SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน : ปัญหาสมองเสื่อม
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาสมองเสื่อม
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Dementia Problem
ประเภทโครงงาน ประเภทสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวขรัสวรา คาปวน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จากปัจจุบันปัญหาความจาเสื่อมเป็นโรคที่คนไทยในปัจจุบันเมื่อก้าวสู่วัยผู้สูงอายุ หรืออายุเริ่มเพิ่มมากขึ้น
แล้วมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้สูง ซึ่งสาเหตุของโรคสมองเสื่อมนี้มีที่มา ได้แก่ เรื่องของอายุและพันธุกรรม
จานวนผู้ป่วยที่พบว่าเป็นโรคสมองเสื่อมนั้นเพิ่มมากขึ้นทุกปี ๆ โดยผู้ป่วยในวัยตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีอัตราการป่วยสูงถึง
ร้อยละ 5 - 8 และยิ่งทวีสูงขึ้น เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น ในผู้ที่อายุ 90 ปีขึ้นไป พบอัตราการเกิดโรคสูงถึงร้อยละ 50
และภาวะสมองเสื่อมแบ่งได้เป็นสองประเภท ได้แก่ โรคสมองเสื่อมที่รักษาให้หายขาดได้ และโรคสมองเสื่อมที่รักษา
ไม่หายขาด ซึ่งมีสาเหตุแตกต่างกันออกไป ภาวะสมองเสื่อมชนิดที่รักษาได้นั้น ส่วนมากมักมาจากโรคทางกายซึ่งหลาย
ครั้งเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เช่น กลุ่มที่เกิดจากหลอดเลือดสมองตีบตัน (Vascular dementia) ซึ่งมีสาเหตุ
จากความดันไขมันหรือน้าตาลในเลือดสูง สาหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรักษาได้โดยการรับประทานยาควบคู่ไปกับการ
ควบคุมอาหาร และดูแลร่างกายให้แข็งแรงด้วยการออกกาลังกาย อาการคล้ายโรคสมองเสื่อมก็จะดีขึ้นหรือหายไป ใน
การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม แพทย์จะมีการซักประวัติจากผู้ป่วย ญาติ หรือผู้ดูแลที่สามารถให้ข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับ
ความสามารถในชีวิตประจาวัน และพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความถดถอยด้านการทางานของสมอง โยเริ่มจากการซัก
ประวัติ ความเห็นหรือมุมมองของผู้ดูแลมีความสาคัญมาก หากผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์นั้นไม่สามารถรับรู้ถึงความ
เจ็บป่วยของตนเอง อย่างไรก็ตาม มีบ้างบางครั้งที่ครอบครัวอาจไม่ได้สังเกตถึงความผิดปกติ ด้านความจาจึงไม่
สามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยาแก่แพทย์ได้ ดังนั้นเมื่อได้ข้อมูลบางส่วนแล้ว แพทย์ก็จะเริ่มการทดสอบทางสมอง
เพื่อวัดสมรรถภาพการทางานประเมินความบกพร่องในการรับรู้เพื่อใช้วินิจฉัยโรค เช่น ให้ทาแบบทดสอบกระดาษ
หน้าเดียวที่มีคาถามเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป ทักษะสมอง คิดเลข จากนั้นตรวจคัดกรองหาสาเหตุของโรคที่รักษาได้ แนว
ทางการรักษามี 2 รูปแบบ คือ การรักษาด้วยการใช้ยาและการรักษาโดยไม่ใช้ยา จากที่กล่าวมาข้างต้นทาให้ผู้จัดทา
อยากทราบเหตุผล สาเหตุ ปัจจัย หรือสิ่งเร้ากระตุ้นต่างๆที่ทาให้เกิดโรคความจาเสื่อมนี้ขึ้นมาให้มากขึ้นและหา
แนวทางในการรักษาโรคความจาเสื่อมนี้เพื่อที่จะได้ดูแลรักษาผู้ที่เป็นโรคนี้ได้ต่อไป
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ทราบสาเหตุ ปัจจัย หรือสิ่งเร้ากระตุ้นต่างๆที่ทาให้เกิดโรคความจาเสื่อม
2.เพื่อให้ทราบแนวทางในการรักษาโรคความจาเสื่อม
3.เพื่อที่จะได้นาความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ดูแลกับผู้ป่วยโรคนี้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.สาเหตุของโรค
2.ปัจจัย หรือสิ่งเร้ากระตุ้นต่างๆที่ทาให้เกิดโรคความจาเสื่อม
3.แนวทางในการรักษาโรคความจาเสื่อม
4.วิธีดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม
5.วิธีป้องกันโรคความจาเสื่อม
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อมกับอัลไซเมอร์ไม่เหมือนกัน โรคอัลไซเมอร์เป็นหนึ่งในสาเหตุของภาวะสมองเสื่อม
60-80% ของคนที่มีภาวะสมองเสื่อมจะเป็นโรคอัลไซเมอร์มาก่อนและมีความเสื่อมถอยของสมองส่วนฮิปโปแคมปัส
ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุมความจา
ซึ่งสาเหตุโรคสมองเสื่อม ได้แก่ เรื่องของอายุและพันธุกรรม จานวนผู้ป่วยที่พบว่าเป็นโรคสมองเสื่อมนั้นเพิ่ม
มากขึ้นทุกปี ๆ โดยผู้ป่วยในวัยตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีอัตราการป่วยสูงถึงร้อยละ 5 - 8 และยิ่งทวีสูงขึ้น เมื่ออายุเพิ่มมาก
ขึ้น ในผู้ที่อายุ 90 ปีขึ้นไป พบอัตราการเกิดโรคสูงถึงร้อยละ 50
สาเหตุของสมองเสื่อมชนิดที่อาจรักษาให้กลับคืนเป็นปกติได้ ที่พบบ่อยมีดังนี้
ได้รับสารพิษโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว
การขาดวิตามิน บี 12
ภาวะขาดไทรอยด์ (Hypothyroidism)
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
เนื้องอกในสมองบางชนิด
ภาวะโพรงสมองคั่งน้า (Hydrocephalus)
สมองอักเสบ
ราเรื้อรัง
เอดส์ เอชไอวี (HIV)
โรคอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสมองเสื่อม
โรคฮันติงตัน (Huntington's Disease) เป็นโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งที่ทาให้เกิดความเสื่อมกับ
ระบบประสาทและส่งผลนาไปสู่ภาวะสมองเสื่อม มักจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยมีอายุประมาณ 30-40 ปี
สมองบาดเจ็บ (Traumatic Brain Injury) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นจากการที่สมองได้รับบาดเจ็บซ้า ๆ กัน
หลายครั้ง เช่น เกิดกับนักมวยหรือนักฟุตบอล ซึ่งเป็นภาวะที่สามารถนาไปสู่ สมองเสื่อมได้ เช่น เสียความทรงจา หรือ
เกิดภาวะซึมเศร้า
โรควัวบ้า (Creutzfeldt-Jakob Disease) มักเป็นโรคที่เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ เกิดขึ้นได้จาก
กรรมพันธุ์หรือการสัมผัสกับโรคสมองหรือเนื้อเยื่อระบบประสาทที่เป็นโรค เช่น เนื้อสมองจากวัวที่เป็นโรค
4
ภาวะสมองเสื่อมแบ่งได้เป็นสองประเภท ได้แก่ โรคสมองเสื่อมที่รักษาให้หายขาดได้ และโรคสมองเสื่อมที่
รักษาไม่หายขาด ซึ่งมีสาเหตุแตกต่างกันออกไป” นายแพทย์อิทธิพลกล่าว “ภาวะสมองเสื่อมชนิดที่รักษาได้นั้น
ส่วนมากมักมาจากโรคทางกายซึ่งหลายครั้งเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เช่น กลุ่มที่เกิดจากหลอดเลือดสมองตีบ
ตัน (Vascular dementia) ซึ่งมีสาเหตุจากความดันไขมันหรือน้าตาลในเลือดสูง สาหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรักษาได้
โดยการรับประทานยาควบคู่ไปกับการควบคุมอาหาร และดูแลร่างกายให้แข็งแรงด้วยการออกกาลังกาย อาการคล้าย
โรคสมองเสื่อมก็จะดีขึ้นหรือหายไป”
ส่วนภาวะสมองเสื่อมอีกแบบที่ไม่สามารถรักษาได้ มักเกิดจากพยาธิสภาพบางประการในสมอง “มีทฤษฎี
หนึ่งที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าความผิดปกติของสมองดังกล่าว เกิดจากการก่อตัวอย่างผิดปกติของ
โปรตีนอะไมลอยด์ในเนื้อสมองซึ่งในสมองคนสูงอายุทั่วไป สามารถพบโปรตีนดังกล่าวได้ แต่จะมีปริมาณไม่มากเท่ากับ
ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์”
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดโรคสมองเสื่อม
อายุและพันธุกรรม : จานวนผู้ป่วยที่พบว่าเป็นโรคสมองเสื่อมนั้นเพิ่มมากขึ้นทุกปี ๆ โดยผู้ป่วยในวัยตั้งแต่
65 ปีขึ้นไป มีอัตราการป่วยสูงถึงร้อยละ 5 – 8 และยิ่งทวีสูงขึ้น เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น ในผู้ที่อายุ 90 ปีขึ้นไป พบอัตรา
การเกิดโรคสูงถึงร้อยละ 50
ความบกพร่องของสมรรถนะทางสมอง เกี่ยวข้องหรือมีปัญหาเกี่ยวกับความทรงจา แต่จะไม่รวมถึงส่วนที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ในชีวิตประจาวัน โดยความบกพร่องดังกล่าวมีโอกาสสูงที่จะทาให้เกิดสมองเสื่อมได้
ดาวน์ซินโดรม การพัฒนาเป็นโรคอัลไซเมอร์จะพบบ่อยในผู้ที่เป็นดาวน์ซินโดรมในวัยกลางคน
เบาหวาน ความดัน เป็นส่วนทาให้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะสมองขาดเลือดได้ (Vascular dementia)
การวินิจฉัยสมองเสื่อม
การวินิจฉัยสมองเสื่อม จะอาศัยการตรวจร่างกายและตรวจสอบประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วย หากสงสัย
ว่ามีภาวะสมองเสื่อม แพทย์จะตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ ตรวจสอบระบบประสาท ตรวจสอบสุขภาพทางจิต หรือการตรวจ
อื่น ๆ เช่น การตรวจเลือดและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตัวอย่างการตรวจของแพทย์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม ได้แก่
การตรวจสุขภาวะทางจิตแบบย่อ (MMSE) เป็นการทาแบบสอบถามเพื่อวัดความบกพร่องของสมรรถนะทาง
สมอง (Cognitive Impairment) ซึ่งอาจเป็นการประเมินเกี่ยวกับปัญหาเรื่องความจาเบื้องต้น การใช้ภาษา ความ
เข้าใจ หรือทักษะเกี่ยวกับเครื่องยนต์ หากได้ค่าที่ต่ากว่า 23 จาก 30 คะแนน ถือว่ามีความผิดปกติทางสุขภาพจิต
การตรวจ Mini-Cog เป็นการตรวจเพื่อช่วยให้แพทย์วินิจฉัยสมองเสื่อมได้ โดยมี 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นแรกแพทย์จะให้คา 3 คา ผู้ป่วยต้องจาและตอบกลับแพทย์ในภายหลัง
ต่อมาแพทย์จะให้ผู้ป่วยวาดหน้าปัดนาฬิกาเพื่อบอกเวลาที่ถูกต้อง
ขั้นสุดท้ายแพทย์จะให้ผู้ป่วยบอกคาที่แพทย์ให้ไว้ในตอนแรก
การตรวจ Clinical Dementia Rating: CDR หากแพทย์วินิจัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม แพทย์จะประเมิน CDR
ซึ่งหมายถึงการประเมินความสามารถทางด้านความจา การรู้จักบุคคล เวลา สถานที่ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา
การใช้ชีวิตและงานอดิเรก การเข้าสังคมและการดูแลตัวเอง โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
หากได้ค่าเป็น 0 แสดงว่าปกติ
หากได้ค่าเป็น 0.5 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมน้อยมาก
หากได้ค่าเป็น 1 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมเล็กน้อย
หากได้ค่าเป็น 2 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมปานกลาง
หากได้ค่าเป็น 3 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมรุนแรง
5
การสแกนสมอง
เพทสแกน (PET Scan) การถ่ายภาพทางรังสี ที่สามารถแสดงภาพรูปแบบการทางานของสมอง เพื่อหาความผิดปกติ
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือ MRI Scan เพื่อตรวจสอบโรคหลอดเลือดในสมอง เลือดออกใน
สมอง เนื้องอก หรือภาวะโพรงสมองคั่งน้า
แนวทางในการรักษา
แบบการรักษาให้กับผู้ป่วย ซึ่งจะมี 2 รูปแบบ คือ การรักษาด้วยการใช้ยาและการการบาบัด
การรักษาด้วยยา
⭆ ยากลุ่ม Cholinesterase Inhibitors ได้แก่ ยากาแลนตามีน (Galantamine) ยาไรวาสติกมีน (Rivastigmine)
ยาโดนีพีซิล (Donepezil) ซึ่งมีกลไกการทางานไปกระตุ้นการรับรู้ที่เกี่ยวกับความทรงจาและการตัดสินใจ แม้ยา
เหล่านี้จะใช้ในการรักษาโรคอัลไซเมอร์เป็นหลัก แต่แพทย์มักสั่งยาให้กับผู้ป่วยสมองเสื่อมเช่นกัน โดยอาจมี
ผลข้างเคียง คือ คลื่นไส้ อาเจียน และท้องเสีย
⭆ ยาเมแมนทีน (Memantine) ในบางกรณีแพทย์จะจ่ายยานี้ให้พร้อมกับยากลุ่ม Cholinesterase Inhibitors
โดยกลไกการทางานของยาเมแมนทีนจะเป็นการทางานของสารสื่อประสาทชนิดหนึ่งในสมอง ซึ่งเกี่ยวกับการทางาน
ของสมอง เช่น ความทรงจาและการเรียนรู้ อาจมีผลข้างเคียงคือทาให้เวียนศีรษะได้
ในส่วนของยาชนิดอื่น ๆ แพทย์อาจจ่ายยาที่รักษาอาการและภาวะอื่น ๆ เช่น นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย หรือเกิด
ภาวะซึมเศร้า
การบาบัด
⭆ ปรับเปลี่ยนการทางาน เช่น มีการวางแผนและจัดเตรียมขั้นตอนการทางานให้เรียบร้อย จะช่วยให้ผู้ป่วยสมองมี
ความสับสนน้อยลง
⭆ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม จัดข้าวของให้เป็นระเบียบและตัดเสียงรบกวน จะช่วยให้ผู้ป่วยสมองเสื่อมจดจ่อกับ
สิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ดีขึ้น
⭆ บาบัดกับนักกิจกรรมบาบัด มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ เช่น การตกจากที่สูง หรือการควบคุม
อารมณ์ โดยนักกิจกรรมบาบัดจะสอนวิธีทางด้านความปลอดภัยและการจัดการกับอารมณ์หรือพฤติกรรมต่าง ๆ
วิธีดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม
ทาความเข้าใจ ผู้ดูแลต้องทาความเข้าใจและยอมรับกับภาวะสมองเสื่อมของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ เนื่องจาก
ผู้ป่วยจะมีปัญหาเรื่องความจา และการใช้ความคิดด้านต่าง ๆ ตลอดจนการสูญเสียความสามารถในการแก้ไขปัญหา
หรือการควบคุมตนเองของผู้ป่วย จนทาให้มีการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลิกภาพ พฤติกรรม ไปจนถึงไม่สามารถช่วยเหลือ
ตนเองในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ และที่สาคัญต้องเข้าใจว่าอาการเหล่านั้นเกิดขึ้นสืบเนื่องจากโรคที่ผู้ป่วยเป็น
ไม่ใช่แกล้งทา
ให้ความรัก การดูแลด้วยความรักและความเข้าใจ เมื่อผู้ดูแลตระหนักว่ายังมีความรักให้กับผู้ป่วยแล้ว ผู้ดูแลก็
จะสรรหาวิธีการรักษาการดูแลด้านจิตใจ และอื่น ๆ ผู้ดูแลสามารถช่วยเหลือด้านจิตใจของผู้ป่วยได้ โดยการให้กาลังใจ
แก่ผู้ป่วย รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือในการทากิจวัตรประจาวันต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การ
ขับถ่ายอย่างถูกสุขอนามัย การอาบน้า สวมใส่เสื้อผ้า รวมไปถึงการดูแลผู้ป่วยเมื่อจาเป็นต้องออกนอกบ้านเพื่อไม่ให้
เกิดการพลัดหลงกัน
6
รู้ขีดจากัดของตนเอง นอกจากการดูแลผู้ป่วยแล้ว ตัวผู้ดูแลเองก็ควรจะดูแลร่างกายและจิตใจของตนเองด้วย
รู้ขีดความอดทน สภาพทางอารมณ์ของตัวเอง เนื่องจากการดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ตลอดเวลาอาจก่อให้เกิด
ความเครียดหรือปัญหาด้านอารมณ์ บางครั้งผู้ดูแลอาจรู้สึกผิด ไม่มั่นใจในสิ่งที่ตนเองทาว่าถูกต้องหรือไม่ ดังนั้น
นอกจากผู้ดูแลจะมีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์แล้ว ต้องดูแลสุขภาพจิตของตนเองด้วย หากรู้สึกเหนื่อยก็ควรหยุด
พักให้ผู้อื่นมาดูแลแทน เมื่อสภาพร่างกายและจิตใจพร้อมแล้วก็ค่อยกลับมาทาหน้าที่ผู้ดูแลใหม่
วิธีป้องกันโรคความจาเสื่อม
แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่มีข้อมูลเพียงพอสาหรับการป้องกันโรคสมองเสื่อม แต่อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติ
ตัวบางอย่างอาจช่วยให้สมองมีความจาที่ดีได้ เช่นข้อวิธีป้องกันโรคความจาเสื่อมดังต่อไปนี้
1. หลีกเลี่ยงยาหรือสารที่จะทาให้เกิดอันตรายแก่สมอง เช่น การดื่มเหล้าจัด การรับประทานยาโดยไม่จาเป็น
สูบบุหรี่ หรืออยู่ในที่ที่มีควันบุหรี่
2. การฝึกฝนสมอง ได้แก่ การพยายามฝึกให้สมองได้คิดบ่อย ๆ เช่น อ่านหนังสือ เขียนหนังสือบ่อย ๆ คิดเลข
เล่นเกมตอบปัญหา ฝึกหัดการใช้อุปกรณ์ใหม่ ๆ เป็นต้น
3. ออกกาลังกายสม่าเสมอ สัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง โดยอาจเลือกกิจกรรมเดินเล่น แอโรบิก หรือรามวยจีน เป็น
ต้น
4. พยายามพูดคุย พบปะผู้อื่นบ่อย ๆ เช่น ไปวัด ไปงานเลี้ยงต่าง ๆ หรือเข้าชมรมผู้สูงอายุ (ถ้ามี)
5. ตรวจสุขภาพประจาปี หรือถ้ามีโรคประจาตัวก็ต้องติดตามการรักษาเป็นระยะ เช่น การตรวจหาความเสี่ยง
โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และหมั่นดูแลตัวเองอย่าให้ขาด
6. ระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุต่อสมอง ระวังการหกล้ม เป็นต้น
7. พยายามมีสติในสิ่งต่าง ๆ ที่กาลังทาและฝึกสมาธิอยู่ตลอดเวลา
8. พยายามไม่คิดมาก ไม่เครียด หากิจกรรมต่าง ๆ ทาเพื่อคลายเครียด หรือออกไปท่องเที่ยว เนื่องจาก
ความเครียดและอาการซึมเศร้าอาจทาให้จาอะไรได้ไม่ดี
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
-100 บาท
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้
3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. .กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
โรงพยาบาลบารุงราษฎร์(2556).เมื่อสมองเสื่อม...เราจะทาอะไรได้บ้าง, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562.
(ออนไลน์)จาก. https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/better-brain-health/dementia-
alzheimer?fbclid=IwAR1FJW-85UIFYvLtPLsYFSCo2fmbmiOVNHoYEfpfX8ohY2d1tftMqWGzUo4
โรงพยาบาลบารุงราษฎร์(2556).เข้าใจอัลไซเมอร์ เมื่อสมองเสื่อมไม่ใช่แค่เรื่องความจา, สืบค้นเมื่อ 20
กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก
http://www.thaitribune.org/contents/detail/318?content_id=36133&rand=1564954485
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ขรัสวรา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ขรัสวรา
3 จัดทาโครงร่างงาน ขรัสวรา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ขรัสวรา
5 ปรับปรุงทดสอบ ขรัสวรา
6 การทาเอกสารรายงาน ขรัสวรา
7 ประเมินผลงาน ขรัสวรา
8 นาเสนอโครงงาน ขรัสวรา
8
พบแพทย์(2557).สมองเสื่อม, สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก
https://www.pobpad.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%
B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1
Utai Sukviwatsirikul(2557).คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสาหรับญาติและผู้ดูแล, สืบค้น
เมื่อ 20 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก https://www.slideshare.net/UtaiSukviwatsirikul/ss-46733002
Sattra Rattanopas (2557).สมองเสื่อม เรื่องใกล้ตัวของผู้สูงอายุที่ไม่ควรมองข้าม, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน
2562.(ออนไลน์)จาก.
https://healthathome.in.th/blog/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%9B
%E0%B9%87%E0%B8%99-
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B
9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1/?fbclid=IwAR3WLK5IKVKFB
AVk52UtgbKqqGjVr4ePubXfiPhGU3tz_ZoPUfDwITdud-I

More Related Content

What's hot

โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีมeyecosmomo
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39ssuser5d7fc5
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 

What's hot (12)

Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 

Similar to Work1.1

Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขNattanichaYRC
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_Swnee_eic
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมายeyecosmomo
 

Similar to Work1.1 (20)

2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)2562 final-project -2 (1)
2562 final-project -2 (1)
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_2562 final-project 35-savanee_
2562 final-project 35-savanee_
 
โครงร่างมาย
โครงร่างมายโครงร่างมาย
โครงร่างมาย
 

Work1.1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน : ปัญหาสมองเสื่อม ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาสมองเสื่อม ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Dementia Problem ประเภทโครงงาน ประเภทสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวขรัสวรา คาปวน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากปัจจุบันปัญหาความจาเสื่อมเป็นโรคที่คนไทยในปัจจุบันเมื่อก้าวสู่วัยผู้สูงอายุ หรืออายุเริ่มเพิ่มมากขึ้น แล้วมีแนวโน้มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้สูง ซึ่งสาเหตุของโรคสมองเสื่อมนี้มีที่มา ได้แก่ เรื่องของอายุและพันธุกรรม จานวนผู้ป่วยที่พบว่าเป็นโรคสมองเสื่อมนั้นเพิ่มมากขึ้นทุกปี ๆ โดยผู้ป่วยในวัยตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีอัตราการป่วยสูงถึง ร้อยละ 5 - 8 และยิ่งทวีสูงขึ้น เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น ในผู้ที่อายุ 90 ปีขึ้นไป พบอัตราการเกิดโรคสูงถึงร้อยละ 50 และภาวะสมองเสื่อมแบ่งได้เป็นสองประเภท ได้แก่ โรคสมองเสื่อมที่รักษาให้หายขาดได้ และโรคสมองเสื่อมที่รักษา ไม่หายขาด ซึ่งมีสาเหตุแตกต่างกันออกไป ภาวะสมองเสื่อมชนิดที่รักษาได้นั้น ส่วนมากมักมาจากโรคทางกายซึ่งหลาย ครั้งเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เช่น กลุ่มที่เกิดจากหลอดเลือดสมองตีบตัน (Vascular dementia) ซึ่งมีสาเหตุ จากความดันไขมันหรือน้าตาลในเลือดสูง สาหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรักษาได้โดยการรับประทานยาควบคู่ไปกับการ ควบคุมอาหาร และดูแลร่างกายให้แข็งแรงด้วยการออกกาลังกาย อาการคล้ายโรคสมองเสื่อมก็จะดีขึ้นหรือหายไป ใน การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม แพทย์จะมีการซักประวัติจากผู้ป่วย ญาติ หรือผู้ดูแลที่สามารถให้ข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับ ความสามารถในชีวิตประจาวัน และพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความถดถอยด้านการทางานของสมอง โยเริ่มจากการซัก ประวัติ ความเห็นหรือมุมมองของผู้ดูแลมีความสาคัญมาก หากผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์นั้นไม่สามารถรับรู้ถึงความ เจ็บป่วยของตนเอง อย่างไรก็ตาม มีบ้างบางครั้งที่ครอบครัวอาจไม่ได้สังเกตถึงความผิดปกติ ด้านความจาจึงไม่ สามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยาแก่แพทย์ได้ ดังนั้นเมื่อได้ข้อมูลบางส่วนแล้ว แพทย์ก็จะเริ่มการทดสอบทางสมอง เพื่อวัดสมรรถภาพการทางานประเมินความบกพร่องในการรับรู้เพื่อใช้วินิจฉัยโรค เช่น ให้ทาแบบทดสอบกระดาษ หน้าเดียวที่มีคาถามเกี่ยวกับความรู้ทั่วไป ทักษะสมอง คิดเลข จากนั้นตรวจคัดกรองหาสาเหตุของโรคที่รักษาได้ แนว ทางการรักษามี 2 รูปแบบ คือ การรักษาด้วยการใช้ยาและการรักษาโดยไม่ใช้ยา จากที่กล่าวมาข้างต้นทาให้ผู้จัดทา อยากทราบเหตุผล สาเหตุ ปัจจัย หรือสิ่งเร้ากระตุ้นต่างๆที่ทาให้เกิดโรคความจาเสื่อมนี้ขึ้นมาให้มากขึ้นและหา แนวทางในการรักษาโรคความจาเสื่อมนี้เพื่อที่จะได้ดูแลรักษาผู้ที่เป็นโรคนี้ได้ต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ทราบสาเหตุ ปัจจัย หรือสิ่งเร้ากระตุ้นต่างๆที่ทาให้เกิดโรคความจาเสื่อม 2.เพื่อให้ทราบแนวทางในการรักษาโรคความจาเสื่อม 3.เพื่อที่จะได้นาความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ดูแลกับผู้ป่วยโรคนี้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.สาเหตุของโรค 2.ปัจจัย หรือสิ่งเร้ากระตุ้นต่างๆที่ทาให้เกิดโรคความจาเสื่อม 3.แนวทางในการรักษาโรคความจาเสื่อม 4.วิธีดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม 5.วิธีป้องกันโรคความจาเสื่อม หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุของภาวะสมองเสื่อม โรคสมองเสื่อมกับอัลไซเมอร์ไม่เหมือนกัน โรคอัลไซเมอร์เป็นหนึ่งในสาเหตุของภาวะสมองเสื่อม 60-80% ของคนที่มีภาวะสมองเสื่อมจะเป็นโรคอัลไซเมอร์มาก่อนและมีความเสื่อมถอยของสมองส่วนฮิปโปแคมปัส ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุมความจา ซึ่งสาเหตุโรคสมองเสื่อม ได้แก่ เรื่องของอายุและพันธุกรรม จานวนผู้ป่วยที่พบว่าเป็นโรคสมองเสื่อมนั้นเพิ่ม มากขึ้นทุกปี ๆ โดยผู้ป่วยในวัยตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีอัตราการป่วยสูงถึงร้อยละ 5 - 8 และยิ่งทวีสูงขึ้น เมื่ออายุเพิ่มมาก ขึ้น ในผู้ที่อายุ 90 ปีขึ้นไป พบอัตราการเกิดโรคสูงถึงร้อยละ 50 สาเหตุของสมองเสื่อมชนิดที่อาจรักษาให้กลับคืนเป็นปกติได้ ที่พบบ่อยมีดังนี้ ได้รับสารพิษโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว การขาดวิตามิน บี 12 ภาวะขาดไทรอยด์ (Hypothyroidism) ผลข้างเคียงจากการใช้ยา เนื้องอกในสมองบางชนิด ภาวะโพรงสมองคั่งน้า (Hydrocephalus) สมองอักเสบ ราเรื้อรัง เอดส์ เอชไอวี (HIV) โรคอื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสมองเสื่อม โรคฮันติงตัน (Huntington's Disease) เป็นโรคทางพันธุกรรมชนิดหนึ่งที่ทาให้เกิดความเสื่อมกับ ระบบประสาทและส่งผลนาไปสู่ภาวะสมองเสื่อม มักจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยมีอายุประมาณ 30-40 ปี สมองบาดเจ็บ (Traumatic Brain Injury) เป็นภาวะที่เกิดขึ้นจากการที่สมองได้รับบาดเจ็บซ้า ๆ กัน หลายครั้ง เช่น เกิดกับนักมวยหรือนักฟุตบอล ซึ่งเป็นภาวะที่สามารถนาไปสู่ สมองเสื่อมได้ เช่น เสียความทรงจา หรือ เกิดภาวะซึมเศร้า โรควัวบ้า (Creutzfeldt-Jakob Disease) มักเป็นโรคที่เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ เกิดขึ้นได้จาก กรรมพันธุ์หรือการสัมผัสกับโรคสมองหรือเนื้อเยื่อระบบประสาทที่เป็นโรค เช่น เนื้อสมองจากวัวที่เป็นโรค
  • 4. 4 ภาวะสมองเสื่อมแบ่งได้เป็นสองประเภท ได้แก่ โรคสมองเสื่อมที่รักษาให้หายขาดได้ และโรคสมองเสื่อมที่ รักษาไม่หายขาด ซึ่งมีสาเหตุแตกต่างกันออกไป” นายแพทย์อิทธิพลกล่าว “ภาวะสมองเสื่อมชนิดที่รักษาได้นั้น ส่วนมากมักมาจากโรคทางกายซึ่งหลายครั้งเป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เช่น กลุ่มที่เกิดจากหลอดเลือดสมองตีบ ตัน (Vascular dementia) ซึ่งมีสาเหตุจากความดันไขมันหรือน้าตาลในเลือดสูง สาหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถรักษาได้ โดยการรับประทานยาควบคู่ไปกับการควบคุมอาหาร และดูแลร่างกายให้แข็งแรงด้วยการออกกาลังกาย อาการคล้าย โรคสมองเสื่อมก็จะดีขึ้นหรือหายไป” ส่วนภาวะสมองเสื่อมอีกแบบที่ไม่สามารถรักษาได้ มักเกิดจากพยาธิสภาพบางประการในสมอง “มีทฤษฎี หนึ่งที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่าความผิดปกติของสมองดังกล่าว เกิดจากการก่อตัวอย่างผิดปกติของ โปรตีนอะไมลอยด์ในเนื้อสมองซึ่งในสมองคนสูงอายุทั่วไป สามารถพบโปรตีนดังกล่าวได้ แต่จะมีปริมาณไม่มากเท่ากับ ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์” ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดโรคสมองเสื่อม อายุและพันธุกรรม : จานวนผู้ป่วยที่พบว่าเป็นโรคสมองเสื่อมนั้นเพิ่มมากขึ้นทุกปี ๆ โดยผู้ป่วยในวัยตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีอัตราการป่วยสูงถึงร้อยละ 5 – 8 และยิ่งทวีสูงขึ้น เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น ในผู้ที่อายุ 90 ปีขึ้นไป พบอัตรา การเกิดโรคสูงถึงร้อยละ 50 ความบกพร่องของสมรรถนะทางสมอง เกี่ยวข้องหรือมีปัญหาเกี่ยวกับความทรงจา แต่จะไม่รวมถึงส่วนที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ในชีวิตประจาวัน โดยความบกพร่องดังกล่าวมีโอกาสสูงที่จะทาให้เกิดสมองเสื่อมได้ ดาวน์ซินโดรม การพัฒนาเป็นโรคอัลไซเมอร์จะพบบ่อยในผู้ที่เป็นดาวน์ซินโดรมในวัยกลางคน เบาหวาน ความดัน เป็นส่วนทาให้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะสมองขาดเลือดได้ (Vascular dementia) การวินิจฉัยสมองเสื่อม การวินิจฉัยสมองเสื่อม จะอาศัยการตรวจร่างกายและตรวจสอบประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วย หากสงสัย ว่ามีภาวะสมองเสื่อม แพทย์จะตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ ตรวจสอบระบบประสาท ตรวจสอบสุขภาพทางจิต หรือการตรวจ อื่น ๆ เช่น การตรวจเลือดและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตัวอย่างการตรวจของแพทย์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรคสมองเสื่อม ได้แก่ การตรวจสุขภาวะทางจิตแบบย่อ (MMSE) เป็นการทาแบบสอบถามเพื่อวัดความบกพร่องของสมรรถนะทาง สมอง (Cognitive Impairment) ซึ่งอาจเป็นการประเมินเกี่ยวกับปัญหาเรื่องความจาเบื้องต้น การใช้ภาษา ความ เข้าใจ หรือทักษะเกี่ยวกับเครื่องยนต์ หากได้ค่าที่ต่ากว่า 23 จาก 30 คะแนน ถือว่ามีความผิดปกติทางสุขภาพจิต การตรวจ Mini-Cog เป็นการตรวจเพื่อช่วยให้แพทย์วินิจฉัยสมองเสื่อมได้ โดยมี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นแรกแพทย์จะให้คา 3 คา ผู้ป่วยต้องจาและตอบกลับแพทย์ในภายหลัง ต่อมาแพทย์จะให้ผู้ป่วยวาดหน้าปัดนาฬิกาเพื่อบอกเวลาที่ถูกต้อง ขั้นสุดท้ายแพทย์จะให้ผู้ป่วยบอกคาที่แพทย์ให้ไว้ในตอนแรก การตรวจ Clinical Dementia Rating: CDR หากแพทย์วินิจัยว่ามีภาวะสมองเสื่อม แพทย์จะประเมิน CDR ซึ่งหมายถึงการประเมินความสามารถทางด้านความจา การรู้จักบุคคล เวลา สถานที่ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา การใช้ชีวิตและงานอดิเรก การเข้าสังคมและการดูแลตัวเอง โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ หากได้ค่าเป็น 0 แสดงว่าปกติ หากได้ค่าเป็น 0.5 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมน้อยมาก หากได้ค่าเป็น 1 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมเล็กน้อย หากได้ค่าเป็น 2 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมปานกลาง หากได้ค่าเป็น 3 แสดงว่ามีภาวะสมองเสื่อมรุนแรง
  • 5. 5 การสแกนสมอง เพทสแกน (PET Scan) การถ่ายภาพทางรังสี ที่สามารถแสดงภาพรูปแบบการทางานของสมอง เพื่อหาความผิดปกติ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือ MRI Scan เพื่อตรวจสอบโรคหลอดเลือดในสมอง เลือดออกใน สมอง เนื้องอก หรือภาวะโพรงสมองคั่งน้า แนวทางในการรักษา แบบการรักษาให้กับผู้ป่วย ซึ่งจะมี 2 รูปแบบ คือ การรักษาด้วยการใช้ยาและการการบาบัด การรักษาด้วยยา ⭆ ยากลุ่ม Cholinesterase Inhibitors ได้แก่ ยากาแลนตามีน (Galantamine) ยาไรวาสติกมีน (Rivastigmine) ยาโดนีพีซิล (Donepezil) ซึ่งมีกลไกการทางานไปกระตุ้นการรับรู้ที่เกี่ยวกับความทรงจาและการตัดสินใจ แม้ยา เหล่านี้จะใช้ในการรักษาโรคอัลไซเมอร์เป็นหลัก แต่แพทย์มักสั่งยาให้กับผู้ป่วยสมองเสื่อมเช่นกัน โดยอาจมี ผลข้างเคียง คือ คลื่นไส้ อาเจียน และท้องเสีย ⭆ ยาเมแมนทีน (Memantine) ในบางกรณีแพทย์จะจ่ายยานี้ให้พร้อมกับยากลุ่ม Cholinesterase Inhibitors โดยกลไกการทางานของยาเมแมนทีนจะเป็นการทางานของสารสื่อประสาทชนิดหนึ่งในสมอง ซึ่งเกี่ยวกับการทางาน ของสมอง เช่น ความทรงจาและการเรียนรู้ อาจมีผลข้างเคียงคือทาให้เวียนศีรษะได้ ในส่วนของยาชนิดอื่น ๆ แพทย์อาจจ่ายยาที่รักษาอาการและภาวะอื่น ๆ เช่น นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย หรือเกิด ภาวะซึมเศร้า การบาบัด ⭆ ปรับเปลี่ยนการทางาน เช่น มีการวางแผนและจัดเตรียมขั้นตอนการทางานให้เรียบร้อย จะช่วยให้ผู้ป่วยสมองมี ความสับสนน้อยลง ⭆ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม จัดข้าวของให้เป็นระเบียบและตัดเสียงรบกวน จะช่วยให้ผู้ป่วยสมองเสื่อมจดจ่อกับ สิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ดีขึ้น ⭆ บาบัดกับนักกิจกรรมบาบัด มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ เช่น การตกจากที่สูง หรือการควบคุม อารมณ์ โดยนักกิจกรรมบาบัดจะสอนวิธีทางด้านความปลอดภัยและการจัดการกับอารมณ์หรือพฤติกรรมต่าง ๆ วิธีดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ทาความเข้าใจ ผู้ดูแลต้องทาความเข้าใจและยอมรับกับภาวะสมองเสื่อมของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ เนื่องจาก ผู้ป่วยจะมีปัญหาเรื่องความจา และการใช้ความคิดด้านต่าง ๆ ตลอดจนการสูญเสียความสามารถในการแก้ไขปัญหา หรือการควบคุมตนเองของผู้ป่วย จนทาให้มีการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลิกภาพ พฤติกรรม ไปจนถึงไม่สามารถช่วยเหลือ ตนเองในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ และที่สาคัญต้องเข้าใจว่าอาการเหล่านั้นเกิดขึ้นสืบเนื่องจากโรคที่ผู้ป่วยเป็น ไม่ใช่แกล้งทา ให้ความรัก การดูแลด้วยความรักและความเข้าใจ เมื่อผู้ดูแลตระหนักว่ายังมีความรักให้กับผู้ป่วยแล้ว ผู้ดูแลก็ จะสรรหาวิธีการรักษาการดูแลด้านจิตใจ และอื่น ๆ ผู้ดูแลสามารถช่วยเหลือด้านจิตใจของผู้ป่วยได้ โดยการให้กาลังใจ แก่ผู้ป่วย รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือในการทากิจวัตรประจาวันต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การ ขับถ่ายอย่างถูกสุขอนามัย การอาบน้า สวมใส่เสื้อผ้า รวมไปถึงการดูแลผู้ป่วยเมื่อจาเป็นต้องออกนอกบ้านเพื่อไม่ให้ เกิดการพลัดหลงกัน
  • 6. 6 รู้ขีดจากัดของตนเอง นอกจากการดูแลผู้ป่วยแล้ว ตัวผู้ดูแลเองก็ควรจะดูแลร่างกายและจิตใจของตนเองด้วย รู้ขีดความอดทน สภาพทางอารมณ์ของตัวเอง เนื่องจากการดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ตลอดเวลาอาจก่อให้เกิด ความเครียดหรือปัญหาด้านอารมณ์ บางครั้งผู้ดูแลอาจรู้สึกผิด ไม่มั่นใจในสิ่งที่ตนเองทาว่าถูกต้องหรือไม่ ดังนั้น นอกจากผู้ดูแลจะมีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์แล้ว ต้องดูแลสุขภาพจิตของตนเองด้วย หากรู้สึกเหนื่อยก็ควรหยุด พักให้ผู้อื่นมาดูแลแทน เมื่อสภาพร่างกายและจิตใจพร้อมแล้วก็ค่อยกลับมาทาหน้าที่ผู้ดูแลใหม่ วิธีป้องกันโรคความจาเสื่อม แม้ว่าในปัจจุบันจะยังไม่มีข้อมูลเพียงพอสาหรับการป้องกันโรคสมองเสื่อม แต่อย่างไรก็ตาม การปฏิบัติ ตัวบางอย่างอาจช่วยให้สมองมีความจาที่ดีได้ เช่นข้อวิธีป้องกันโรคความจาเสื่อมดังต่อไปนี้ 1. หลีกเลี่ยงยาหรือสารที่จะทาให้เกิดอันตรายแก่สมอง เช่น การดื่มเหล้าจัด การรับประทานยาโดยไม่จาเป็น สูบบุหรี่ หรืออยู่ในที่ที่มีควันบุหรี่ 2. การฝึกฝนสมอง ได้แก่ การพยายามฝึกให้สมองได้คิดบ่อย ๆ เช่น อ่านหนังสือ เขียนหนังสือบ่อย ๆ คิดเลข เล่นเกมตอบปัญหา ฝึกหัดการใช้อุปกรณ์ใหม่ ๆ เป็นต้น 3. ออกกาลังกายสม่าเสมอ สัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง โดยอาจเลือกกิจกรรมเดินเล่น แอโรบิก หรือรามวยจีน เป็น ต้น 4. พยายามพูดคุย พบปะผู้อื่นบ่อย ๆ เช่น ไปวัด ไปงานเลี้ยงต่าง ๆ หรือเข้าชมรมผู้สูงอายุ (ถ้ามี) 5. ตรวจสุขภาพประจาปี หรือถ้ามีโรคประจาตัวก็ต้องติดตามการรักษาเป็นระยะ เช่น การตรวจหาความเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และหมั่นดูแลตัวเองอย่าให้ขาด 6. ระมัดระวังเรื่องอุบัติเหตุต่อสมอง ระวังการหกล้ม เป็นต้น 7. พยายามมีสติในสิ่งต่าง ๆ ที่กาลังทาและฝึกสมาธิอยู่ตลอดเวลา 8. พยายามไม่คิดมาก ไม่เครียด หากิจกรรมต่าง ๆ ทาเพื่อคลายเครียด หรือออกไปท่องเที่ยว เนื่องจาก ความเครียดและอาการซึมเศร้าอาจทาให้จาอะไรได้ไม่ดี วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ -100 บาท
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้ 3.สามารถนาความรู้เผยแพร่ให้กับผู้ที่ป่วยเป็นโรคนี้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3. .กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) โรงพยาบาลบารุงราษฎร์(2556).เมื่อสมองเสื่อม...เราจะทาอะไรได้บ้าง, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก. https://www.bumrungrad.com/th/health-blog/better-brain-health/dementia- alzheimer?fbclid=IwAR1FJW-85UIFYvLtPLsYFSCo2fmbmiOVNHoYEfpfX8ohY2d1tftMqWGzUo4 โรงพยาบาลบารุงราษฎร์(2556).เข้าใจอัลไซเมอร์ เมื่อสมองเสื่อมไม่ใช่แค่เรื่องความจา, สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก http://www.thaitribune.org/contents/detail/318?content_id=36133&rand=1564954485 ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ขรัสวรา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ขรัสวรา 3 จัดทาโครงร่างงาน ขรัสวรา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ขรัสวรา 5 ปรับปรุงทดสอบ ขรัสวรา 6 การทาเอกสารรายงาน ขรัสวรา 7 ประเมินผลงาน ขรัสวรา 8 นาเสนอโครงงาน ขรัสวรา
  • 8. 8 พบแพทย์(2557).สมองเสื่อม, สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก https://www.pobpad.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0% B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1 Utai Sukviwatsirikul(2557).คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสาหรับญาติและผู้ดูแล, สืบค้น เมื่อ 20 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก https://www.slideshare.net/UtaiSukviwatsirikul/ss-46733002 Sattra Rattanopas (2557).สมองเสื่อม เรื่องใกล้ตัวของผู้สูงอายุที่ไม่ควรมองข้าม, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562.(ออนไลน์)จาก. https://healthathome.in.th/blog/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%9B %E0%B9%87%E0%B8%99- %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B 9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1/?fbclid=IwAR3WLK5IKVKFB AVk52UtgbKqqGjVr4ePubXfiPhGU3tz_ZoPUfDwITdud-I