SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคอ้วน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายพิชยุฒม์ เชื้อสะอาด ม.6/10 เลขที่ 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Obesity.”
ประเภทโครงงาน โครงงานตามสาระการเรียนรู้ (โครงงานเชิงวิชาการ)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพิชยุฒม์ เชื้อสะอาด
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
นอกเหนือจากโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ ที่ไม่เพียงเป็นปัญหาสาธารณสุข
หากแต่ยังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ อีก และจากปัจจัยเสี่ยงที่ก่อเกิดโรคเหล่านี้ส่วนหนึ่งเกิดจาก
ภาวะอ้วนลงพุง สัญญาณอันตรายที่มีความหมายต่อการดูแลรักษาสุขภาพ
โรคเหล่านี้เป็นโรคเรื้อรังมีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งต้นตอส่วนหนึ่งสัมพันธ์กับการที่มีไขมันในช่องท้อง
และหากมีไขมันในช่องท้องมากล้วนแต่เป็นสัญญาณบอกให้รู้ว่ากาลังเสี่ยงกับโรคเหล่านี้สูง นพ.ฆนัท ครุธ
กูล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคหัวใจและโภชนวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
กรรมการเครือข่ายคนไทยไร้พุง เริ่มบอกเล่าพร้อมให้ความรู้ถึงโรคอ้วนเพิ่มต่ออีกว่า อ้วนลงพุงเกิดจาก
ไขมันสะสมในช่องท้องปริมาณมากและยิ่งมีรอบพุงก็ยิ่งแสดงว่าไขมันสะสมมากขึ้น หากสามารถป้องกัน
โรคนี้ได้ก็หมายความว่าหลีกไกลจากโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ การดูแลรักษาสุขภาพหลีกไกลจากโรคอ้วนจึง
เป็นสิ่งสาคัญ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. สามารถเรียนรู้และเข้าใจโรคอ้วน
2. สามารถป้องกันตัวเองจากโรคอ้วน
3. รู้และเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. บุคคลทุกเพศทุกวัย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคอ้วนเป็นภาวะซึ่งทาให้เพิ่มความเสี่ยงรุนแรงต่อสุขภาพและอาจทาให้คุณภาพชีวิตแย่ลง
คาจากัดความสาหรับโรคอ้วนนั้นง่ายมาก มันก็คือสภาวะที่คุณกาลังมีไขมันในร่างกายมากเกินไป
แต่ในชีวิตจริงนั้นการรักษาและจัดการกับโรคอ้วนนั้นไม่ได้ง่ายอย่างนั้น โรคอ้วนเป็นความผิดปกติที่
ซับซ้อนซึ่งไม่ได้มีผลเฉพาะรูปร่างความสวยงามเท่านั้น แต่การเป็นโรคอ้วนยังทาให้คุณมีความเสี่ยงต่อ
หลายโรคและปัญหาทางสุขภาพได้ การมีไขมันในร่างกายที่มากเกินไปมีความเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2
ความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ
โรคเส้นเลือดสมอง
โรคมะเร็งบางชนิด
องค์การอนามัยโลกได้กล่าวว่าความชุกของโรคอ้วนทั่วโลกเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าระหว่างปี 1980-
2014 นอกจากนั้นยังทาให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐศาสตร์ตามมา เช่นค่าใช้จ่ายในการ
รักษาพยาบาลที่สูงมากขึ้น การสูญเสียความสามารถในการทางาน และค่าแรงที่ลดลง โรคอ้วนกับค่า
ดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกายเป็นตัวเลขที่ใช้ประเมินโรคอ้วน โดยค่านี้คิดว่าส่วนสูงและน้าหนักของ
ผู้ป่วย สามารถแบ่งค่าดัชนีมวลกายออกเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี้
น้าหนักปกติ : 18.5 – 24.9
น้าหนักเกินเกณ์์ : 25 – 29.9
อ้วน : มากกว่า 30
ซึ่งโรคอ้วนสามารถแบ่งได้เป็น
กลุ่มที่ 1 : BMI = 30-34.9
กลุ่มที่ 2 : BMI = 35 – 39.9
กลุ่มที่ 3 : BMI = >40
โรคอ้วนรุนแรง
บางองค์กรมีการเรียกผู้ที่มี BMI มากกว่า 40 ว่าเป็นกลุ่มโรคอ้วนรุนแรง ซึ่งโรคอ้วนรุนแรงนั้นอาจ
ยังหมายถึงการมีน้าหนักตัวมากกว่าเกณ์์ปกติ 100 ปอนด์ หรือการมี BMI >35 ร่วมกับมี
ภาวะแทรกซ้อนอื่นจากโรคอ้วนเช่นความดันโลหิตสูงหรือโรคเบาหวานชนิดที่ 2 การเป็นโรคอ้วนรุนแรง
ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางสุขภาพมากกว่าภาวะน้าหนักเกินหรือโรคอ้วนธรรมดา
การคานวณค่าดัชนีมวลกาย
มีเครื่องมือออนไลน์หลายชิ้นที่สามารถช่วยคานวนค่าดัชนีมวลกายของคุณได้ ผู้ใหญ่สามารถใช้
เครื่องคานวณค่าชะนีมวลกายที่เว็บไซต์นี้ได้ ในขณะที่เด็กจะต้องใช้เครื่องคานวณที่แตกต่างจากผู้ใหญ่
โดยเด็กอายุระหว่าง 2-19 ปีสามารถใช้ของ Centers for Disease Control and Prevention (CDC)
โรคอ้วนกับการตั้งครรภ์
4
การเป็นโรคอ้วนอาจส่งผลที่ไม่ดีต่อความสามารถในการมีบุตรของทั้งชายและหญิง ในผู้หญิง การ
เป็นโรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับภาวะไข่ไม่ตก ในผู้ชาย มีความเกี่ยวข้องกับการมีน้าอสุจิที่คุณภาพต่า
อารมณ์ทางเพศลดลง และองคชาติไม่แข็งตัว ในผู้หญิงอ้วนที่ตั้งครรภ์นั้น การเป็นโรคอ้วนก็จะทาให้เพิ่ม
ความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ เช่น
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
แท้ง
ครรภ์เป็นพิษ
คลอดผิดปกติ มักจะต้องไปผ่าตัดคลอด
ทารกที่เกิดจากผู้หญิงที่เป็นโรคอ้วนจะมีความเสี่ยงของโรคต่อไปนี้เพิ่มขึ้น
คลอดก่อนกาหนด
ตายคลอด
มีความผิดปกติแต่กาเนิด
ตัวใหญ่
โรคอ้วนในเด็ก
การลดน้าหนักก่อนตั้งครรภ์และควบคุมน้าหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ให้ไม่มากเกินไปสามารถช่วยลด
ความเสี่ยงเหล่านี้ได้
โรคอ้วนในเด็ก
องค์การอนามัยโลกได้พูดถึงโรคอ้วนในเด็กว่าเป็นหนึ่งในปัญหาและความท้าทายที่รุนแรงของ
สาธารณสุขในศตวรรตที่ 21 โรคอ้วนไม่ได้เพียงแต่จะลดคุณภาพชีวิตของเด็กเท่านั้นแจต่การมีน้าหนักตัว
มากและอ้วนจะทาให้เด็กเหล่านี้โตเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วนเช่นกัน และเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเช่น
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใจตั้งแต่อายุยังน้อย แม้ว่าการคาดการณ์อัตราการเป็นโรคอ้วนในเด็ก
ทั่วโลกนั้นจะทาได้ยาก แต่มีการประเมินว่าน่าจะมีเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีประมาณ 43 ล้านคนที่มีน้าหนัก
เกินหรือเป็นโรคอ้วนในปี 2010 ซึ่งจากจานวนดังกล่าวนั้นมีประมาณ 35 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในประเทศ
กาลังพัฒนา ในสหรัฐอเมริกา มีการเก็บข้อมูลของ National Health and Nutrition Examination
Survey (NHANES) ที่แสดงว่าอัตราการเกิดโรคอ้วนในเด็กนั้นเพิ่มขึ้นมากกว่า 3 เท่าในช่วง 30 ปีที่ผ่าน
มา
ในช่วงปี 1970 มีเด็กอายุ 2-19 ปีเพียง 5% เท่านั้นที่อ้วน
ในปี 2008 มีเด็กอายุ 2-19 ปีเกือบ 17% ที่อ้วน
ความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางสุขภาพระยะสั้นที่สัมพันธ์กับโรคอ้วนในเด็กประกอบด้วย
ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
มีแนวโน้มที่จะเป็นเบาหวาน
เกิดปัญหากับกระดูกและข้อ
มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
เป็นปัญหาทางสังคม
มีความมั่นใจในตัวเองต่า
5
ความเสี่ยงระยะยาวนั้นเป็นเหมือนกับการเป็นโรคอ้วนในผู้ใหญ่
สาเหตุของโรคอ้วนและปัจจัยเสี่ยง
โรคอ้วนเป็นภาวะที่ซับซ้อนซึ่งได้รับอิทธิพลจากอุปนิสัยการทางาน รูปแบบการเคลื่อนที่และเทคโนโลยี
ต่างๆ
ลักษณะที่เกิดง่ายสุดคือความอ้วนเกิดจากการบริโภคอาหารที่มีแคลอรี่มากกว่าที่ร่างกายเผาผลาญ
อย่างไรก็ตามโรคอ้วนเป็นภาวะซับซ้อนที่เกิดจากการกินมากเกินไปและมีการเคลื่อนไหวน้อยไป
สภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ และบรรทัดฐานทางสังคมของชุมชนโดยรอบ รวมถึงวิถีชีวิต จะมีอิทธิพลอย่าง
มากต่ออาหารที่กิน เวลาที่กิน และปริมาณที่กิน ในทานองเดียวกันสภาพแวดล้อมจะมีผลต่อการ
เคลื่อนที่ของร่างกายไม่ว่าจะเป็นที่ไหนและอย่างไร
อาหารและวิถีการดารงชีวิต
พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนอเมริกันและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปมีส่วนเพิ่มจานวนของคนที่เป็น
โรคอ้วนในปัจจุบันให้สูงขึ้น
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้รวมถึง:
ผู้ใหญ่วัยทางาน เมื่อรวมชั่วโมงการทางานที่ยาวนานเข้ากับการเดินทางทาให้มีเวลากินอาหารที่บ้าน
น้อยลง
ชาวอเมริกันส่วนใหญ่กินอาหารในภัตตาคารมากขึ้นซึ่งมักเป็นอาหารแคลอรี่สูงในปริมาณที่มากq
ยอดขายของกลุ่มอาหารบรรจุเสร็จเช่นขนมขบเคี้ยวและน้าอัดลม เพิ่มขึ้นทุกปี
เด็ก ๆ ใช้เวลาดูโทรทัศน์ ใช้คอมพิวเตอร์หรือเล่นเกมอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น และใช้เวลาในการละเล่น
และการพักผ่อนหย่อนใจน้อยลง
ผู้ใหญ่ทั่วไปมีการนั่งหรือไม่เคลื่อนไหวมากขึ้นและมีการออกกาลังกายน้อยลงในช่วงเวลางาน
สิ่งแวดล้อม
โครงสร้างของชุมชน ที่ทางานและโรงเรียนในสหรัฐอเมริกาส่วนมาก จะมีส่วนทาให้อัตราการเป็นโรค
อ้วนเพิ่มขึ้น
มีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างที่ชัดเจนในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ได้แก่ :
อาหาร (โดยเฉพาะอาหารขยะ(junk food))ซึ่งมีขายตามสถานที่ต่างๆเพิ่มขึ้น เช่นสถานีบริการน้ามัน
และร้านขายอุปกรณ์สานักงาน ซึ่งในอดีตไม่ได้ขายอาหาร ผลคือมีอาหารขายเกือบทุกที่ตลอดเวลา
ผลิตภัณ์์อาหารและร้านอาหารมีการทาการตลาดอย่างเข้มข้นทั้งทางโทรทัศน์วิทยุ สื่อออนไลน์และสื่อ
อื่นๆ
ชุมชนหลายแห่งไม่มีถนนที่ปลอดภัยสาหรับการเดินเล่น ขี่จักรยานหรือการเล่นกลางแจ้ง
งานส่วนใหญ่มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายน้อยมาก
หลายโรงเรียนจัดเวลาพักหรือชั้นเรียนสาหรับออกกาลังกายน้อยลงหรือไม่มีเลย
ชุมชนของผู้มีรายได้น้อยมักจัดเป็น " Food Desert "
** "Food Desert" คือพื้นที่ซึ่งยากที่จะหาอาหารที่มีโภชนาการ และราคาย่อมเยาได้ มักเกิดในเขต
ชนบท**
6
มีรายการโทรทัศน์จานวนมากที่เน้นเรื่องการทาอาหาร และโฆษณาร้านอาหารโดยไม่คานึงถึงผลกระทบ
ด้านสุขภาพของอาหารที่นาเสนอ
ความเครียด
ความเครียดก่อให้เกิดโรคอ้วนในสองสามวิธี:
คนที่เครียดมักจะเลือกรับประทานอาหารง่ายๆ และปริมาณมากๆ
ความเครียดทาให้เกิดการปล่อยฮอร์โมนความเครียดรวมถึง cortisol ซึ่งกระตุ้นการปล่อยไตรกลีเซอไรด์
(กรดไขมัน) จากเนื้อเยื่อที่จัดเก็บและย้ายไปอยู่ในเซลล์ไขมันที่ลึกลงไปในช่องท้อง นอกจากนี้ Cortisol
ยังทาให้เพิ่มความอยากอาหาร
พันธุกรรม(Genes)
คนบางคนมีความผิดปกติทางพันธุกรรมจึงมีแนวโน้มที่จะมีน้าหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน คนเหล่านี้จะไม่
กลายเป็นคนอ้วนจนกว่าพวกเขาจะกินอาหารที่มีปริมาณแคลอรี่มากกว่าที่ร่างกายเผาผลาญ ซึ่งเป็น
ภาวะที่ไม่สมดุลของพลังงาน แนวโน้มทางพันธุกรรมต่อโรคอ้วนมักจะปรากฏต่อเมื่อวิถีชีวิตหรือ
สิ่งแวดล้อมของคนกลุ่มนี้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก
กลุ่มอาการทางพันธุกรรมที่มีผลต่อโรคอ้วนเช่น
Prader-Willi
Alstrom
Bardet-Biedl
Cohen
Börjeson-Forssman-Lehman
Frohlich และอื่น ๆ สามารถนาไปสู่โรคอ้วน
โรคดังกล่าวข้างต้นมีโอกาสเกิดยาก แต่มักมีความผิดปกติอื่น ๆ นอกเหนือจากโรคอ้วนร่วมด้วย
ภาวะเจ็บป่วยทางการแพทย์
ภาวะเจ็บป่วยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการมีน้าหนักเกินและโรคอ้วน ได้แก่ :
Cushing's syndrome (กลุ่มอาการที่เกิดน้อยเป็นผลมาจากการผลิต cortisol มากไปโดยต่อมหมวกไต)
ความผิดปกติของการกินอาหาร เช่น bulimia nervosa(ภาวะที่ร่างกายมีความรู้สึกผิดปกติ คือ เห็น
อาหารแล้วเกิดความอยากบริโภค และบริโภคได้ในปริมาณมากกว่าปกติ) และความผิดปกติของการกิน
อาหารในตอนกลางคืน
การขาด Growth hormone(ข่วยเรื่องการเจริญเติบโต)
Hypogonadism (ฮอร์โมนเพศชายต่า)
Hypothyroidism (ฮอร์โมนthyroidต่า)
Insulinoma (เนื้องอกบริเวณตับอ่อนที่มีผลต่อการหลั่งอินซูลิน)
Polycystic ovarian syndrome(มีถุงในรังไข่)
บางครั้งก็ไม่ชัดเจนว่าโรคอ้วนทาให้เกิดภาวะเจ็บป่วยทางการแพทย์หรือภาวะเจ็บป่วยจะเป็นสาเหตุของ
โรคอ้วน
ยาที่ก่อให้เกิดโรคอ้วน
ยาบางอย่างมีผลทาให้น้าหนักเพิ่มขึ้น โดยมากมักจะเพิ่มความอยากอาหารและก่อให้เกิดโรคอ้วน
7
ยาเหล่านี้รวมถึง:
ยารักษาโรคเบาหวาน (Diabetes drugs, including insulin)
thiazolidinediones (Actos และ Avandia)
sulphonylureas (glimepiride, glipizide และ glyburide)
ยาสาหรับความดันโลหิตสูง ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ(thiazide diuretics, loop diuretics), calcium
channel blockers, beta blockers, alpha-adrenergic blockers
ยาแก้แพ้ โดยเฉพาะ cyproheptadine
Steroids, including corticosteroids
ยาคุมกาเนิด
ยารักษาโรคจิตและอาการซึมเศร้า ได้แก่ lithium, antipsychotics และ antidepressants
ยากันชัก(ใช้รักษา epilepsy และอาการบางอย่าง) เช่น sodium valproate และ carbamazepine
อาจมียาทดแทนอื่นๆที่ไม่ทาให้น้าหนักเพิ่มหรืออาจลดปริมาณยาที่กินลง โดยคาแนะนาของแพทย์ ไม่
ควรหยุดหรือลดยาด้วยตัวคุณเอง
การรักษาโรคอ้วน
สิ่งสาคัญของการลดน้าหนักที่ประสบความสาเร็จคือการมีเป้าหมายที่ชัดเจนและทาได้
การรักษาโรคอ้วน หลักๆคือการลดน้าหนัก ซึ่งมีได้หลายวิธีได้แก่ :
การเปลี่ยนแปลงชนิดอาหารที่กินและวิถีการดารงชีวิต
ทานยาลดน้าหนัก(ภายใต้การดูแลของแพทย์)
การผ่าตัดลดน้าหนัก
สาหรับผู้ใหญ่ โดยเฉพาะ ผู้ที่ใช้วิธีลดอาหารและปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิต ควรจัดเป้าหมายที่เป็นไป
ได้เช่น:
ตั้งเป้าที่จะลด 5-10% ของน้าหนักตัวภายในหกเดือน
ลดน้าหนักช้าๆในอัตราไม่เกิน 1-2 ปอนด์ต่อสัปดาห์
เมื่อคุณสามารถลดน้าหนักลงได้ 10%แล้วให้พยายามรักษาระดับน้าหนักนี้สักระยะก่อนที่จะลดน้าหนัก
เพิ่มขึ้น
โรคอ้วนและการปรับเปลี่ยนวิถีการดารงชีวิต
การกินมากเกินไปเป็นสาเหตุสาคัญของโรคอ้วนและสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ :
ความเมื่อยล้าและอ่อนเพลีย
ความเบื่อหน่าย
ความเครียดหรือความวิตกกังวล
ภาวะมีความสุขหรือต้องการเฉลิมฉลอง
การกินหรือเคี้ยวที่เร็วเกินไป
การกินอย่างไม่ตั้งใจหรือไม่ให้ความสาคัญกับสิ่งที่กิน
การกินเพื่อเอาใจคนอื่นหรือเพื่อกลุ่มทางสังคม
ความพยายามที่จะควบคุมการกินอาหารที่เข้มงวดเกินไป
8
การใช้เวลากินนานเกินไประหว่างมื้ออาหารหรือปล่อยให้หิวมากเกินไป
การปรับเปลี่ยนวิถีการดารงชีวิตสามารถช่วยแก้ปัญหาข้างต้นและช่วยเรื่องลดน้าหนักมากขึ้น เช่น
นอนหลับให้เพียงพอ
ระมัดระวังนิสัยและอารมณ์ที่ทาให้กินมากไป
คานึงถึงความหิวหรือความอิ่มของคุณทั้งก่อน ,ระหว่างและหลังกินอาหาร
กินอาหารสุขภาพที่ให้ปริมาณแคลอรีที่เพียงพอและมีความหลากหลาย
เลือกอาหารที่มีน้าและเส้นใยสูงเช่นผลไม้ ผักธัญพืชและพืชตระกูลถั่ว
เข้าร่วมการออกกาลังกายเป็นประจา
เข้าร่วมโครงการสนับสนุนการลดน้าหนักทั้งแบบส่วนตัวและออนไลน์
ยารักษาโรคอ้วน
มียาเพียงไม่กี่ชนิดที่จ่ายตามใบสั่งแพทย์และได้รับการอนุมัติจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
(FDA)เพื่อการรักษาโรคอ้วนในระยะยาว
ยาเหล่านี้รวมถึง:
Belviq (lorcaserin)
Contrave (naltrexone / bupropion)
Qsymia (phentermine / topiramate)
Xenical (orlistat)>> มีผลิตภัณ์์ที่มีปริมาณสารสาคัญน้อยลงและวางขายในร้านขายยาที่เรียกว่า Alli
Xenical ได้รับการรับรองให้ใช้ได้ในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ยาอีกสามตัวข้างต้นอนุญาตให้ใช้ในผู้ใหญ่เท่านั้น
ยาแต่ละชนิดจะทางานแตกต่างกันและมีผลข้างเคียงที่แตกต่างกัน การเลือกที่จะลองตัวไหนเป็นการ
ตัดสินใจของแพทย์เท่านั้น น้าหนักเฉลี่ยที่ลดลงจากการใช้ยาข้างต้นอยู่ในช่วง 3-9%ของน้าหนักตัว มี
การศึกษาพบว่าการใช้ Qsymia จะทาให้น้าหนักลดลงมากกว่าตัวอื่น ๆ โดยทั่วไป การใช้ยาลดน้าหนัก
ต้องใช้พร้อมกับอาหารที่มีแคลอรี่ต่าและมีการออกกาลังกายที่เพิ่มขึ้น และผลของยาจะหยุดลงเมื่อหยุด
ยา ยาลดน้าหนักบางตัวได้รับการอนุมัติให้ใช้ในระยะสั้น และประโยชน์ของยาจะมีจากัด เนื่องจากคน
ส่วนใหญ่จะกลับมามีน้าหนักที่เพิ่มขึ้นเมื่อหยุดยา
การผ่าตัดรักษาโรคอ้วน(Obesity Surgery)
การผ่าตัดเพื่อลดน้าหนักเรียกว่า bariatric surgery มักให้ผลการลดน้าหนักมากกว่าการกินยาอย่างมี
นัยสาคัญ แต่ผลลัพธ์นี้จะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
การผ่าตัดจะมีหลายรูปแบบ เช่น:
Roux-en-Y gastric bypass: เป็นการผ่าตัดบายพาสกระเพาะอาหารที่พบมากที่สุด ขนาดของกระเพาะ
อาหารจะถูกทาให้ลดลงขนาดเท่าลูกวอลนัทและ และเชื่อมต่อส่วนตรงกลางของลาไส้ให้ติดกับกระเพาะ
อาหาร เป็นการจากัดปริมาณอาหารที่คุณกินและลดปริมาณสารอาหารที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย
Laparoscopic adjustable gastric banding : ขั้นตอนนี้เป็นการนาห่วงรัดที่ปรับได้ไปรัดกระเพาะ
อาหารส่วนบนเพื่อลดปริมาณการทานอาหารต่อครั้งลง จะแบ่งกระเพาะอาหารออกเป็นช่องบนขนาด
เล็กและช่องล่างที่มีขนาดใหญ่กว่า กระเปาะกระเพาะอาหารนี้จะจากัดปริมาณอาหารที่คุณสามารถกิน
ได้ในแต่ละครั้ง ห่วงรัดนี้สามารถปรับเพื่อลดขนาดของกระเพาะอาหารส่วนบนในคราวต่อไปได้
9
Sleeve gastrectomy : เป็นการผ่าตัดชนิดใหม่ซึ่งประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของกระเพาะอาหารจะถูก
เอาออก จะทาให้มีกระเพาะอาหารเป็นหลอด ซึ่งสามารถจากัดปริมาณอาหารที่คุณกินได้มากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคอ้วน
โรคอ้วน มีภาวะแทรกซ้อนค่อนข้างเยอะอาจทาให้คุณมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงหรือมีช่วงชีวิตที่สั้นลง
ภาวะแทรกซ้อนหลายอย่างสามารถขจัดออกได้ด้วยการลดน้าหนัก ยกเว้นภาวะแทรกซ้อนที่เป็น มะเร็ง
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea) อาการคือ จังหวะของการหายใจระหว่างนอนหลับถูก
รบกวนหลายๆครั้ง เนื่องจากเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านหลังลาคออุดกั้นทางเดินหายใจ เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับ
โรคอ้วน การนอนกรนเป็นอาการหลักของภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea)และหากเกิดภาวะ
หยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea)มากกว่า 5 ครั้งต่อชั่วโมงอาจทาให้เกิด:
การง่วงตอนกลางวัน
มีสมาธิไม่พอ
ปัญหาด้านการเรียนรู้และความจา
การง่วงขณะทางานหรือขับรถ
ภาวะซึมเศร้า
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea) จะเป็นปัญหาที่มากขึ้นตอนโตขึ้นของเด็กอ้วน การรักษา
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับโดยปกติจะมีการใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจเพื่อให้ทางเดินลมหายใจเปิดออกโดย
ให้แรงดันลมหายใจบวกอย่างต่อเนื่อง (Continuous Positive Airway Pressure (CPAP)) หรือ BiPAP
**CPAP มีหลักการในการรักษาคือ การเป่าความดันลมผ่านทางจมูกหรือปาก ผ่านบริเวณลาคอ และ
โคนลิ้น ซึ่งเป็นส่วนทางเดินหายใจส่วนต้น เพื่อให้เปิดขยายตัวตลอดเวลาโดยไม่ให้มีการอุดกั้นขณะที่
นอนหลับ ซึ่งจะทาให้ผู้ที่ใช้เครื่องสามารถหายใจรับอากาศอย่างพอเพียงและนอนหลับราบรื่นตลอดทั้ง
คืน**
**bilevel positive airway pressure(BiPAP)) วิธีนี้เครื่องจะอัดก๊าซหรือลมด้วยความดันสูงในช่วงที่
ผู้ป่วยหายใจเข้า และผ่อนความดันลงในช่วงหายใจออก ทาให้มีการขยายตัวของปอดเหมือนกับการใช้
เครื่องช่วยหายใจแบบดั้งเดิม**
Obesity Hypoventilation Syndrome (OHS) เป็นภาวะที่ไม่สามารถหายใจลึกๆได้เพียงพอและ
รวดเร็วส่งผลให้ระดับออกซิเจนในร่างกายต่าและระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercarbia)
Obesity Hypoventilation Syndrome
(OHS) รู้จักกันอีกชื่อคือ Pickwickian syndrome ซึ่งเป็นบทบาทในตัวละครของ Charles Dickens'
The Posthumous Papers เกี่ยวกับ The Pickwick Club สาเหตุที่แท้จริงของ Obesity
Hypoventilation Syndrome (OHS) ยังไม่ชัดเจน แต่แพทย์เชื่อว่าเป็นผลจากภาวะควบคุมสมองด้าน
การหายใจบกพร่อง และน้าหนักส่วนเกินที่มีผลต่อการทางานของผนังทรวงอก
อาการของ ของ Obesity Hypoventilation Syndrome
(OHS) :
คุณภาพการนอนแย่ลง
10
ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
อาการง่วงนอนในตอนกลางวัน
ภาวะซึมเศร้า
ปวดหัว
หายใจขัด
เหนื่อยง่าย
การรักษาObesity Hypoventilation Syndrome
(OHS) อาจใช้ CPAP และ BiPAP เครื่องช่วยหายใจที่ใช้รักษาภาวะหยุดหายใจขณะหลับพร้อมกับการ
บาบัดด้วยออกซิเจน
โรคอ้วนและโรคเบาหวาน
โรคอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับหนึ่งสาหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 นอกจากนี้โรคอ้วนยังเพิ่มความเสี่ยง
ของภาวะก่อนเบาหวาน (prediabetes) และภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ( gestational diabetes ) มี
ความเชื่อว่าโรคอ้วนจะไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานประเภท 1 ซึ่งเกิดจากโรคภูมิต้านตนเอง
ความสัมพันธ์ระหว่างโรคอ้วนกับเบาหวานคือจะเพิ่มความต้านทานการใช้อินซูลินของร่างกาย ไม่
สามารถใช้อินซูลินได้อย่างมีประสิทธิภาพในการรับกลูโคสเข้าสู่เซลล์สาหรับเก็บพลังงาน ความต้านทาน
การใช้อินซูลินของร่างกายพบได้บ่อยในคนที่เป็นโรคอ้วนและมีผลลัพธ์คือมีระดับน้าตาลในเลือดสูงซึ่ง
เป็นลักษณะของโรคเบาหวาน
โรคอ้วนและโรคมะเร็ง
ตามอ้างอิงของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ (The National Cancer Institute )โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับ
อัตราการเกิดของมะเร็งของอวัยวะต่อไปนี้ในอัตราเสี่ยงที่สูง:
เต้านม (ในสตรีวัยหมดประจาเดือน)
ลาไส้ใหญ่และทวารหนัก
Endometrium (เยื่อบุมดลูก)
หลอดอาหาร
ถุงน้าดี
ไต
ตับอ่อน
ต่อมไทรอยด์
สาเหตุที่เกิดก็ยังไม่แน่ชัด แต่มีสมมุติฐานหลายประการดังนี้ :
เซลล์ไขมันผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนในปริมาณสูงอันเป็นสาเหคุของมะเร็งบางชนิด
คนอ้วนมักจะมีระดับฮอร์โมนอินซูลินสูง ซึ่งจะมีหน้าที่บางส่วนคล้าย growth factor อันเป็นสาเหคุของ
มะเร็งบางชนิด
เซลล์ไขมันผลิตฮอร์โมนadipokines ซึ่งอาจกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์
เซลล์ไขมันอาจมีผลโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อตัวควบคุมการเจริญเติบโตของเนื้องอกชนิดต่าง ๆ
คนอ้วนมักจะมีการอักเสบเรื้อรังในเนื้อเยื่อต่างๆ(ในระดับต่า)ซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะมะเร็ง
11
ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ของโรคอ้วน
ภาวะแทรกซ้อนที่เป็นไปได้อื่น ๆ ของโรคอ้วน มีดังนี้:
โรคหัวใจและหลอดเลือดเช่นความดันโลหิตสูง ภาวะหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ภาวะหลอดเลือดในสมอง
ตีบ(Stroke)
ภาวะปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง
ความยุ่งยากในการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล
ภาวะไขมันพอกตับ ซึ่งสามารถทาให้เกิดการอักเสบและแผลเป็นของเนื้อเยื่อตับ
โรคเกี่ยวกับถุงน้าดี
gastroesophageal reflux disease (GERD) หรือโรคกรดไหลย้อน ทาให้เกิดการอักเสบของหลอด
อาหาร
โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis)
โรคปริทันต์อักเสบ (โรคเหงือก)
ปัญหาสุขภาพจิต การถูกล้อเลียนจากสังคมและภาวะซึมเศร้า
ความดันโลหิตสูงในปอด (ความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงที่นาเลือดไปยังปอด)
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
ปัญหาผิวหนัง เช่นการอักเสบและการติดเชื้อในผิวหนังที่เป็นรอยพับ (เช่น ข้อพับ ด้านล่างของหน้าอก
หรือท้อง)
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ความเสี่ยงจากการผ่าตัดและหลังผ่าตัด รวมถึงการติดเชื้อจากบาดแผล
การอุดตันของเลือดในหลอดเลือดดาส่วนลึก
การอุดตันของลิ่มเลือดในปอด
โรคปอดบวมหลังผ่าตัด
การผ่าตัดรักษาโรคอวนคืออะไร?
การผ่าตัดรักษาโรคอวน (Bariatric Surgery) มีหลายประเภท และแต่ละประเภทมีทั้งประโยชน์และโทษ
อาจเกิดความเสี่ยงหลายๆอย่าง เป็นวิธีการผ่าตัดสาหรับคนอ้วนเพื่อให้ได้น้าหนักที่ลดลง
เป็นทางเลือกหลังสาหรับคนอ้วนที่ใช้วิธีลดน้าหนักโดยการอดอาหารและการออกกาลังกายแล้วไม่ได้ผล
และสุขภาพอยู่ในภาวะเสี่ยงที่จะงดอาหารต่อไป การผ่าตัดรักษาโรคอวน (Bariatric Surgery) แบ่งเป็น
หลายประเภทตามลักษณะที่แตกต่างกันของการผ่าตัด แต่เป้าหมายโดยรวมคือลดการกินอาหาร ซึ่งเป็น
ปัจจัยหลักในการลดน้าหนัก
การผ่าตัดรักษาโรคอวน (Bariatric Surgery) เหมาะกับใครบ้าง?
สาหรับคนอ้วนที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) มากกว่า 40
สาหรับคนอ้วนที่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 35 และมีปัญหาสุขภาพรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเช่น
โรคหัวใจ(heart disease) โรคเบาหวานชนิดที่ 2( type 2 diabetes) หรือภาวะหยุดหายใจขณะนอน
หลับ (sleep apnea)
12
สาหรับคนอ้วนที่มีค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 ขึ้นไปและปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรงที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) ได้อนุมัติให้ใช้ห่วงรัดกระเพาะอาหารที่ปรับขนาดได้
(LAGB) สาหรับการผ่าตัดลดน้าหนัก (more on LAGB below)
นอกจากความต้องการด้านลดน้าหนักแล้วผู้ป่วยที่ควรรับการผ่าตัดด้วยวิธี bariatric surgery ควรมี
ลักษณะดังนี้:
ไม่สามารถลดน้าหนักโดยการงดอาหารและออกกาลังกายได้
ต้องการลดน้าหนักและมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี (healthy lifestyle)โดยตระหนักถึงผลข้างเคียงที่อาจ
เกิดขึ้นและความเสี่ยงของการผ่าตัด
ประเภทของการผ่าตัดลดความอ้วน (bariatric surgery)ที่พบบ่อยที่สุด:
Roux-en-Y Gastric Bypass : ในการผ่าตัดวิธีนี้หลักการคือจากัดจานวนอาหารที่กิน และเปลี่ยนแปลง
วิธีที่ดูดซึมอาหาร ศัลยแพทย์จะแบ่งส่วนบนของกระเพาะอาหารให้เล็กลงเหมือนกระเป๋าขนาดเท่า
วอลนัทซึ่งสามารถเก็บอาหารได้เพียง 1 ออนซ์ (ปกติกระเพาะอาหารสามารถเก็บอาหารได้ 3 pints)
ถัดไปศัลยแพทย์จะเย็บลาไส้ให้ต่อกับกระเป๋า(กระเพาะ)ขนาดเท่าวอลนัทนี้ ทาให้อาหารไม่ผ่านกระเพาะ
จึงทานอาหารได้น้อยและรู้สึกอิ่มเร็ว เป็นการเปลี่ยนวิธีดูดซึมอาหาร Laparoscopic adjustable
gastric banding (LAGB): เป็นการนาห่วงรัดที่ปรับได้ไปรัดกระเพาะอาหารส่วนบนเพื่อลดปริมาณการ
ทานอาหารต่อครั้งลง
Biliopancreatic diversion with duodenal switch (BPDS-DS): การผ่าตัดนี้ทางานได้สามวิธีคือ
เอาส่วนกระเพาะอาหารออกเพื่อให้คุณรู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและกินอาหารน้อยลง
จัดการให้อาหารอยู่ห่างจากลาไส้เล็กส่วนใหญ่เพื่อให้ร่างกายของดูดซึมอาหารได้น้อยลง
ทาให้น้าดี (สารที่ตับผลิตเพื่อช่วยในการย่อยอาหาร(bile))ย่อยอาหารและดูดซับพลังงานลดลง
Sleeve Gastrectomy เป็นการลดขนาดของกระเพาะอาหาร ตัดกระเพาะอาหารให้เล็กลง ทาให้
ฮอร์โมนghrelin(ฮอร์โมนที่บอกคุณว่าคุณหิว)ลดลง ทาให้ไม่รู้สึกหิว (ทานนิดเดียวจะรู้สึกอิ่มไว) การทา
Sleeve gastrectomy อาจทาเพียงอย่างเดียวหรือเป็นส่วนแรกของ BPDS-DS อาหารที่รับประทานหลัง
การผ่าตัดลดความอ้วน Bariatric Surgery Diet หลังการผ่าตัดลดความอ้วน Bariatric Surgery Diet ไม่
ว่าแบบไหนคุณจะต้องควบคุมอาหารที่กินอย่างเข้มงวดเพราะ
ช่วยให้กระเพาะอาหารหายเร็วขึ้นจากการผ่าตัด
ช่วยให้คุณปรับตัวให้รับประทานอาหารในปริมาณที่น้อยลง
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ลดน้าหนักลงได้
แต่เนื่องจากร่างกายของคุณกินอาหารน้อยลงและดูดซับสารอาหารน้อยลงอาจเกิดภาวะขาดสารอาหาร
ได้ จึงแนะนาให้กินอาหารดังนี้:
โปรตีน 60 ถึง 120 กรัมต่อวัน
วิตามินรวมและแร่ธาตุทุกวัน
แคลเซียมและวิตามินดี
วิตามินอื่นๆเช่น บี 12 หรือเหล็กถ้าจาเป็น
13
หลังการผ่าตัดใหม่ๆคุณจะได้รับอนุญาตให้ดื่มของเหลวใส 2 ถึง 3 ออนซ์ต่อครั้งก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น
ของเหลวชนิดอื่น ๆ
ของเหลวเหล่านี้คือ:
นม (หางนมหรือนม1%)
น้าซุป (Broth)
น้าเปล่าไม่หวาน
ชาหรือกาแฟที่ไม่มีคาเฟอีน
เจลาตินที่ปราศจากน้าตาลหรือแยม
หลังจากที่คุณเริ่มชินกับของเหลวมากขึ้น คุณสามารถเพิ่มอาหารที่บดละเอียดผสมกับน้า น้าซุปหรือนม
ไขมันต่าในอาหารของคุณ
อาหารที่สามารถมาบดผสมใส่ซุปได้แก่:
เนื้อบดไร้มัน
ถั่ว
ปลา
ไข่
ผลไม้อ่อนและผักที่ปรุงสุก
ชีส
หลังจากผ่านไป 2-3 สัปดาห์ คุณสามารถเริ่มรับประทานอาหารประเภทอ่อนนุ่ม ได้แก่ เนื้อบดหรือเนื้อ
ละเอียด ผลไม้สดกระป๋อง (ไม่มีเมล็ดหรือเปลือก) และผักสุกที่ไม่มีเปลือกแข็ง หลังจากผ่านไปประมาณ
แปดสัปดาห์คุณสามารถเปลี่ยนไปรับประทานอาหารที่เป็นของแข็ง ทานอาหารมื้อเล็กๆและดีต่อสุขภาพ
ความเสี่ยงของ Bariatric Surgery
เช่นเดียวกับการผ่าตัดอื่นๆ Bariatric Surgeryมีความเสี่ยงและอาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ดังนี้
การติดเชื้อ
เลือดออกผิดปกติ
Dumping syndrome อาการมึนงง เหงื่อออก อ่อนเพลีย และหน้าซีด ที่เกิดภายหลังรับประทาน
อาหาร
นิ่ว
ไส้เลื่อน(Hernias)
น้าตาลในเลือดต่า
ลาไส้อุดตัน
ภาวะทุพโภชนาการ(ขาดสารอาหาร)
กระเพาะอาหารเป็นแผลหรือทะลุ
แผลพุพอง
ความตาย (เกิดน้อย)
ดัชนีมวลกาย (BMI) คืออะไร?
14
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))หมายถึง
เครื่องมือเพียงชนิดเดียวที่ใช้วัดไขมันในร่างกาย (body fat) ที่ยังไม่สมบูรณ์แบบนัก
เป็นวิธีหนึ่งในการประมาณปริมาณไขมันส่วนเกินที่ร่างกายสามารถเก็บได้
ใช้ความสูงและน้าหนักในการคานวณ เป็นวิธีที่ง่ายและเชื่อถือได้ในการประเมินความเสี่ยงของโรคอ้วน
แม้ว่าจะยังไม่มีการรับรองเป็นทางการ
จะวัดค่าดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))ได้อย่างไร?
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) คานวณตามน้าหนักของคุณเป็นปอนด์หารด้วยความสูงของ
คุณเป็นนิ้วยกกาลังสองและคูณด้วย 703:
สูตร: น้าหนัก (ปอนด์) / ความสูง (นิ้ว) 2(ยกกาลัง2) x 703
ตัวอย่าง: คนที่มีความสูง 5 ฟุต 4 นิ้วและน้าหนัก 140 ปอนด์: 140 / (64x64) x 703 = 24BMI
หรือสาหรับระบบเมตริก วัดน้าหนักเป็นกิโลกรัมหารด้วยความสูงเป็นเมตรยกกาลังสอง
สูตร: น้าหนัก (กก.) / สูง (m) 2
ตัวอย่าง: คนที่มีความสูง 1.7 เมตรและน้าหนัก 68 กก.: 68 / (1.7 x 1.7) = 23.5 BMI
ตัวเลขดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))จะเหมือนกันทั้งชายและหญิง
แต่ในเด็กจะใช้สูตรที่แตกต่างกันเล็กน้อยจากผู้ใหญ่ (ดูด้านล่าง) เครื่องคานวณดัชนีมวลกาย(BODY
MASS INDEX(BMI))แบบออนไลน์ช่วยให้สะดวกและง่ายขึ้นในการคานวณค่าBMI มีทั้งแบบสาหรับ
ผู้ใหญ่และแยกเฉพาะสาหรับเด็ก สูตรคานวณดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) สาหรับเด็ก จะ
เริ่มตั้งแต่ 2-19 ปี และอายุ 20 ปีขึ้นไปสาหรับผู้ใหญ่
ตัวเลขดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))หมายถึงอะไร?
ตัวเลข ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) ถูกใช้เป็นเครื่องมือคัดกรองเพื่อระบุผู้ที่อาจมีน้าหนัก
เกินหรือเป็นโรคอ้วน:
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) ต่ากว่า 18.5 = น้าหนักน้อย
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 18.5 ถึง 24.9 = น้าหนักปกติ
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 25.0 ถึง 29.9 = น้าหนักเกิน
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 30.0 ขึ้นไป = โรคอ้วน
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 40 และสูงกว่า = เป็นโรคอ้วนรักษายาก(Morbidly obese)
อย่างไรก็ตามตัวเลข ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) เหล่านี้ไม่ได้หมายความชัดเจนว่าคุณมี
น้าหนักเหมาะสม น้าหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วนเนื่องจากจะต้องนาปัจจัยอื่นๆมาประมวลผลร่วมด้วย
ข้อจากัดของดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))
แม้ว่าค่าBMI จะสัมพันธ์กับปริมาณไขมันในร่างกาย แต่ยังมีข้อผิดพลาดในการระบุว่าระดับไหนเป็น
ระดับน้าหนักที่มีสุขภาพดี
ปัจจัยที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดที่พบบ่อยที่สุดคือ:
ผู้หญิงส่วนมากมีปริมาณไขมันในร่างกายมากกว่าผู้ชายที่ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))
เดียวกัน
ผู้สูงอายุมักมีไขมันในร่างกายและกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ใหญ่ที่อายุน้อยกว่าที่ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS
INDEX(BMI)) เดียวกัน
15
นักกีฬามืออาชีพและนักกีฬาสมัครเล่นอาจมีค่าดัชนีมวลกายที่สูงขึ้นเนื่องจากมีมวลกล้ามเนื้อมากกว่าแต่
ระดับไขมันในร่างกายไม่ได้เพิ่มขึ้น (กล้ามเนื้อมีน้าหนักมากกว่าไขมัน)
ตัวเลขอื่นๆ ที่ควรพิจารณานอกเหนือจากดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) คืออะไร?
ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))เป็นเพียงตัวบ่งชี้ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นสาหรับโรคที่เกี่ยวกับโรค
อ้วน
The National Heart, Lung, and Blood Institute แนะนาให้พิจารณาดังนี้:
รอบเอว: ไขมันรอบเอวสัมพันธ์กับสะโพกเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและโรคเบาหวานประเภท 2
รอบเอวควรมีขนาด 35 นิ้วหรือน้อยกว่าสาหรับผู้หญิง และเป็น 40 นิ้วหรือเล็กกว่าสาหรับผู้ชาย
ความดันโลหิตสูง
ระดับcholesterolสูง
ระดับtriglycerides สูง
น้าตาลในเลือดสูง
ประวัติคนในครอบครัวที่เคยเป็นโรคหัวใจ
การขาดการออกกาลังกาย
การสูบบุหรี่
วิธีอื่น ๆ ในการวัดระดับไขมัน
มีวิธีอื่นๆอีกหลายวิธีที่ใช้วัดไขมันในร่างกายนอกเหนือจากการคานวณ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS
INDEX(BMI)) อย่างไรก็ตามแต่ละวิธีจาเป็นต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ต้องมีการฝึกอบรมเพื่อดาเนินการและ
สามารถให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้และผู้ปฏิบัติ
วิธีการอื่นๆรวมถึง:
วัดความหนาของผิวด้วยเครื่องวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง (calipers)
การชั่งน้าหนักใต้น้า (Underwater weighing)
วิธีการวัดองค์ประกอบของร่างกายจากความต้านทานไฟฟ้า (Bioelectrical impedance)**
Dual Energy X-ray Absorption (DEXA)คือการ X-Ray กระดูกโดยใช้เครื่องมือวัดความหนาแน่น
กระดูกที่มีรังสี X-Ray ต่างกันสองระดับโดยมีซอฟต์แวร์ในการคานวณความหนาแน่นของกระดูก
การลดลงของไอโซโทป(Isotope dilution)
**วิธีการวัดองค์ประกอบของร่างกายจากความต้านทานไฟฟ้า (Bioelectrical Impedance Analysis,
BIA)
เป็นวิธีการวัดองค์ประกอบของร่างกายจากความต้านทานไฟฟ้า โดยใช้กระแสไฟฟ้าระดับต่า (น้อยกว่า 1
มิลลิแอมแปร์) ผ่านร่างกาย ด้วยความเร็วที่เหมาะสมและปลอดภัย สัญญาณไฟฟ้าจะไหลผ่านกล้ามเนื้อ
ไขมัน และของเหลวในร่างกาย โดยที่ส่วนของกระดูก ไขมัน จะนาไฟฟ้าไม่ดี และมีแรงต้านทานต่อการ
ไหลของกระแสไฟฟ้าสูง ในขณะที่เลือด อวัยวะภายใน และกล้ามเนื้อจะนาไฟฟ้าได้ดีและมีแรงต้านทาน
ต่า และใช้ข้อมูลอายุ เพศ น้าหนัก ส่วนสูง ร่วมกับค่าความต้านทานกระแสไฟฟ้าที่ตรวจได้มาประเมิณ
ผลเป็นองค์ประกอบของร่างกาย
16
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่อง ภาษาจีน ว่ามีเนื้อหามากน้อย
เพียงใด และต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซด์ต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทา
เนื้อหาต่อไป
3. ศึกษาภาษาจีน จากเอกสารและเว็บไซด์ต่างๆ
4. จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
5. ปฏิบัติการจัดทาโครงงาน
6. จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
7. นาเสนองาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. โปรแกรม Microsoft Word
3. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6
4. Internet
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
17
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ทาให้บุคคลที่มีแน้วโน้มเป็นโรคอ้วนได้กลับมาดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตน
2. ทาให้ทุกคนดูแลสุขภาพกันมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
1. ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
2. CAMP ห้างสรรพสินค้าเมญ่า เชียงใหม่
3. WAKE UP (สาขาไอคอน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.ภาษาไทย
2.การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. http://happychinese-miaodi.weebly.com/361436363609362936363609.html
2.http://www.jiewfudao.com/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%
B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E
0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99
3. http://www.chine-
culture.com/th/%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%
B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89-
%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8
%99/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0
%B8%99-
18
01/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%
B8%A9%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99.php
4. http://www.taiwanandi.com/chinese-for-starter/
5.http://www.jeen4u.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8
%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%80%E0
%B8%9A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%89
%E0%B8%99/
6. http://www.taiwanandi.com/chapter1-pinyin/

More Related Content

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมjetaimej_
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนJungle Jam
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์pleng.mu
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computertataaaz
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chanika Panyana
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนนachirayaRchi
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขCanned Pumpui
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพMewBesty
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project computer
2562 final-project computer2562 final-project computer
2562 final-project computer
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนนนน
งานนนนนงานนนนน
งานนนนน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคอ้วน ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพิชยุฒม์ เชื้อสะอาด ม.6/10 เลขที่ 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Obesity.” ประเภทโครงงาน โครงงานตามสาระการเรียนรู้ (โครงงานเชิงวิชาการ) ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพิชยุฒม์ เชื้อสะอาด ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) นอกเหนือจากโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ ที่ไม่เพียงเป็นปัญหาสาธารณสุข หากแต่ยังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ อีก และจากปัจจัยเสี่ยงที่ก่อเกิดโรคเหล่านี้ส่วนหนึ่งเกิดจาก ภาวะอ้วนลงพุง สัญญาณอันตรายที่มีความหมายต่อการดูแลรักษาสุขภาพ โรคเหล่านี้เป็นโรคเรื้อรังมีค่าใช้จ่ายสูง ซึ่งต้นตอส่วนหนึ่งสัมพันธ์กับการที่มีไขมันในช่องท้อง และหากมีไขมันในช่องท้องมากล้วนแต่เป็นสัญญาณบอกให้รู้ว่ากาลังเสี่ยงกับโรคเหล่านี้สูง นพ.ฆนัท ครุธ กูล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านโรคหัวใจและโภชนวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรรมการเครือข่ายคนไทยไร้พุง เริ่มบอกเล่าพร้อมให้ความรู้ถึงโรคอ้วนเพิ่มต่ออีกว่า อ้วนลงพุงเกิดจาก ไขมันสะสมในช่องท้องปริมาณมากและยิ่งมีรอบพุงก็ยิ่งแสดงว่าไขมันสะสมมากขึ้น หากสามารถป้องกัน โรคนี้ได้ก็หมายความว่าหลีกไกลจากโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ การดูแลรักษาสุขภาพหลีกไกลจากโรคอ้วนจึง เป็นสิ่งสาคัญ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. สามารถเรียนรู้และเข้าใจโรคอ้วน 2. สามารถป้องกันตัวเองจากโรคอ้วน 3. รู้และเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. บุคคลทุกเพศทุกวัย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคอ้วนเป็นภาวะซึ่งทาให้เพิ่มความเสี่ยงรุนแรงต่อสุขภาพและอาจทาให้คุณภาพชีวิตแย่ลง คาจากัดความสาหรับโรคอ้วนนั้นง่ายมาก มันก็คือสภาวะที่คุณกาลังมีไขมันในร่างกายมากเกินไป แต่ในชีวิตจริงนั้นการรักษาและจัดการกับโรคอ้วนนั้นไม่ได้ง่ายอย่างนั้น โรคอ้วนเป็นความผิดปกติที่ ซับซ้อนซึ่งไม่ได้มีผลเฉพาะรูปร่างความสวยงามเท่านั้น แต่การเป็นโรคอ้วนยังทาให้คุณมีความเสี่ยงต่อ หลายโรคและปัญหาทางสุขภาพได้ การมีไขมันในร่างกายที่มากเกินไปมีความเกี่ยวข้องกับโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเส้นเลือดสมอง โรคมะเร็งบางชนิด องค์การอนามัยโลกได้กล่าวว่าความชุกของโรคอ้วนทั่วโลกเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่าระหว่างปี 1980- 2014 นอกจากนั้นยังทาให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐศาสตร์ตามมา เช่นค่าใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลที่สูงมากขึ้น การสูญเสียความสามารถในการทางาน และค่าแรงที่ลดลง โรคอ้วนกับค่า ดัชนีมวลกาย ค่าดัชนีมวลกายเป็นตัวเลขที่ใช้ประเมินโรคอ้วน โดยค่านี้คิดว่าส่วนสูงและน้าหนักของ ผู้ป่วย สามารถแบ่งค่าดัชนีมวลกายออกเป็นกลุ่มต่างๆ ได้ดังนี้ น้าหนักปกติ : 18.5 – 24.9 น้าหนักเกินเกณ์์ : 25 – 29.9 อ้วน : มากกว่า 30 ซึ่งโรคอ้วนสามารถแบ่งได้เป็น กลุ่มที่ 1 : BMI = 30-34.9 กลุ่มที่ 2 : BMI = 35 – 39.9 กลุ่มที่ 3 : BMI = >40 โรคอ้วนรุนแรง บางองค์กรมีการเรียกผู้ที่มี BMI มากกว่า 40 ว่าเป็นกลุ่มโรคอ้วนรุนแรง ซึ่งโรคอ้วนรุนแรงนั้นอาจ ยังหมายถึงการมีน้าหนักตัวมากกว่าเกณ์์ปกติ 100 ปอนด์ หรือการมี BMI >35 ร่วมกับมี ภาวะแทรกซ้อนอื่นจากโรคอ้วนเช่นความดันโลหิตสูงหรือโรคเบาหวานชนิดที่ 2 การเป็นโรคอ้วนรุนแรง ทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางสุขภาพมากกว่าภาวะน้าหนักเกินหรือโรคอ้วนธรรมดา การคานวณค่าดัชนีมวลกาย มีเครื่องมือออนไลน์หลายชิ้นที่สามารถช่วยคานวนค่าดัชนีมวลกายของคุณได้ ผู้ใหญ่สามารถใช้ เครื่องคานวณค่าชะนีมวลกายที่เว็บไซต์นี้ได้ ในขณะที่เด็กจะต้องใช้เครื่องคานวณที่แตกต่างจากผู้ใหญ่ โดยเด็กอายุระหว่าง 2-19 ปีสามารถใช้ของ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) โรคอ้วนกับการตั้งครรภ์
  • 4. 4 การเป็นโรคอ้วนอาจส่งผลที่ไม่ดีต่อความสามารถในการมีบุตรของทั้งชายและหญิง ในผู้หญิง การ เป็นโรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับภาวะไข่ไม่ตก ในผู้ชาย มีความเกี่ยวข้องกับการมีน้าอสุจิที่คุณภาพต่า อารมณ์ทางเพศลดลง และองคชาติไม่แข็งตัว ในผู้หญิงอ้วนที่ตั้งครรภ์นั้น การเป็นโรคอ้วนก็จะทาให้เพิ่ม ความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ เช่น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง แท้ง ครรภ์เป็นพิษ คลอดผิดปกติ มักจะต้องไปผ่าตัดคลอด ทารกที่เกิดจากผู้หญิงที่เป็นโรคอ้วนจะมีความเสี่ยงของโรคต่อไปนี้เพิ่มขึ้น คลอดก่อนกาหนด ตายคลอด มีความผิดปกติแต่กาเนิด ตัวใหญ่ โรคอ้วนในเด็ก การลดน้าหนักก่อนตั้งครรภ์และควบคุมน้าหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ให้ไม่มากเกินไปสามารถช่วยลด ความเสี่ยงเหล่านี้ได้ โรคอ้วนในเด็ก องค์การอนามัยโลกได้พูดถึงโรคอ้วนในเด็กว่าเป็นหนึ่งในปัญหาและความท้าทายที่รุนแรงของ สาธารณสุขในศตวรรตที่ 21 โรคอ้วนไม่ได้เพียงแต่จะลดคุณภาพชีวิตของเด็กเท่านั้นแจต่การมีน้าหนักตัว มากและอ้วนจะทาให้เด็กเหล่านี้โตเป็นผู้ใหญ่ที่อ้วนเช่นกัน และเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเช่น โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใจตั้งแต่อายุยังน้อย แม้ว่าการคาดการณ์อัตราการเป็นโรคอ้วนในเด็ก ทั่วโลกนั้นจะทาได้ยาก แต่มีการประเมินว่าน่าจะมีเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีประมาณ 43 ล้านคนที่มีน้าหนัก เกินหรือเป็นโรคอ้วนในปี 2010 ซึ่งจากจานวนดังกล่าวนั้นมีประมาณ 35 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในประเทศ กาลังพัฒนา ในสหรัฐอเมริกา มีการเก็บข้อมูลของ National Health and Nutrition Examination Survey (NHANES) ที่แสดงว่าอัตราการเกิดโรคอ้วนในเด็กนั้นเพิ่มขึ้นมากกว่า 3 เท่าในช่วง 30 ปีที่ผ่าน มา ในช่วงปี 1970 มีเด็กอายุ 2-19 ปีเพียง 5% เท่านั้นที่อ้วน ในปี 2008 มีเด็กอายุ 2-19 ปีเกือบ 17% ที่อ้วน ความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาทางสุขภาพระยะสั้นที่สัมพันธ์กับโรคอ้วนในเด็กประกอบด้วย ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด มีแนวโน้มที่จะเป็นเบาหวาน เกิดปัญหากับกระดูกและข้อ มีภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ เป็นปัญหาทางสังคม มีความมั่นใจในตัวเองต่า
  • 5. 5 ความเสี่ยงระยะยาวนั้นเป็นเหมือนกับการเป็นโรคอ้วนในผู้ใหญ่ สาเหตุของโรคอ้วนและปัจจัยเสี่ยง โรคอ้วนเป็นภาวะที่ซับซ้อนซึ่งได้รับอิทธิพลจากอุปนิสัยการทางาน รูปแบบการเคลื่อนที่และเทคโนโลยี ต่างๆ ลักษณะที่เกิดง่ายสุดคือความอ้วนเกิดจากการบริโภคอาหารที่มีแคลอรี่มากกว่าที่ร่างกายเผาผลาญ อย่างไรก็ตามโรคอ้วนเป็นภาวะซับซ้อนที่เกิดจากการกินมากเกินไปและมีการเคลื่อนไหวน้อยไป สภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ และบรรทัดฐานทางสังคมของชุมชนโดยรอบ รวมถึงวิถีชีวิต จะมีอิทธิพลอย่าง มากต่ออาหารที่กิน เวลาที่กิน และปริมาณที่กิน ในทานองเดียวกันสภาพแวดล้อมจะมีผลต่อการ เคลื่อนที่ของร่างกายไม่ว่าจะเป็นที่ไหนและอย่างไร อาหารและวิถีการดารงชีวิต พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนอเมริกันและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปมีส่วนเพิ่มจานวนของคนที่เป็น โรคอ้วนในปัจจุบันให้สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้รวมถึง: ผู้ใหญ่วัยทางาน เมื่อรวมชั่วโมงการทางานที่ยาวนานเข้ากับการเดินทางทาให้มีเวลากินอาหารที่บ้าน น้อยลง ชาวอเมริกันส่วนใหญ่กินอาหารในภัตตาคารมากขึ้นซึ่งมักเป็นอาหารแคลอรี่สูงในปริมาณที่มากq ยอดขายของกลุ่มอาหารบรรจุเสร็จเช่นขนมขบเคี้ยวและน้าอัดลม เพิ่มขึ้นทุกปี เด็ก ๆ ใช้เวลาดูโทรทัศน์ ใช้คอมพิวเตอร์หรือเล่นเกมอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น และใช้เวลาในการละเล่น และการพักผ่อนหย่อนใจน้อยลง ผู้ใหญ่ทั่วไปมีการนั่งหรือไม่เคลื่อนไหวมากขึ้นและมีการออกกาลังกายน้อยลงในช่วงเวลางาน สิ่งแวดล้อม โครงสร้างของชุมชน ที่ทางานและโรงเรียนในสหรัฐอเมริกาส่วนมาก จะมีส่วนทาให้อัตราการเป็นโรค อ้วนเพิ่มขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างที่ชัดเจนในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ได้แก่ : อาหาร (โดยเฉพาะอาหารขยะ(junk food))ซึ่งมีขายตามสถานที่ต่างๆเพิ่มขึ้น เช่นสถานีบริการน้ามัน และร้านขายอุปกรณ์สานักงาน ซึ่งในอดีตไม่ได้ขายอาหาร ผลคือมีอาหารขายเกือบทุกที่ตลอดเวลา ผลิตภัณ์์อาหารและร้านอาหารมีการทาการตลาดอย่างเข้มข้นทั้งทางโทรทัศน์วิทยุ สื่อออนไลน์และสื่อ อื่นๆ ชุมชนหลายแห่งไม่มีถนนที่ปลอดภัยสาหรับการเดินเล่น ขี่จักรยานหรือการเล่นกลางแจ้ง งานส่วนใหญ่มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายน้อยมาก หลายโรงเรียนจัดเวลาพักหรือชั้นเรียนสาหรับออกกาลังกายน้อยลงหรือไม่มีเลย ชุมชนของผู้มีรายได้น้อยมักจัดเป็น " Food Desert " ** "Food Desert" คือพื้นที่ซึ่งยากที่จะหาอาหารที่มีโภชนาการ และราคาย่อมเยาได้ มักเกิดในเขต ชนบท**
  • 6. 6 มีรายการโทรทัศน์จานวนมากที่เน้นเรื่องการทาอาหาร และโฆษณาร้านอาหารโดยไม่คานึงถึงผลกระทบ ด้านสุขภาพของอาหารที่นาเสนอ ความเครียด ความเครียดก่อให้เกิดโรคอ้วนในสองสามวิธี: คนที่เครียดมักจะเลือกรับประทานอาหารง่ายๆ และปริมาณมากๆ ความเครียดทาให้เกิดการปล่อยฮอร์โมนความเครียดรวมถึง cortisol ซึ่งกระตุ้นการปล่อยไตรกลีเซอไรด์ (กรดไขมัน) จากเนื้อเยื่อที่จัดเก็บและย้ายไปอยู่ในเซลล์ไขมันที่ลึกลงไปในช่องท้อง นอกจากนี้ Cortisol ยังทาให้เพิ่มความอยากอาหาร พันธุกรรม(Genes) คนบางคนมีความผิดปกติทางพันธุกรรมจึงมีแนวโน้มที่จะมีน้าหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน คนเหล่านี้จะไม่ กลายเป็นคนอ้วนจนกว่าพวกเขาจะกินอาหารที่มีปริมาณแคลอรี่มากกว่าที่ร่างกายเผาผลาญ ซึ่งเป็น ภาวะที่ไม่สมดุลของพลังงาน แนวโน้มทางพันธุกรรมต่อโรคอ้วนมักจะปรากฏต่อเมื่อวิถีชีวิตหรือ สิ่งแวดล้อมของคนกลุ่มนี้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก กลุ่มอาการทางพันธุกรรมที่มีผลต่อโรคอ้วนเช่น Prader-Willi Alstrom Bardet-Biedl Cohen Börjeson-Forssman-Lehman Frohlich และอื่น ๆ สามารถนาไปสู่โรคอ้วน โรคดังกล่าวข้างต้นมีโอกาสเกิดยาก แต่มักมีความผิดปกติอื่น ๆ นอกเหนือจากโรคอ้วนร่วมด้วย ภาวะเจ็บป่วยทางการแพทย์ ภาวะเจ็บป่วยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการมีน้าหนักเกินและโรคอ้วน ได้แก่ : Cushing's syndrome (กลุ่มอาการที่เกิดน้อยเป็นผลมาจากการผลิต cortisol มากไปโดยต่อมหมวกไต) ความผิดปกติของการกินอาหาร เช่น bulimia nervosa(ภาวะที่ร่างกายมีความรู้สึกผิดปกติ คือ เห็น อาหารแล้วเกิดความอยากบริโภค และบริโภคได้ในปริมาณมากกว่าปกติ) และความผิดปกติของการกิน อาหารในตอนกลางคืน การขาด Growth hormone(ข่วยเรื่องการเจริญเติบโต) Hypogonadism (ฮอร์โมนเพศชายต่า) Hypothyroidism (ฮอร์โมนthyroidต่า) Insulinoma (เนื้องอกบริเวณตับอ่อนที่มีผลต่อการหลั่งอินซูลิน) Polycystic ovarian syndrome(มีถุงในรังไข่) บางครั้งก็ไม่ชัดเจนว่าโรคอ้วนทาให้เกิดภาวะเจ็บป่วยทางการแพทย์หรือภาวะเจ็บป่วยจะเป็นสาเหตุของ โรคอ้วน ยาที่ก่อให้เกิดโรคอ้วน ยาบางอย่างมีผลทาให้น้าหนักเพิ่มขึ้น โดยมากมักจะเพิ่มความอยากอาหารและก่อให้เกิดโรคอ้วน
  • 7. 7 ยาเหล่านี้รวมถึง: ยารักษาโรคเบาหวาน (Diabetes drugs, including insulin) thiazolidinediones (Actos และ Avandia) sulphonylureas (glimepiride, glipizide และ glyburide) ยาสาหรับความดันโลหิตสูง ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ(thiazide diuretics, loop diuretics), calcium channel blockers, beta blockers, alpha-adrenergic blockers ยาแก้แพ้ โดยเฉพาะ cyproheptadine Steroids, including corticosteroids ยาคุมกาเนิด ยารักษาโรคจิตและอาการซึมเศร้า ได้แก่ lithium, antipsychotics และ antidepressants ยากันชัก(ใช้รักษา epilepsy และอาการบางอย่าง) เช่น sodium valproate และ carbamazepine อาจมียาทดแทนอื่นๆที่ไม่ทาให้น้าหนักเพิ่มหรืออาจลดปริมาณยาที่กินลง โดยคาแนะนาของแพทย์ ไม่ ควรหยุดหรือลดยาด้วยตัวคุณเอง การรักษาโรคอ้วน สิ่งสาคัญของการลดน้าหนักที่ประสบความสาเร็จคือการมีเป้าหมายที่ชัดเจนและทาได้ การรักษาโรคอ้วน หลักๆคือการลดน้าหนัก ซึ่งมีได้หลายวิธีได้แก่ : การเปลี่ยนแปลงชนิดอาหารที่กินและวิถีการดารงชีวิต ทานยาลดน้าหนัก(ภายใต้การดูแลของแพทย์) การผ่าตัดลดน้าหนัก สาหรับผู้ใหญ่ โดยเฉพาะ ผู้ที่ใช้วิธีลดอาหารและปรับเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิต ควรจัดเป้าหมายที่เป็นไป ได้เช่น: ตั้งเป้าที่จะลด 5-10% ของน้าหนักตัวภายในหกเดือน ลดน้าหนักช้าๆในอัตราไม่เกิน 1-2 ปอนด์ต่อสัปดาห์ เมื่อคุณสามารถลดน้าหนักลงได้ 10%แล้วให้พยายามรักษาระดับน้าหนักนี้สักระยะก่อนที่จะลดน้าหนัก เพิ่มขึ้น โรคอ้วนและการปรับเปลี่ยนวิถีการดารงชีวิต การกินมากเกินไปเป็นสาเหตุสาคัญของโรคอ้วนและสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ : ความเมื่อยล้าและอ่อนเพลีย ความเบื่อหน่าย ความเครียดหรือความวิตกกังวล ภาวะมีความสุขหรือต้องการเฉลิมฉลอง การกินหรือเคี้ยวที่เร็วเกินไป การกินอย่างไม่ตั้งใจหรือไม่ให้ความสาคัญกับสิ่งที่กิน การกินเพื่อเอาใจคนอื่นหรือเพื่อกลุ่มทางสังคม ความพยายามที่จะควบคุมการกินอาหารที่เข้มงวดเกินไป
  • 8. 8 การใช้เวลากินนานเกินไประหว่างมื้ออาหารหรือปล่อยให้หิวมากเกินไป การปรับเปลี่ยนวิถีการดารงชีวิตสามารถช่วยแก้ปัญหาข้างต้นและช่วยเรื่องลดน้าหนักมากขึ้น เช่น นอนหลับให้เพียงพอ ระมัดระวังนิสัยและอารมณ์ที่ทาให้กินมากไป คานึงถึงความหิวหรือความอิ่มของคุณทั้งก่อน ,ระหว่างและหลังกินอาหาร กินอาหารสุขภาพที่ให้ปริมาณแคลอรีที่เพียงพอและมีความหลากหลาย เลือกอาหารที่มีน้าและเส้นใยสูงเช่นผลไม้ ผักธัญพืชและพืชตระกูลถั่ว เข้าร่วมการออกกาลังกายเป็นประจา เข้าร่วมโครงการสนับสนุนการลดน้าหนักทั้งแบบส่วนตัวและออนไลน์ ยารักษาโรคอ้วน มียาเพียงไม่กี่ชนิดที่จ่ายตามใบสั่งแพทย์และได้รับการอนุมัติจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA)เพื่อการรักษาโรคอ้วนในระยะยาว ยาเหล่านี้รวมถึง: Belviq (lorcaserin) Contrave (naltrexone / bupropion) Qsymia (phentermine / topiramate) Xenical (orlistat)>> มีผลิตภัณ์์ที่มีปริมาณสารสาคัญน้อยลงและวางขายในร้านขายยาที่เรียกว่า Alli Xenical ได้รับการรับรองให้ใช้ได้ในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ยาอีกสามตัวข้างต้นอนุญาตให้ใช้ในผู้ใหญ่เท่านั้น ยาแต่ละชนิดจะทางานแตกต่างกันและมีผลข้างเคียงที่แตกต่างกัน การเลือกที่จะลองตัวไหนเป็นการ ตัดสินใจของแพทย์เท่านั้น น้าหนักเฉลี่ยที่ลดลงจากการใช้ยาข้างต้นอยู่ในช่วง 3-9%ของน้าหนักตัว มี การศึกษาพบว่าการใช้ Qsymia จะทาให้น้าหนักลดลงมากกว่าตัวอื่น ๆ โดยทั่วไป การใช้ยาลดน้าหนัก ต้องใช้พร้อมกับอาหารที่มีแคลอรี่ต่าและมีการออกกาลังกายที่เพิ่มขึ้น และผลของยาจะหยุดลงเมื่อหยุด ยา ยาลดน้าหนักบางตัวได้รับการอนุมัติให้ใช้ในระยะสั้น และประโยชน์ของยาจะมีจากัด เนื่องจากคน ส่วนใหญ่จะกลับมามีน้าหนักที่เพิ่มขึ้นเมื่อหยุดยา การผ่าตัดรักษาโรคอ้วน(Obesity Surgery) การผ่าตัดเพื่อลดน้าหนักเรียกว่า bariatric surgery มักให้ผลการลดน้าหนักมากกว่าการกินยาอย่างมี นัยสาคัญ แต่ผลลัพธ์นี้จะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล การผ่าตัดจะมีหลายรูปแบบ เช่น: Roux-en-Y gastric bypass: เป็นการผ่าตัดบายพาสกระเพาะอาหารที่พบมากที่สุด ขนาดของกระเพาะ อาหารจะถูกทาให้ลดลงขนาดเท่าลูกวอลนัทและ และเชื่อมต่อส่วนตรงกลางของลาไส้ให้ติดกับกระเพาะ อาหาร เป็นการจากัดปริมาณอาหารที่คุณกินและลดปริมาณสารอาหารที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย Laparoscopic adjustable gastric banding : ขั้นตอนนี้เป็นการนาห่วงรัดที่ปรับได้ไปรัดกระเพาะ อาหารส่วนบนเพื่อลดปริมาณการทานอาหารต่อครั้งลง จะแบ่งกระเพาะอาหารออกเป็นช่องบนขนาด เล็กและช่องล่างที่มีขนาดใหญ่กว่า กระเปาะกระเพาะอาหารนี้จะจากัดปริมาณอาหารที่คุณสามารถกิน ได้ในแต่ละครั้ง ห่วงรัดนี้สามารถปรับเพื่อลดขนาดของกระเพาะอาหารส่วนบนในคราวต่อไปได้
  • 9. 9 Sleeve gastrectomy : เป็นการผ่าตัดชนิดใหม่ซึ่งประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของกระเพาะอาหารจะถูก เอาออก จะทาให้มีกระเพาะอาหารเป็นหลอด ซึ่งสามารถจากัดปริมาณอาหารที่คุณกินได้มากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนจากโรคอ้วน โรคอ้วน มีภาวะแทรกซ้อนค่อนข้างเยอะอาจทาให้คุณมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงหรือมีช่วงชีวิตที่สั้นลง ภาวะแทรกซ้อนหลายอย่างสามารถขจัดออกได้ด้วยการลดน้าหนัก ยกเว้นภาวะแทรกซ้อนที่เป็น มะเร็ง ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea) อาการคือ จังหวะของการหายใจระหว่างนอนหลับถูก รบกวนหลายๆครั้ง เนื่องจากเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านหลังลาคออุดกั้นทางเดินหายใจ เป็นภาวะที่เกี่ยวข้องกับ โรคอ้วน การนอนกรนเป็นอาการหลักของภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea)และหากเกิดภาวะ หยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea)มากกว่า 5 ครั้งต่อชั่วโมงอาจทาให้เกิด: การง่วงตอนกลางวัน มีสมาธิไม่พอ ปัญหาด้านการเรียนรู้และความจา การง่วงขณะทางานหรือขับรถ ภาวะซึมเศร้า โรคหัวใจและหลอดเลือด ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ(Sleep Apnea) จะเป็นปัญหาที่มากขึ้นตอนโตขึ้นของเด็กอ้วน การรักษา ภาวะหยุดหายใจขณะหลับโดยปกติจะมีการใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจเพื่อให้ทางเดินลมหายใจเปิดออกโดย ให้แรงดันลมหายใจบวกอย่างต่อเนื่อง (Continuous Positive Airway Pressure (CPAP)) หรือ BiPAP **CPAP มีหลักการในการรักษาคือ การเป่าความดันลมผ่านทางจมูกหรือปาก ผ่านบริเวณลาคอ และ โคนลิ้น ซึ่งเป็นส่วนทางเดินหายใจส่วนต้น เพื่อให้เปิดขยายตัวตลอดเวลาโดยไม่ให้มีการอุดกั้นขณะที่ นอนหลับ ซึ่งจะทาให้ผู้ที่ใช้เครื่องสามารถหายใจรับอากาศอย่างพอเพียงและนอนหลับราบรื่นตลอดทั้ง คืน** **bilevel positive airway pressure(BiPAP)) วิธีนี้เครื่องจะอัดก๊าซหรือลมด้วยความดันสูงในช่วงที่ ผู้ป่วยหายใจเข้า และผ่อนความดันลงในช่วงหายใจออก ทาให้มีการขยายตัวของปอดเหมือนกับการใช้ เครื่องช่วยหายใจแบบดั้งเดิม** Obesity Hypoventilation Syndrome (OHS) เป็นภาวะที่ไม่สามารถหายใจลึกๆได้เพียงพอและ รวดเร็วส่งผลให้ระดับออกซิเจนในร่างกายต่าและระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (hypercarbia) Obesity Hypoventilation Syndrome (OHS) รู้จักกันอีกชื่อคือ Pickwickian syndrome ซึ่งเป็นบทบาทในตัวละครของ Charles Dickens' The Posthumous Papers เกี่ยวกับ The Pickwick Club สาเหตุที่แท้จริงของ Obesity Hypoventilation Syndrome (OHS) ยังไม่ชัดเจน แต่แพทย์เชื่อว่าเป็นผลจากภาวะควบคุมสมองด้าน การหายใจบกพร่อง และน้าหนักส่วนเกินที่มีผลต่อการทางานของผนังทรวงอก อาการของ ของ Obesity Hypoventilation Syndrome (OHS) : คุณภาพการนอนแย่ลง
  • 10. 10 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ อาการง่วงนอนในตอนกลางวัน ภาวะซึมเศร้า ปวดหัว หายใจขัด เหนื่อยง่าย การรักษาObesity Hypoventilation Syndrome (OHS) อาจใช้ CPAP และ BiPAP เครื่องช่วยหายใจที่ใช้รักษาภาวะหยุดหายใจขณะหลับพร้อมกับการ บาบัดด้วยออกซิเจน โรคอ้วนและโรคเบาหวาน โรคอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับหนึ่งสาหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 นอกจากนี้โรคอ้วนยังเพิ่มความเสี่ยง ของภาวะก่อนเบาหวาน (prediabetes) และภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ( gestational diabetes ) มี ความเชื่อว่าโรคอ้วนจะไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานประเภท 1 ซึ่งเกิดจากโรคภูมิต้านตนเอง ความสัมพันธ์ระหว่างโรคอ้วนกับเบาหวานคือจะเพิ่มความต้านทานการใช้อินซูลินของร่างกาย ไม่ สามารถใช้อินซูลินได้อย่างมีประสิทธิภาพในการรับกลูโคสเข้าสู่เซลล์สาหรับเก็บพลังงาน ความต้านทาน การใช้อินซูลินของร่างกายพบได้บ่อยในคนที่เป็นโรคอ้วนและมีผลลัพธ์คือมีระดับน้าตาลในเลือดสูงซึ่ง เป็นลักษณะของโรคเบาหวาน โรคอ้วนและโรคมะเร็ง ตามอ้างอิงของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ (The National Cancer Institute )โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับ อัตราการเกิดของมะเร็งของอวัยวะต่อไปนี้ในอัตราเสี่ยงที่สูง: เต้านม (ในสตรีวัยหมดประจาเดือน) ลาไส้ใหญ่และทวารหนัก Endometrium (เยื่อบุมดลูก) หลอดอาหาร ถุงน้าดี ไต ตับอ่อน ต่อมไทรอยด์ สาเหตุที่เกิดก็ยังไม่แน่ชัด แต่มีสมมุติฐานหลายประการดังนี้ : เซลล์ไขมันผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนในปริมาณสูงอันเป็นสาเหคุของมะเร็งบางชนิด คนอ้วนมักจะมีระดับฮอร์โมนอินซูลินสูง ซึ่งจะมีหน้าที่บางส่วนคล้าย growth factor อันเป็นสาเหคุของ มะเร็งบางชนิด เซลล์ไขมันผลิตฮอร์โมนadipokines ซึ่งอาจกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์ เซลล์ไขมันอาจมีผลโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อตัวควบคุมการเจริญเติบโตของเนื้องอกชนิดต่าง ๆ คนอ้วนมักจะมีการอักเสบเรื้อรังในเนื้อเยื่อต่างๆ(ในระดับต่า)ซึ่งอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะมะเร็ง
  • 11. 11 ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ของโรคอ้วน ภาวะแทรกซ้อนที่เป็นไปได้อื่น ๆ ของโรคอ้วน มีดังนี้: โรคหัวใจและหลอดเลือดเช่นความดันโลหิตสูง ภาวะหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ภาวะหลอดเลือดในสมอง ตีบ(Stroke) ภาวะปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ความยุ่งยากในการรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล ภาวะไขมันพอกตับ ซึ่งสามารถทาให้เกิดการอักเสบและแผลเป็นของเนื้อเยื่อตับ โรคเกี่ยวกับถุงน้าดี gastroesophageal reflux disease (GERD) หรือโรคกรดไหลย้อน ทาให้เกิดการอักเสบของหลอด อาหาร โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis) โรคปริทันต์อักเสบ (โรคเหงือก) ปัญหาสุขภาพจิต การถูกล้อเลียนจากสังคมและภาวะซึมเศร้า ความดันโลหิตสูงในปอด (ความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงที่นาเลือดไปยังปอด) การเคลื่อนไหวของร่างกาย ปัญหาผิวหนัง เช่นการอักเสบและการติดเชื้อในผิวหนังที่เป็นรอยพับ (เช่น ข้อพับ ด้านล่างของหน้าอก หรือท้อง) ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ความเสี่ยงจากการผ่าตัดและหลังผ่าตัด รวมถึงการติดเชื้อจากบาดแผล การอุดตันของเลือดในหลอดเลือดดาส่วนลึก การอุดตันของลิ่มเลือดในปอด โรคปอดบวมหลังผ่าตัด การผ่าตัดรักษาโรคอวนคืออะไร? การผ่าตัดรักษาโรคอวน (Bariatric Surgery) มีหลายประเภท และแต่ละประเภทมีทั้งประโยชน์และโทษ อาจเกิดความเสี่ยงหลายๆอย่าง เป็นวิธีการผ่าตัดสาหรับคนอ้วนเพื่อให้ได้น้าหนักที่ลดลง เป็นทางเลือกหลังสาหรับคนอ้วนที่ใช้วิธีลดน้าหนักโดยการอดอาหารและการออกกาลังกายแล้วไม่ได้ผล และสุขภาพอยู่ในภาวะเสี่ยงที่จะงดอาหารต่อไป การผ่าตัดรักษาโรคอวน (Bariatric Surgery) แบ่งเป็น หลายประเภทตามลักษณะที่แตกต่างกันของการผ่าตัด แต่เป้าหมายโดยรวมคือลดการกินอาหาร ซึ่งเป็น ปัจจัยหลักในการลดน้าหนัก การผ่าตัดรักษาโรคอวน (Bariatric Surgery) เหมาะกับใครบ้าง? สาหรับคนอ้วนที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) มากกว่า 40 สาหรับคนอ้วนที่มีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 35 และมีปัญหาสุขภาพรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนเช่น โรคหัวใจ(heart disease) โรคเบาหวานชนิดที่ 2( type 2 diabetes) หรือภาวะหยุดหายใจขณะนอน หลับ (sleep apnea)
  • 12. 12 สาหรับคนอ้วนที่มีค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 ขึ้นไปและปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรงที่สัมพันธ์กับโรคอ้วน สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (FDA) ได้อนุมัติให้ใช้ห่วงรัดกระเพาะอาหารที่ปรับขนาดได้ (LAGB) สาหรับการผ่าตัดลดน้าหนัก (more on LAGB below) นอกจากความต้องการด้านลดน้าหนักแล้วผู้ป่วยที่ควรรับการผ่าตัดด้วยวิธี bariatric surgery ควรมี ลักษณะดังนี้: ไม่สามารถลดน้าหนักโดยการงดอาหารและออกกาลังกายได้ ต้องการลดน้าหนักและมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี (healthy lifestyle)โดยตระหนักถึงผลข้างเคียงที่อาจ เกิดขึ้นและความเสี่ยงของการผ่าตัด ประเภทของการผ่าตัดลดความอ้วน (bariatric surgery)ที่พบบ่อยที่สุด: Roux-en-Y Gastric Bypass : ในการผ่าตัดวิธีนี้หลักการคือจากัดจานวนอาหารที่กิน และเปลี่ยนแปลง วิธีที่ดูดซึมอาหาร ศัลยแพทย์จะแบ่งส่วนบนของกระเพาะอาหารให้เล็กลงเหมือนกระเป๋าขนาดเท่า วอลนัทซึ่งสามารถเก็บอาหารได้เพียง 1 ออนซ์ (ปกติกระเพาะอาหารสามารถเก็บอาหารได้ 3 pints) ถัดไปศัลยแพทย์จะเย็บลาไส้ให้ต่อกับกระเป๋า(กระเพาะ)ขนาดเท่าวอลนัทนี้ ทาให้อาหารไม่ผ่านกระเพาะ จึงทานอาหารได้น้อยและรู้สึกอิ่มเร็ว เป็นการเปลี่ยนวิธีดูดซึมอาหาร Laparoscopic adjustable gastric banding (LAGB): เป็นการนาห่วงรัดที่ปรับได้ไปรัดกระเพาะอาหารส่วนบนเพื่อลดปริมาณการ ทานอาหารต่อครั้งลง Biliopancreatic diversion with duodenal switch (BPDS-DS): การผ่าตัดนี้ทางานได้สามวิธีคือ เอาส่วนกระเพาะอาหารออกเพื่อให้คุณรู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและกินอาหารน้อยลง จัดการให้อาหารอยู่ห่างจากลาไส้เล็กส่วนใหญ่เพื่อให้ร่างกายของดูดซึมอาหารได้น้อยลง ทาให้น้าดี (สารที่ตับผลิตเพื่อช่วยในการย่อยอาหาร(bile))ย่อยอาหารและดูดซับพลังงานลดลง Sleeve Gastrectomy เป็นการลดขนาดของกระเพาะอาหาร ตัดกระเพาะอาหารให้เล็กลง ทาให้ ฮอร์โมนghrelin(ฮอร์โมนที่บอกคุณว่าคุณหิว)ลดลง ทาให้ไม่รู้สึกหิว (ทานนิดเดียวจะรู้สึกอิ่มไว) การทา Sleeve gastrectomy อาจทาเพียงอย่างเดียวหรือเป็นส่วนแรกของ BPDS-DS อาหารที่รับประทานหลัง การผ่าตัดลดความอ้วน Bariatric Surgery Diet หลังการผ่าตัดลดความอ้วน Bariatric Surgery Diet ไม่ ว่าแบบไหนคุณจะต้องควบคุมอาหารที่กินอย่างเข้มงวดเพราะ ช่วยให้กระเพาะอาหารหายเร็วขึ้นจากการผ่าตัด ช่วยให้คุณปรับตัวให้รับประทานอาหารในปริมาณที่น้อยลง ป้องกันภาวะแทรกซ้อน ลดน้าหนักลงได้ แต่เนื่องจากร่างกายของคุณกินอาหารน้อยลงและดูดซับสารอาหารน้อยลงอาจเกิดภาวะขาดสารอาหาร ได้ จึงแนะนาให้กินอาหารดังนี้: โปรตีน 60 ถึง 120 กรัมต่อวัน วิตามินรวมและแร่ธาตุทุกวัน แคลเซียมและวิตามินดี วิตามินอื่นๆเช่น บี 12 หรือเหล็กถ้าจาเป็น
  • 13. 13 หลังการผ่าตัดใหม่ๆคุณจะได้รับอนุญาตให้ดื่มของเหลวใส 2 ถึง 3 ออนซ์ต่อครั้งก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น ของเหลวชนิดอื่น ๆ ของเหลวเหล่านี้คือ: นม (หางนมหรือนม1%) น้าซุป (Broth) น้าเปล่าไม่หวาน ชาหรือกาแฟที่ไม่มีคาเฟอีน เจลาตินที่ปราศจากน้าตาลหรือแยม หลังจากที่คุณเริ่มชินกับของเหลวมากขึ้น คุณสามารถเพิ่มอาหารที่บดละเอียดผสมกับน้า น้าซุปหรือนม ไขมันต่าในอาหารของคุณ อาหารที่สามารถมาบดผสมใส่ซุปได้แก่: เนื้อบดไร้มัน ถั่ว ปลา ไข่ ผลไม้อ่อนและผักที่ปรุงสุก ชีส หลังจากผ่านไป 2-3 สัปดาห์ คุณสามารถเริ่มรับประทานอาหารประเภทอ่อนนุ่ม ได้แก่ เนื้อบดหรือเนื้อ ละเอียด ผลไม้สดกระป๋อง (ไม่มีเมล็ดหรือเปลือก) และผักสุกที่ไม่มีเปลือกแข็ง หลังจากผ่านไปประมาณ แปดสัปดาห์คุณสามารถเปลี่ยนไปรับประทานอาหารที่เป็นของแข็ง ทานอาหารมื้อเล็กๆและดีต่อสุขภาพ ความเสี่ยงของ Bariatric Surgery เช่นเดียวกับการผ่าตัดอื่นๆ Bariatric Surgeryมีความเสี่ยงและอาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ดังนี้ การติดเชื้อ เลือดออกผิดปกติ Dumping syndrome อาการมึนงง เหงื่อออก อ่อนเพลีย และหน้าซีด ที่เกิดภายหลังรับประทาน อาหาร นิ่ว ไส้เลื่อน(Hernias) น้าตาลในเลือดต่า ลาไส้อุดตัน ภาวะทุพโภชนาการ(ขาดสารอาหาร) กระเพาะอาหารเป็นแผลหรือทะลุ แผลพุพอง ความตาย (เกิดน้อย) ดัชนีมวลกาย (BMI) คืออะไร?
  • 14. 14 ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))หมายถึง เครื่องมือเพียงชนิดเดียวที่ใช้วัดไขมันในร่างกาย (body fat) ที่ยังไม่สมบูรณ์แบบนัก เป็นวิธีหนึ่งในการประมาณปริมาณไขมันส่วนเกินที่ร่างกายสามารถเก็บได้ ใช้ความสูงและน้าหนักในการคานวณ เป็นวิธีที่ง่ายและเชื่อถือได้ในการประเมินความเสี่ยงของโรคอ้วน แม้ว่าจะยังไม่มีการรับรองเป็นทางการ จะวัดค่าดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))ได้อย่างไร? ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) คานวณตามน้าหนักของคุณเป็นปอนด์หารด้วยความสูงของ คุณเป็นนิ้วยกกาลังสองและคูณด้วย 703: สูตร: น้าหนัก (ปอนด์) / ความสูง (นิ้ว) 2(ยกกาลัง2) x 703 ตัวอย่าง: คนที่มีความสูง 5 ฟุต 4 นิ้วและน้าหนัก 140 ปอนด์: 140 / (64x64) x 703 = 24BMI หรือสาหรับระบบเมตริก วัดน้าหนักเป็นกิโลกรัมหารด้วยความสูงเป็นเมตรยกกาลังสอง สูตร: น้าหนัก (กก.) / สูง (m) 2 ตัวอย่าง: คนที่มีความสูง 1.7 เมตรและน้าหนัก 68 กก.: 68 / (1.7 x 1.7) = 23.5 BMI ตัวเลขดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))จะเหมือนกันทั้งชายและหญิง แต่ในเด็กจะใช้สูตรที่แตกต่างกันเล็กน้อยจากผู้ใหญ่ (ดูด้านล่าง) เครื่องคานวณดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))แบบออนไลน์ช่วยให้สะดวกและง่ายขึ้นในการคานวณค่าBMI มีทั้งแบบสาหรับ ผู้ใหญ่และแยกเฉพาะสาหรับเด็ก สูตรคานวณดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) สาหรับเด็ก จะ เริ่มตั้งแต่ 2-19 ปี และอายุ 20 ปีขึ้นไปสาหรับผู้ใหญ่ ตัวเลขดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))หมายถึงอะไร? ตัวเลข ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) ถูกใช้เป็นเครื่องมือคัดกรองเพื่อระบุผู้ที่อาจมีน้าหนัก เกินหรือเป็นโรคอ้วน: ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) ต่ากว่า 18.5 = น้าหนักน้อย ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 18.5 ถึง 24.9 = น้าหนักปกติ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 25.0 ถึง 29.9 = น้าหนักเกิน ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 30.0 ขึ้นไป = โรคอ้วน ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) 40 และสูงกว่า = เป็นโรคอ้วนรักษายาก(Morbidly obese) อย่างไรก็ตามตัวเลข ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) เหล่านี้ไม่ได้หมายความชัดเจนว่าคุณมี น้าหนักเหมาะสม น้าหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วนเนื่องจากจะต้องนาปัจจัยอื่นๆมาประมวลผลร่วมด้วย ข้อจากัดของดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) แม้ว่าค่าBMI จะสัมพันธ์กับปริมาณไขมันในร่างกาย แต่ยังมีข้อผิดพลาดในการระบุว่าระดับไหนเป็น ระดับน้าหนักที่มีสุขภาพดี ปัจจัยที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดที่พบบ่อยที่สุดคือ: ผู้หญิงส่วนมากมีปริมาณไขมันในร่างกายมากกว่าผู้ชายที่ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) เดียวกัน ผู้สูงอายุมักมีไขมันในร่างกายและกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ใหญ่ที่อายุน้อยกว่าที่ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) เดียวกัน
  • 15. 15 นักกีฬามืออาชีพและนักกีฬาสมัครเล่นอาจมีค่าดัชนีมวลกายที่สูงขึ้นเนื่องจากมีมวลกล้ามเนื้อมากกว่าแต่ ระดับไขมันในร่างกายไม่ได้เพิ่มขึ้น (กล้ามเนื้อมีน้าหนักมากกว่าไขมัน) ตัวเลขอื่นๆ ที่ควรพิจารณานอกเหนือจากดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) คืออะไร? ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI))เป็นเพียงตัวบ่งชี้ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นสาหรับโรคที่เกี่ยวกับโรค อ้วน The National Heart, Lung, and Blood Institute แนะนาให้พิจารณาดังนี้: รอบเอว: ไขมันรอบเอวสัมพันธ์กับสะโพกเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและโรคเบาหวานประเภท 2 รอบเอวควรมีขนาด 35 นิ้วหรือน้อยกว่าสาหรับผู้หญิง และเป็น 40 นิ้วหรือเล็กกว่าสาหรับผู้ชาย ความดันโลหิตสูง ระดับcholesterolสูง ระดับtriglycerides สูง น้าตาลในเลือดสูง ประวัติคนในครอบครัวที่เคยเป็นโรคหัวใจ การขาดการออกกาลังกาย การสูบบุหรี่ วิธีอื่น ๆ ในการวัดระดับไขมัน มีวิธีอื่นๆอีกหลายวิธีที่ใช้วัดไขมันในร่างกายนอกเหนือจากการคานวณ ดัชนีมวลกาย(BODY MASS INDEX(BMI)) อย่างไรก็ตามแต่ละวิธีจาเป็นต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ต้องมีการฝึกอบรมเพื่อดาเนินการและ สามารถให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้และผู้ปฏิบัติ วิธีการอื่นๆรวมถึง: วัดความหนาของผิวด้วยเครื่องวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง (calipers) การชั่งน้าหนักใต้น้า (Underwater weighing) วิธีการวัดองค์ประกอบของร่างกายจากความต้านทานไฟฟ้า (Bioelectrical impedance)** Dual Energy X-ray Absorption (DEXA)คือการ X-Ray กระดูกโดยใช้เครื่องมือวัดความหนาแน่น กระดูกที่มีรังสี X-Ray ต่างกันสองระดับโดยมีซอฟต์แวร์ในการคานวณความหนาแน่นของกระดูก การลดลงของไอโซโทป(Isotope dilution) **วิธีการวัดองค์ประกอบของร่างกายจากความต้านทานไฟฟ้า (Bioelectrical Impedance Analysis, BIA) เป็นวิธีการวัดองค์ประกอบของร่างกายจากความต้านทานไฟฟ้า โดยใช้กระแสไฟฟ้าระดับต่า (น้อยกว่า 1 มิลลิแอมแปร์) ผ่านร่างกาย ด้วยความเร็วที่เหมาะสมและปลอดภัย สัญญาณไฟฟ้าจะไหลผ่านกล้ามเนื้อ ไขมัน และของเหลวในร่างกาย โดยที่ส่วนของกระดูก ไขมัน จะนาไฟฟ้าไม่ดี และมีแรงต้านทานต่อการ ไหลของกระแสไฟฟ้าสูง ในขณะที่เลือด อวัยวะภายใน และกล้ามเนื้อจะนาไฟฟ้าได้ดีและมีแรงต้านทาน ต่า และใช้ข้อมูลอายุ เพศ น้าหนัก ส่วนสูง ร่วมกับค่าความต้านทานกระแสไฟฟ้าที่ตรวจได้มาประเมิณ ผลเป็นองค์ประกอบของร่างกาย
  • 16. 16 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่อง ภาษาจีน ว่ามีเนื้อหามากน้อย เพียงใด และต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซด์ต่างๆและเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทา เนื้อหาต่อไป 3. ศึกษาภาษาจีน จากเอกสารและเว็บไซด์ต่างๆ 4. จัดทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน 5. ปฏิบัติการจัดทาโครงงาน 6. จัดทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 7. นาเสนองาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โปรแกรม Microsoft Word 3. โปรแกรม Adobe Photoshop CS6 4. Internet ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 17. 17 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ทาให้บุคคลที่มีแน้วโน้มเป็นโรคอ้วนได้กลับมาดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตน 2. ทาให้ทุกคนดูแลสุขภาพกันมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ 1. ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ 2. CAMP ห้างสรรพสินค้าเมญ่า เชียงใหม่ 3. WAKE UP (สาขาไอคอน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.ภาษาไทย 2.การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. http://happychinese-miaodi.weebly.com/361436363609362936363609.html 2.http://www.jiewfudao.com/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0% B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E 0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99 3. http://www.chine- culture.com/th/%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0% B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89- %E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8 %99/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0 %B8%99-