียนรู้ แบบใดจึงจะ
สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้
ของผู้เรียนตามสถานการณ์ที่
กาหนดให้
ครูพลกิตควรเลือกใช้สื่อประเภท
วิธีการ
เพราะลักษณะการเรียนรู ้ประเภทนี้มีแนวคิด
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู ้ที่เปลี่ยนมามุ่งเน้นให ้
ผู ้เรียนเป็นผู ้มีบทบาทในการลงมือ
กระทาคิดและสร ้างความรู ้ขึ้นด ้วยตนเองซึ่ง
สอดคล ้องกับลักษณะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5 ที่ครูพลกิตสอน
ตัวอย่างการ
จัดการ
เรียนรู้
การเรียนรู้แบบ
ใช้ปัญหาเป็ น
ฐาน
การเรียน
แบบร่วมมือ
การเรียนรู้
แบบสืบเสาะ
การเรียนรู้แบบ
สร้างองค์ความรู้
การเรียนรู้
แบบ
โครงงาน
การเรียน
แบบร่วมมือ
นักเรียนเรียนด้วยกันเป็ นกลุ่มเล็ก
แบบคละความสามารถ
นักเรียนทางานร่วมกัน ช่วยเหลือ
กันในการผสมผสานความรู้ที่มีอยู่
เดิมกับความรู้ใหม่
นักเรียนทากิจกรรมในการสืบค้น
อภิปราย อธิบาย สอบสวนแนวความคิด
และแก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่ม
รูปแบบการ
เรียนแบบ
ร่วมมือที่เป็ น
ที่ยอมรับกัน
แพร่หลาย มี
ดังนี้
• เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่มีเป้าหมายเพื่อ
พัฒนาการสัมฤทธิ์ผลของการเรียนและทักษะ
ทางสังคมเป็นสาคัญ
STAD
• เป็นรูปแบบที่คล ้ายกับ STAD แต่เป็นการจูงใจ
ในการเรียนเพิ่มขึ้น โดยการใช ้การแข่งขันเกม
แทนการทดสอบย่อย
TGT
• เป็นรูปแบบการเรียนที่ผสมผสานแนวคิดระหว่าง
การร่วมมือในการเรียนรู้กับการสอนเป็นรายบุคคล
รูปแบบของ TAI เป็นการประยุกต์ใช ้กับการสอน
คณิตศาสตร์
TAI
• เป็นรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือแบบผสมผสาน
ที่มุ่งพัฒนาขึ้นเพื่อสอนการอ่านและการเขียนCIRC
• เป็นรูปแบบเหมาะสมกับวิชาที่เกี่ยวข ้องกับ
การบรรยาย เช่น สังคมศึกษาวรรณคดี
วิทยาศาสตร์ ในบางเรื่อง เน้นการพัฒนา
ความรู้ ความเข ้าใจ
Jigsaw
• เป็นรูปแบบที่สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มย่อยจะ
ได ้รับมอบหมาย ให ้ศึกษาเนื้อหา หรือทา
กิจกรรมที่ต่างกัน ทาเสร็จแล ้วนาผลงานมา
รวมกันเป็นกลุ่มร่วมกันแก ้ไขทบทวนแล ้ว
นามาเสนอต่อชั้นเรียน
Co – op
Co – op
• เป็นรูปแบบการเรียนที่ผสมผสานเป็นเทคนิค
การเรียนแบบร่วมมือที่เปิดโอกาสให ้สมาชิก
ทุกคนได ้เล่าประสบการณ์ ความรู้สิ่งที่ตน
กาลังศึกษาสิ่งที่ตนประทับใจให ้เพื่อนๆ ใน
กลุ่มฟัง
การเล่าเรื่องรอบวง
(Round robin)
• เป็นรูปแบบที่ให ้ผู้เรียนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่ม
ช่วยกันหาคาตอบสาหรับโจทย์ปัญหาต่างๆ
ที่ครูยกขึ้นมาและเปิดโอกาสให ้ผู้เรียนอธิบาย
เรื่องราวที่ตนศึกษาให ้เพื่อนกลุ่มอื่นฟัง
มุมสนทนา
(Corners)
• แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 หรือ 6 คน จับคู่กัน
ทางาน คนหนึ่งทาหน้าที่เสนอแนะวิธีแก ้ปัญหา
อีกคนทาหน้าที่แก ้โจทย์ เสร็จข ้อที่ 1 แล ้วให ้
สลับหน้าที่กัน เมื่อเสร็จครบ 2 ข ้อ ให ้นา
คาตอบมาตรวจสอบกับคาตอบของคู่อื่นในกลุ่ม
คู่ตรวจสอบ
(Pairs Check)
• ครูตั้งคาถามให ้นักเรียนตอบ นักเรียนแต่ละคน
จะต ้องคิดคาตอบของตนเอง นาคาตอบมา
อภิปรายกับเพื่อนที่นั่งติดกับตน นาคาตอบมา
เล่าให ้เพื่อนทั้งชั้นฟัง
คู่คิด
(Think-Pair
Share)
• ครูถามคาถาม เปิดโอกาสให ้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ จากนั้นครูจึงเรียกให ้
นักเรียนคนใดคนหนึ่งจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือ
ทุกๆกลุ่มตอบคาถาม เป็นวิธีการที่นิยมใช ้ใน
การทบทวนหรือตรวจสอบความเข ้าใจ
ร่วมกันคิด
(Numbered Heads
Together)
• การเรียนแบบร่วมมือสามารถใช ้ได ้เป็นอย่างดี
ในการเรียนคณิตศาสตร์เพื่อให ้นักเรียนคิดทาง
คณิตศาสตร์เข ้าใจการเชื่อมโยงระหว่างมโนมติ
และกระบวนการ และสามารถที่จะประยุกต์ใช ้
ความรู้อย่างคล่องแคล่ว
การเรียนแบบร่วมมือ
กับการสอน
คณิตศาสตร์
การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการ
พัฒนาการคิดของบลูม
(Bloom)
การเรียนรู้แบบ
โครงงาน
ความรู้ความจา
(Knowledge)
ความเข้าใจ
(Comprehension)
การนาไปใช้
(Application
การสังเคราะห์
(Synthesis)
การวิเคราะห์
(Analysis)
การประเมินค่า
(Evaluation
รูปแบบการเรียนรู้แบบ
โครงงานมีดังต่อไปนี้
ระยะที่ 1
การเริ่มโครงงาน
-ผู ้สอนต ้องสังเกต สร ้าง
ความสนใจให ้เกิดขึ้นในตัว
ผู ้เรียน
-ตกลงร่วมกันในการเลือก
เรื่องที่สนใจต ้องการศึกษา
อย่างละเอียด
ระยะที่ 2
ขั้นพัฒนาโครงงาน
ผู้เรียนกาหนดปัญหา
ที่จะศึกษา
ผู้เรียนสรุปข้อความรู้
จากผลการตรวจสอบ
สมมติฐาน
ผู้เรียนตั้งสมมติฐาน
เบื้องต้น
ระยะที่ 3 ขั้นสรุป
- ผู้เรียนเขียนรายงานเป็ นรูปแบบ
งานวิจัยเล็ก ๆ
- ผู้เรียนนาเสนอผลงาน โดยอาจแสดงเป็ น
แผงโครงงานให้ผู้ที่สนใจรับรู้
เป็ นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียนค้นพบ
คาตอบของปัญหาแล้ว
สิ่งที่แสดงว่าครูพลกิต ประสบความสาเร็จในการ
สอน คือ
การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ น
ฐาน
สิ่งที่ครูพลกิต ต้อง
คานึงถึงคือ
-พื้นฐานความรู้ความสามารถ
ของผู้เรียน
-ประสบการณ์ของผู้เรียน
-ความสนใจ ของผู้เรียน
-ภูมิหลังของผู้เรียน
ครูพลกิตควรมีขั้นตอนพิจารณาประเด็นต่างๆ เพื่อ
ประกอบแนวทางการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีประเด็นสาคัญที่
ควรดาเนินการ ดังนี้
1.พิจารณาหลักสูตรของสถานศึกษา
2.กาหนดแหล่งข้อมูล
3.กาหนดและเขียนขอบข่ายปัญหา
4.กาหนดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้
5.สร้างคาถาม ให้ผู้เรียนสามารถดาเนินกิจกรรมได้
จัดเป็ นการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนสตัคติวิสต์สนับสนุนการสร้างมากกว่า
ความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังนั้น คอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism) จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อย่างเหมาะสมของแต่
ละบุคคล
แนวทางในการจัดการเรียนรู้แบบ
สร้างองค์ความรู้มีรายละเอียดดังนี้
การเชื่อมโยง
ความรู้เดิมกับ
ความรู้ใหม่
การกระตุ้นให้
เกิดความสงสัย
และท้าทายการ
เรียนรู้
การส่งเสริม
การเรียนรู้
ผ่านการสร้าง
ประสบการณ์
ที่หลากหลาย
การ
ส่งเสริม
การมี
ปฏิสัมพันธ์
เชิงสังคม
การสร้างความ
เข้าใจของ
ตนเองและกลุ่ม
โดยสะท้อน
ความคิด
การเรียนรู้
แบบสร้างความรู้
การเรียนรู้แบบสืบเสาะ
มุ่งเน้นกิจกรรมที่หลากหลายเกี่ยวกับการสังเกต
การถามคาถาม
การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพื่อเป็ นการยืนยัน
ความรู้ที่ได้ค้นพบ
กระตุ้นผู้เรียนให้ตื่นเต้นสงสัยใคร่รู้ให้ ผู้เรียนตั้งใจ
รวบรวมข้อมูลและหลักฐาน
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างองค์
ความรู้ใหม่โดยเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้เข้ากับประสบการณ์
หรือความรู้เดิม เรียกรูปแบบการสอนนี้ว่า Inquiry cycle
หรือ 5Es มีขั้นตอนดังนี้
1.การสร้างความสนใจ (Engage)
2.การสารวจและค้นหา (Explore)
3.การอธิบาย (Explain)
4.การขยายความรู้ (Elaborate)
5.การประเมินผล (Evaluate)
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__sinarack
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังAchariyaChuerpet
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านNi Aslan
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdfFerNews
 

What's hot (15)

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
Chapter9 pdf
Chapter9 pdfChapter9 pdf
Chapter9 pdf
 

Similar to Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้

การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาJaengJy Doublej
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้pohn
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__N'Fern White-Choc
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้sarayut_mark
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 

Similar to Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้ (19)

การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__บทท  9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
บทท 9 การเล_กใช_ส__อแล_ว_ธ_การจ_ดการเร_ยนร__
 
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่9 การเลืกใช้สื่อแลัวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter9
Chapter9Chapter9
Chapter9
 
Chapter9
Chapter9 Chapter9
Chapter9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทท 9 (1) 2
บทท  9 (1) 2บทท  9 (1) 2
บทท 9 (1) 2
 
บทท 9 (1) 2
บทท  9 (1) 2บทท  9 (1) 2
บทท 9 (1) 2
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
งาน บท4 สื่อการเรียนรู้
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 

More from Aa-bb Sangwut

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษาCHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษาAa-bb Sangwut
 

More from Aa-bb Sangwut (6)

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษาCHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษาCHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้