SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ปัญหาเด็กสมาธิสั้น
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นส.ตวงธรรม สุระ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นส.ตวงธรรม สุระ เลขที่ 37
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาเด็กสมาธิสั้นจากสภาพแวดล้อมและการใช้ไอที
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Attention Deficit Hyperactivity Disorder (ADHD)
ประเภทโครงงาน การศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ตวงธรรม สุระ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จากสถานการณ์และปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยขณะนี้กาลังเผชิญกับความเสี่ยงมากมายอันเกิดจากสังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมอันตรายที่ล้อมรอบตัวเด็กแรงผลักดันที่ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงมาจากการพัฒนาด้านไอซี
ที ดิจิตอลต่างๆเช่นโทรศัพท์มือถืออินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์มีเด็กและเยาวชนใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเล่นเกม
ออนไลน์ แนวโน้มของการใช้โทรศัพท์มือถือ การเล่นเกมและการใช้อินเทอร์เน็ตเข้ามาแทนที่ในกิจกรรมต่างๆของเด็ก
ยุคปัจจุบันทาให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้ใหญ่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์กับเด็ก ปัจจุบันผู้ปกครองหลายคนประสบปัญหา
ลูกมีพฤติกรรมอารมณ์ก้าวร้าว อยู่ไม่นิ่ง สมาธิสั้น ติดโทรศัพท์มือถือ ติดเกมผู้ปกครองเด็กส่วนใหญ่มักให้ความสาคัญ
กับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย เช่นรูปร่าง น้าหนัก ส่วนสูง และปล่อยให้พัฒนาการของเด็ก
เกิดขึ้นเองตามวัยแต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสาคัญต่อการ
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนากรเด็กแล้ว เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว
สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดู โดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครอง
ควรทาในชีวิตประจาวันของเด็ก รวมถึงการติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยไม่ว่าด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ และสติปัญญาเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้ สิ่งต่างๆเหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมี
คุณภาพต่อไปดังนั้นผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาและส่งเสริมเด็กในทางที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นการ
ป้องกันไม่ให้เด็กมีความเสี่ยงในการเป็นโรคสมาธิสั้น
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศีกษาปัญหาของเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นว่ามีสาเหตุเกิดจากอะไรบ้าง
2.เพื่อหาแนวทางป้องกันและลดความเสี่ยงของเด็กจากโรคสมาธิสั้น
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ศึกษาปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและวิธีการแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคสมาธิสั้น (ADHD)
โรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder หรือ ADHD) เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่
หุนหันพลันแล่น ไม่มีสมาธิ และซน โรคนี้มักวินิจฉัยในเด็กแต่อาการของโรคยังสามารถคงอยู่ได้จนเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นและ
วัยผู้ใหญ่ได้ การรักษาที่เหมาะสมจะทาให้เด็กที่เป็นโรคนี้สามารถมีชีวิตที่ประสบความสาเร็จ
ADHD vs. ADDAttention deficit disorder (ADD) เป็นชื่อโรคเดิมของโรคสมาธิสั้นในปัจจุบัน โดยชื่อ ADD นั้นได้
ใช้ต่อเนื่องมาจถึงปี ค.ศ. 1987 ก่อนที่จะมีการเพิ่มคาว่า hyperactivity เข้าไป ตามที่ระบุไว้ใน Diagnostic and
Statistical Manual of Mental Disorders ในปัจจุบันยังมีการใช้คาว่า ADD และ ADHD ในความหมายเดียวกัน
หรือบางคนอาจเรียกเด็กที่มีปัญหาเฉพาะด้านสมาธิแต่ไม่ซนว่าเป็นกลุ่ม ADD แต่ผู้เชี่ยวชาญส่วนมากเห็นด้วยว่าคาว่า
ADD ถือเป็นคาที่ล้าสมัยไปแล้วและการใช้คานี้เป็นการะบุถึงโรคที่อาจทาให้เกิดความสับสนได้ เพราะว่าโรค ADHD ก็
มีประเภทย่อยต่างๆ ที่สามารถอธิบายแต่ละภาวะได้อยู่แล้ว
ประเภทของโรคสมาธิสั้น
โรคนี้สามารถบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทย่อยๆ คือ
 กลุ่มที่มีอาการซนและหุนหันพลันแล่นเด่น : เด็กกลุ่มนี้มักมีปัญหากับเรื่องซนและหุนหันพลันแล่นเป็นส่วน
ใหญ่ แต่ก็อาจจะมีอาการของการขาดสมาธิบางอย่างได้
 กลุ่มที่มีอาการสมาธิสั้นเด่น : เด็กกลุ่มนี้มีอาการทางด้านของสมาธิเด่น แต่ก็อาจมีบางอาการของอาการซน
และหุนหันพลันแล่นได้เช่นกัน กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่เคยเรียกว่า ADD
 กลุ่มที่มีอาการด้านซนและหุนหันพลันแล่นร่วมกับสมาธิสั้น : เด็กกลุ่มนี้มีอาการทั้งซน หุนหันพลันแล่น และ
สมาธิสั้น
4
โรคสมาธิสั้นในผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้นพบได้ในประชากรผู้ใหญ่ประมาณ 4% ในประเทศสหรัฐอเมริกา อ้างอิงจาก
สถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติ (National Institute of Mental Health หรือ NIMH) ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคนี้ทุกคนมีอาการ
ตั้งแต่เด็ก แต่อาจจะไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคสมาธิสั้น ในผู้ใหญ่สามารถก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านความสัมพันธ์ การ
ทางาน และความเชื่อมั่นในตนเอง
ผู้ป่วยโรคนี้หลายคนไม่รู้ว่าตนเองมีภาวะนี้ พวกเขาอาจรู้แค่ว่าสิ่งต่างๆ ที่ต้องทาในแต่ละวันนั้นเป็นเรื่องที่ลาบากและ
ท้าทาย บางคนอาจสังเกตว่าอาการของตนเองค่อยๆ ดีขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น ในขณะที่อีกหลายคนยังคงมีอาการอยู่
ต่อเนื่อง ผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคนี้มากกว่า 75% จะยังมีอาการต่อเนื่องเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ อ้างอิงจาก องค์การ CHADD
(Children and Adults with Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder)
โรคสมาธิสั้นในเด็ก
CHADD กล่าวว่าโรคนี้พบได้ประมาณ 11% ของเด็กวัยเรียนและพบในเด็กผู้ชายมากกว่าเด็กหญิงถึงสี่เท่า เด็กที่มี
ภาวะนี้มักมีอาการที่ทาให้เกิดปัญหาทั้งในที่บ้าน โรงเรียน หรือในสังคม พ่อแม่และครูมักเข้าใจผิดว่าอาการของโรคนี้
เป็นอาการจากปัญหาทางด้านอารมณ์หรือพฤติกรรม
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ผู้เชี่ยวชาญยังคงไม่แน่ใจว่าโรคนี้เกิดจากอะไร ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคสมาธิสั้นในเด็ก
ประกอบด้วย
 พันธุกรรม (โรคนี้มีการถ่ายทอดในครอบครัว) แม้ว่าจะยังไม่สามารถระบุ gene ที่ชัดเจนได้
 การสัมผัสสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะตะกั่ว
 การใช้แอลกอฮอล์หรือการสูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์
 การเกิดอันตรายต่อสมอง
 การคลอดก่อนกาหนดหรือน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์
นอกจากนั้นยังมีความเชื่อที่ได้รับความนิยมหลายอย่าง เช่น การรับประทานน้าตาลมากเกินไป การเลี้ยงดูที่ไม่ดี หรือ
การดูโทรทัศน์มากเกินไปจะทาให้เป็นโรคสมาธิสั้น ซึ่งแม้ว่าปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลต่ออาการของเด็ก แต่งานวิจัยไม่ได้
สนับสนุนว่าปัจจัยเหล่านี้จะทาให้เกิดความผิดปกติขึ้น
5
ภาวะแทรกซ้อนของโรคสมาธิสั้น
หากไม่ได้รับการรักษา โรคนี้อาจทาให้เกิดปัญหาแทรกซ้อนตามมาได้ เช่น
 ล้มเหลวทางการศึกษา
 มีความเชื่อมั่นในตนเองต่า
 เกิดอุบัติเหตุและได้รับบาดเจ็บ
 การติดแอลกอฮอล์หรือยา
 พฤติกรรมที่ผิดกฏหมาย
 ปัญหาในการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน
โรคที่สามารถเกิดร่วมกันได้
เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นยังอาจมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคอื่นร่วมด้วย เช่น
 โรควิตกกังวล
 ความบกพร่องทางการเรียนรู้
 โรคซึมเศร้า
 โรคสองขั้ว (ภาวะที่มีอาการทั้งซึมเศร้าและ mania)
 โรคดื้อ (Oppositional defiant disorder หรือ ODD) เป็นโรคที่มีอาการต่อต้านกฎระเบียบทุกรูปแบบ
 โรคเกเร (Conduct disorder) เป็นโรคที่มีพฤติกรรมเช่นการโกหก ขโมยของ ต่อสู้ หรือล้อเลียนผู้อื่น
 Tourette syndrome เป็นกลุ่มอาการความผิดปกติทางระบบประสาทที่จะมีพฤติกรรมซ้าๆ โดยไม่ได้ตั้งใจ
 ปัญหาทางการนอนหลับ
 ปัสสาวะรดที่นอน
จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกเป็นเด็กสมาธิสั้น
เมื่อเอ่ยถึงโรคสมาธิสั้น หลายคนมักนึกถึงภาพของเด็กซน เด็กเกเร ก้าวร้าว ต่อต้าน มองเด็กสมาธิสั้นคือเด็กที่ไม่
น่ารัก เด็กดื้อ เด็กไม่ดี แต่ในความเป็นจริงเด็กสมาธิสั้นเขาไม่ได้อยากมีสภาพแย่ๆ อย่างที่ทุกคนตราหน้า แต่มัน
เป็นความผิดปกติของสารสื่อนาประสาทในสมอง หากพวกเขาได้รับการรักษาหรือพัฒนาตามกระบวนการที่เหมาะสม
เชื่อว่าเด็กสมาธิสั้นเหล่านี้จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพได้ไม่แพ้คนปกติทั่วไป
6
ประเด็นสาคัญที่ทาให้เด็กกลุ่มนี้เข้าสู่กระบวนการรักษาที่ล่าช้า หรือ ไม่ได้รับการรักษาเลยนั้น มักมาจากมุมมองหรือ
เป็นความเข้าใจผิดของผู้ปกครองที่มักคิดว่าเด็กดื้อ ซน ไปตามวัย โตขึ้นจะหายได้เอง จนทาให้เด็กต้องมีความ
ยากลาบากในการปรับตัวหลายๆด้าน เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีปัญหาในที่สุด จะดีไม่น้อยหากผู้ปกครองสามารถประเมิน
อาการของโรคสมาธิสั้น หรือสามารถแยกโรคสมาธิสั้นออกจาก ความดื้อ ซน ที่เป็นปกติของวัยเด็กการประเมินทาได้
โดยการสังเกตพฤติกรรม ดังนี้
1. อาการด้านขาดสมาธิ (Inattention)
 สะเพร่า ไม่รอบคอบ
 ไม่มีสมาธิจดจ่อในการทาสิ่งต่างๆได้นาน
 วอกแวกง่ายเมื่อมีสิ่งเร้าภายนอก
 มักจะดูเหม่อลอยเหมือนไม่ฟังในสิ่งที่คนอื่นพูด
 มักจะทาตามคาสั่งไม่ครบ และ ทางานไม่สาเร็จ
 ไม่สามารถวางแผน บริหารจัดการงานได้
 หลีกเลี่ยงงานที่ต้องอาศัยความอดทนมากๆ
 ขี้ลืม ทาของหายบ่อย
 มักจะลืมทากิจวัตรประจาวัน เช่น ลืมนัด ลืมทางานบ้าน
2. อาการไม่นิ่ง ซน หุนหันพลันแล่น (Hyperactive and Impulsive)
 ยุกยิก ไม่นิ่ง ขยับตัว ขยับแขนขาตลอดเวลา
 นั่งอยู่กับที่ได้ไม่นาน ต้องลุกบ่อยๆ
 มักจะวิ่งหรือปีนป่ายในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม
 ไม่สามารถเล่น หรือ ทากิจกรรมเงียบๆได้
 เคลื่อนไหวเหมือนเครื่องยนต์ติดเครื่องอยู่ตลอดเวลา
 พูดมากเกินจาเป็น
 พูดแทรกขณะที่ผู้อื่นกาลังพูด
 รอคอยไม่ได้ ใจร้อน วู่วาม
 มักเข้าไปขัดจังหวะหรือรบกวนผู้อื่น
7
โดยอาการเหล่านี้มักเกิดขึ้นในช่วงอายุไม่เกิน 12 ปี และจะต้องมีอาการในแต่ละด้านอย่างน้อย 6 ข้อ ขึ้นไป โดยมี
อาการนานต่อเนื่อง 6 เดือน และจะต้องมีอาการเกิดขึ้นอย่างน้อย 2 สถานการณ์ เช่น ที่บ้านและที่โรงเรียน อาการ
เด่นชัดมากเกินขอบเขตของพัฒนาการปกติและส่งผลกระทบต่อการเรียน และทักษะทางสังคม
หากสังเกตพฤติกรรมแล้วพบว่าเข้าข่ายสมาธิสั้นควรส่งพบจิตแพทย์ เพื่อประเมินอาการ วินิจฉัยโรคให้แน่ชัด และรับ
การรักษาด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยการใช้ยา การปรับพฤติกรรมโดยที่ผู้ปกครองต้องมีส่วนร่วม ดังนี้
1. จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้มีระเบียบ กาหนดตารางเวลาในการทากิจกรรมต่างๆ ให้ชัดเจน
2. จัดโซนที่สงบ เงียบ ไม่มีทีวี หรือ สิ่งรบกวน ไว้สาหรับมุมทาการบ้านโดยเฉพาะ
3. แบ่งย่อยงานให้เด็กทาทีละน้อย และต้องควบคุมกากับจนเด็กทาสาเร็จ
4. สั่งงานในขณะที่เด็กกาลังตั้งใจฟัง โดยเรียกให้เด็กหันหน้าหรือหยุดฟังก่อนเสมอ
5. สร้างกฎกติกาในสิ่งที่เด็กต้องทาให้ชัดเจน ชื่นชมและให้รางวัลเมื่อเด็กทาเสร็จ
6. ให้โอกาสเด็กได้ใช้พลังงานในการทาประโยชน์ เช่น ช่วยงานบ้าน และชื่นชมทุกครั้งเมื่อเด็กทาได้
7. ติดต่อประสานงานกับคุณครูเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนสม่าเสมอ เช่น ช่วยให้คุณครูควบคุมกากับพฤติกรรม
จัดตาแหน่งการนั่งในชั้นเรียน การช่วยเตือนให้ทานยาในมื้อเที่ยง เป็นต้น
8. พยายามหาข้อดี หรือจุดเด่น และพูดย้าให้เด็กตระหนัก และเห็นคุณค่าในจุดเด่นนั้น และสร้างกาลังใจให้เด็ก
ประพฤติตัวดีต่อไป
9. วิธีการลงโทษไม่ควรใช้วิธีที่รุนแรง แต่ควรใช้วิธีการเสริมแรงทางลบ เช่น ตัดค่าขนม กักบริเวณ เป็นต้น
10. ต้องตระหนักเสมอว่าหัวใจสาคัญของการดูแลเด็กสมาธิสั้น คือ ความรัก ความใกล้ชิด และความผูกพัน
โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder; ADHD) คือ กลุ่มอาการผิดปกติทางพฤติกรรมและ
อารมณ์ โดยผู้ป่วยอาจเริ่มมีอาการตั้งแต่ช่วงอายุ 3-6 ปี อาการจะแสดงออกอย่างชัดเจนและวินิจฉัยได้ในช่วงอายุ 6-
12 ปี
มีสาเหตุเกิดจากความผิดปกติของสมองซึ่งมีผลกระทบต่อพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน และการเข้าสังคมของเด็ก
กลุ่มอาการนี้ประกอบด้วย
 อาการขาดสมาธิ (attention deficit)
 อาการหุนหันพลันแล่น วู่วาม (impulsivity)
 อาการซน อยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity)
8
สาเหตุ
 จากความผิดปกติของสารเคมีบางชนิดในสมอง เช่น โดปามีน (dopamine) นอร์อิพิเนฟริน
(norepinephrine) เป็นต้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างสมาธิ
 จากความผิดปกติในการทางานของวงจรที่ควบคุมสมาธิ และการตื่นตัว ซึ่งอยู่ที่สมองส่วนหน้า (frontal
cortex)
 ปัจจัยด้านพันธุกรรม
 ปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู เป็นต้น
อาการ
ประกอบปัญหา 3 ด้าน คือ
1. สมาธิสั้นหรือขาดสมาธิ (attention deficit)
เด็กจะมีลักษณะวอกแวกง่าย ขาดความตั้งใจในการทางาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานที่ต้องใช้ความคิด เด็กมักจะแสดง
อาการเหม่อลอยบ่อยๆ ฝันกลางวัน ทางานไม่เสร็จ ผลงานมักจะไม่เรียบร้อย ตกๆหล่นๆ ดูเหมือนสะเพร่า ขาดความ
รอบคอบ เด็กมักจะมีลักษณะขี้ลืม ทาของใช้ส่วนตัวหายเป็นประจา มีลักษณะเหมือนไม่ฟังเวลาพูดด้วย เวลาสั่งให้
เด็กทางานอะไรเด็กมักจะลืมทา หรือทาครึ่งๆ กลางๆ อาการขาดสมาธินี้มักจะมีต่อเนื่อง ติดตัวจนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่
2. ซนอยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity)
เด็กจะมีลักษณะซน อยู่ไม่สุข ยุกยิกตลอดเวลา นั่งนิ่งๆ ไม่ค่อยได้ ต้องลุกเดิน หรือขยับตัวไปมา ชอบปีนป่าย เล่น
เสียงดัง เล่นผาดโผน หรือทากิจกรรมที่เสี่ยงอันตราย มักประสบอุบัติเหตุบ่อยๆ จากความซน และความไม่ระมัดระวัง
พูดมาก พูดไม่หยุด ชอบแกล้งหรือแหย่เด็กอื่น
3. หุนหันพลันแล่น (impulsivity)
เด็กจะมีลักษณะวู่วาม ใจร้อน อารมณ์หุนหันพลันแล่น ทาอะไรไปโดยไม่คิดก่อนล่วงหน้าว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นตามมา
ขาดความระมัดระวัง เช่น วิ่งข้ามถนนโดยไม่มองรถดีๆ ซุ่มซ่าม ทาข้าวของแตกหักเสียหาย เวลาต้องการอะไรก็
จะต้องให้ได้ทันที รอคอยอะไรไม่ได้ เวลาอยู่ในห้องเรียนมักจะพูดโพล่งออกมาโดยไม่ขออนุญาตครูก่อน มักตอบ
คาถามโดยที่ฟังคาถามยังไม่ทันจบ ชอบพูดแทรกเวลาที่คนอื่นกาลังคุยกันอยู่ หรือกระโดดเข้าร่วมวงเล่นกับเด็กคนอื่น
โดยไม่ขออนุญาตก่อน
9
การรักษา
มีแนวทางการรักษาที่ต้องใช้ควบคู่กัน ดังนี้
1. การใช้ยาเพิ่มสมาธิ
ปัจจุบันถือเป็นมาตรฐานการรักษา ยาที่ใช้มีความปลอดภัย และมีผลข้างเคียงน้อย สามารถช่วยให้เด็กมีสมาธิดีขึ้น
สงบขึ้น และควบคุมตัวเองได้ดีขึ้น ซึ่งส่งผลให้ การเรียนดีขึ้น ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างดีขึ้น
2. การฝึกฝนการควบคุมตัวเอง
พ่อแม่ควรจัดกิจวัตรประจาวันของเด็ก ให้เป็นไปอย่างสม่าเสมอตามเวลาที่กาหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นเวลาตื่นนอน เวลา
รับประทานอาหาร อาบน้า ไปโรงเรียน ทาการบ้าน หรือเข้านอน นอกจากนี้ควรฝึกฝนให้เด็กมีสมาธิจดจ่ออยู่กับงาน
ที่กาลังทาได้ต่อเนื่อง ประมาณ 20 - 30 นาที โดยเน้นให้เด็กนั่งอยู่กับที่ ทางานจนเสร็จ โดยไม่ลุกเดินไปไหน ซึ่งใน
ช่วงแรกพ่อแม่ควรควบคุมอย่างใกล้ชิด และคอยช่วยเหลือ เพื่อให้เด็กทาได้สาเร็จ เมื่อเด็กทาได้พ่อแม่ต้องให้รางวัล
อาจเป็นคาชม การกอด ทั้งนี้เพื่อเสริมแรงให้เด็กอยากพัฒนาตัวเองต่อไป และเสริมสร้างให้เด็กรู้จักคุณค่าใน
ตัวเอง การลงโทษเด็กด้วยวิธีการที่รุนแรง เช่น การตี การดุด่า ตาหนิ เปรียบเทียบ เป็นสิ่งที่พ่อแม่ไม่ควรทาอย่างยิ่ง
การที่พ่อแม่จะช่วยฝึกฝนเด็กได้นั้นจาเป็นต้อง เข้าใจธรรมชาติของเด็กสมาธิสั้น พ่อแม่ต้องมีความอดทน ให้โอกาส
เด็ก และต้องมีทักษะในการควบคุมอารมณ์ของตนเองเสียก่อน
3. การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนถือว่ามีความสาคัญมาก โดยสิ่งแวดล้อมต้องไม่กระตุ้นเด็กมากจนเกินไป ควรจัดเก็บของเล่น
ต่างๆเข้าที่ ให้พ้นจากสายตาเด็ก โดยใส่ตู้ ลิ้นชัก หรือตะกร้า เพื่อไม่ให้เด็กวอกแวก หรือเปลี่ยนความสนใจง่าย เวลา
ทาการบ้าน ควรจัดมุมที่สงบ ห้องต้องไม่กว้างเกินไป ไม่มีคนเดินไปมาตลอด และไม่ควรเปิดทีวีไปด้วยทาการบ้านไป
ด้วยพร้อมกัน
4. การสื่อสารกับเด็ก
ควรสังเกตว่าเด็กอยู่ในภาวะที่พร้อม หรือมีสมาธิที่จะให้ความสนใจสิ่งที่กาลังจะพูดอยู่หรือไม่ หากสนใจอยู่ ก็สามารถ
พูดกับเด็กโดยใช้คาพูดที่กระชับ ได้ใจความชัดเจนทันที หากเด็กกาลังอยู่ในช่วงเหม่อ วอกแวก หรือไม่ได้สนใจ ควร
เรียกหรือแตะตัวอย่างนุ่มนวลให้เด็กรู้สึกตัว และหันมาสนใจเสียก่อนจึงสื่อกับเด็ก ในบางครั้งเพียงใช้การบอก เรียก
หรืออธิบายอย่างเดียว เด็กอาจไม่ฟังหรือไม่ทาตาม ซึ่งอาจจะต้องเข้าไปหาเด็ก และใช้การกระทาร่วมด้วย เพื่อให้
เด็กมีพฤติกรรมตามที่ ซึ่งวิธีนี้จะเป็นการฝึกให้เด็กรับฟังและปฏิบัติตามผู้ใหญ่ได้ดีขึ้น
10
5. บทบาทครูผู้สอน
 ตาแหน่งโต๊ะเรียนไม่ควรให้เด็กนั่งติดหน้าต่างหรือประตู เพราะเด็กจะวอกแวก เสียสมาธิง่าย ควรให้เด็กนั่ง
แถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู เพื่อคุณครูจะได้สามารถเตือน เรียกสมาธิเด็กได้ และควรจัดให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อย
เล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน
 เมื่อเห็นว่าเด็กหมดสมาธิจริงๆ ควรให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง เช่น ช่วงครึ่งหลังของคาบเรียน
ควรอนุญาตให้เด็กลุกจากที่ได้บ้าง เช่น ให้เด็กช่วยคุณครูลบกระดาน เป็น
ต้น
 กรณีที่เด็กมีสมาธิสั้นมาก สามารถใช้วิธีลดระยะการทางานให้สั้นลง แต่ทาบ่อยกว่าคนอื่น โดยเน้นในเรื่อง
ความรับผิดชอบ และความสามารถในการทางานให้
สาเร็จ
 เมื่อเด็กมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ควรลงโทษรุนแรง แต่ควรห้ามปราม เตือน และสอนอย่างสม่าเสมอ ว่า
พฤติกรรมใดไม่เหมาะสม และพฤติกรรมที่เหมาะสมคืออะไร เปิดโอกาสให้เด็กได้แก้ไขด้วยตนเอง เช่น เก็บของเข้าที่
ใหม่ ชดใช้ของที่เสียหาย
 ในการให้ความช่วยเหลือด้านการเรียน ใช้คาอธิบายง่ายๆ สั้นๆ พอที่เด็กจะเข้าใจ และให้ความสนใจฟังได้
เต็มที่ ซึ่งหากมีการสาธิตตัวอย่างให้เห็นเป็นรูปธรรม จะช่วยให้เด็กเข้าใจได้ง่ายกว่าคาพูดอธิบายอย่างเดียว
6. พยายามมองหาจุดเด่นและความสามารถของเด็กในด้านอื่นๆ
เพื่อส่งเสริมให้เกิดความภาคภูมิใจ เช่น ดนตรี กีฬา หรือศิลปะ หรือส่งเสริมให้เด็กได้มีโอกาสแสดงออกในสิ่งที่ดีๆ เช่น
มีน้าใจช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยคุณครูแจกสมุด ลบกระดาน หรืองานมอบหมายพิเศษอื่นๆ
การรักษาโรคสมาธิสั้น
โรคนี้เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดแต่การรักษาที่เหมาะสมจะช่วยควบคุมอาการของโรคได้ การ
รักษาสาหรับโรคสมาธิสั้นมักจะต้องรวมถึงการรับประทานยา มียาหลายประเภทที่สามารถใช้รักษาขึ้นกับอาการของ
ผู้ป่วย นอกจากการใช้ยาแล้วนั้น ผู้ป่วยที่เป็นโรคสมาธิสั้นอาจได้รับประโยชน์จากการเข้ารับคาแนะนาในการปรับปรุง
พฤติกรรมและทักษะการเข้าสังคม พ่อแม่และสมาชิกในครอบครัวคนอื่นๆ ยังอาจเข้าร่วมในการรับคาแนะนานี้เพื่อ
ช่วยสร้างวิธีในการจัดการกับสถานการณ์ที่อาจเป็นปัญหาได้ และถึงแม้ว่าโรคนี้จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่
การรักษาที่เหมาะสมจะช่วยควบคุมหรือลดอาการได้ ซึ่งมักจะนาไปสู่พฤติกรรมที่ดีขึ้นที่โรงเรียนหรือที่ทางาน และ
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
11
ยากระตุ้นประสาทกับโรคสมาธิสั้น
ยากระตุ้นประสาทจัดเป็นยาที่สั่งจ่ายเพื่อรักษาโรคสมาธิสั้นบ่อยที่สุดและมีการใช้มานานกว่า 50 ปีแล้ว ยาก
ลุ่มนี้มีผลช่วยทาให้เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นสงบลงและออกฤทธิ์ได้นาน 4-12 ชั่วโมง ยากลุ่มนี้อาจมีผลข้างเคียง เช่น
ปวดท้อง กระสับกระส่าย เบื่ออาหาร และนอนไม่หลับได้ ยากระตุ้นประสาทบางตัวยังเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด
ปัญหาทางโรคหัวใจหรือทางจิตเวชเพิ่มขึ้น ยามีทั้งในรูปแบบเม็ด แคปซูล น้า หรือแผ่นแปะผิวหนัง ยากระตุ้น
ประสาทที่ใช้ในการรักษาโรคสมาธิสั้นบ่อย ประกอบด้วย
 Adderall (amphetamine)
 Ritalin (methylphenidate)
 Concerta (methylphenidate)
 Focalin (dexmethylphenidate)
 Daytrana (methylphenidate patch)
 Metadate (methylphenidate)
 Methylin (methylphenidate)
 Dexedrine (dextroamphetamine)
 DextroStat (dextroamphetamine)
 Vyvanse (lisdexamfetamine dimesylate)
ยากลุ่มที่ไม่ได้กระตุ้นประสาทที่ใช้ในการรักษาโรคสมาธิสั้น
ยาประเภทนี้อาจใช้ร่วมกันหรือใช้เป็นทางเลือกของการใช้ยากลุ่มกระตุ้นประสาทได้ ยาตัวแรกในกลุ่มนี้ที่ใช้
ในการรักษาโรคสมาธิสั้นได้รับการอนุมัติเมื่อปี ค.ศ. 2003 ยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงน้อยกว่ายากลุ่มกระตุ้นประสาทและ
สามารถออกฤทธิ์ได้นานถึง 24 ชั่วโมง ยาที่ใช้บ่อย ประกอบด้วย
 Strattera (atomoxetine)
 Intuniv (guanfacine)
ยา Strattera เป็นยาที่ต้องระมัดระวังในการใช้เนื่องจากมีการศึกษาที่พบว่าเด็กและวัยรุ่นที่รับประทานยานี้จะมี
โอกาสมีความคิดทีจะฆ่าตัวตายได้มากกว่าปกติ
12
ยาต้านเศร้ากับการรักษาโรคสมาธิสั้น
ในบางครั้งก็มีการใช้ยาต้านเศร้าในการรักษาโรคสมาธิสั้น องค์การอาหารและยาได้ออกประกาศเตือนเรื่อง
การใช้ยาต้านเศร้าในเด็กและวัยรุ่นเมื่อปี ค.ศ. 2004 ว่าอาจเพิ่มความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายได้ ยาต้านเศร้าที่ใช้ใน
การรักษาโรคสมาธิสั้น ประกอบด้วย
 Wellbutrin (bupropion)
 Tofranil (imipramine)
 Aventyl (nortriptyline)
 Norpramin (desipramine)
การให้คาแนะนาในผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
เด็กและผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นอาจได้รับประโยชน์จากการเข้ารับคาแนะนา รูปแบบการให้คาแนะนาที่ใช้บ่อย
ประกอบด้วย
 การบาบัดพฤติกรรม : เป็นรูปแบบหนึ่งของการให้คาแนะนาที่จะให้เด็กหรือผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นได้
เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่ยากลาบาก
 การทาจิตบาบัด : การรักษาชนิดนี้เป็นการให้เด็กและผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นได้พูดคุยกับนักจิตวิทยาหรือ
จิตแพทย์เกี่ยวกับปัญหาของตัวเองและเรียนรู้วิธีการในการจัดการกับอาการของตน
 การทา family therapy : การบาบัดรูปแบบนี้ช่วยให้พ่อแม่ คู่สมรส หรือพี่น้องจัดการกับความเครียดในการ
อาศัยอยู่กับผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 การอบรมทักษะการเลี้ยงลูก : การรักษาประเภทนี้ช่วยให้พ่อแม่มีวิธีในการอบรมพฤติกรรมสาหรับเด็ก
 การอบรมทักษะทางสังคม : การอบรมประเภทนี้ช่วยให้เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นเรียนรู้พฤติกรรมในสังคมที่
เหมาะสม
การรักษาแบบง่ายๆ ที่บ้านและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
การเปลี่ยนแปลงวิธีการใช้ชีวิตที่บ้านอาจช่วยสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นให้กับเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้น การเปลี่ยนแปลงนี้
อาจประกอบด้วย
 จัดตารางการกินอาหาร การนอนพักผ่อน และเวลาเข้านอน
 จัดบริเวณต่างๆ ภายในบ้านให้เรียบร้อยและไม่ระเกะระกะ
 หลีกเลี่ยงสิ่งดึงดูดความสนใจต่างๆ (เช่น โทรทัศน์และโทรศัพท์มือถือ)
13
 ใช้คาง่ายๆ การมองตา และคาสั่งที่ชัดเจนเวลาต้องการให้เด็กทาอะไร
 หาวิธีในการสร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก (เช่น การเล่นกีฬาหรือกิจกรรมนอกห้องเรียนอื่นๆ )
 หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการของโรคได้
 แสดงความรักอย่างสม่าเสมอ
 ใช้วิธี time-outs หรือวิธีอื่นๆ ในการอบรมระเบียบวินัย
การรักษาตามธรรมชาติในโรคสมาธิสั้น
บางคนเชื่อว่าการแพทย์ทางเลือกสามารถช่วยทาให้อาการของโรคสมาธิสั้นดีขึ้นได้ แม้ว่ามีการระบุว่าวิธ๊การรักษาบาง
ประเภทอาจช่วยได้ แต่ก็ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ไม่เพียงพอ ก่อนที่จะเริ่มใช้การรักษาในรูปแบบใด ควรปรึกษา
แพทย์ก่อนเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าเป็นวิธีที่ปลอดภัย ทางเลือกในการรักษาโรคสมาธิสั้น ประกอบด้วย
 การรับประทานอาหาร : มีการกาจัดการรับประทานน้าตาล ข้าวสาลี นม ไข่ สีผสมอาหาร หรือสารผสมใน
อาหารเพื่อช่วยลดอาการของโรคสมาธิสั้น แต่ยังไม่มีงานวิจัยที่มากพอที่จะแสดงว่าการหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว
สามารถช่วยให้อาการของโรคดีขึ้นได้จริง
 วิตามิน เกลือแร่ หรือสมุนไพรเสริม : บางคนเชื่อว่าวิตามินบางอย่างสามารถช่วยลดอาการของโรคได้ แต่ไม่มี
หลักฐานยืนยันว่าการรับประทานวิตามิน เกลือแร่ หรือสมุนไพรเสริมนั้นมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคและการ
รับประทานวิตามินในปริมาณที่มากเกินไปอาจกลายเป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นก็ยังคงมีคาถามเกี่ยวกับเรื่อง
ความปลอดภัยของการรับประทานสมุนไพรเสริม
 กรดไขมันที่จาเป็น : บางคนเชื่อว่าการรับประทานกรดไขมัน omega-3 เช่นที่พบในน้ามันปลานั้นจะสามารถ
ช่วยลดอาการของโรคโดยการช่วยให้สมองทางานได้อย่างเหมาะสม นักวิจัยยังคงศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่ากรด
ไขมันสามารถช่วยเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นได้จริงหรือไม่
 การเล่นโยคะหรือการทาสมาธิ : การเล่นโยคะหรือทาสมาธิอย่างสม่าเสมอมักใช้เพื่อให้เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้น
ผ่อนคลายและสร้างระเบียบวินัยในตนเอง
 Neurofeedback : การรักษานี้เป็นกรให้เด็กพุ่งเป้าความสนใจไปที่กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งขณะที่มีการติด
อุปกรณ์ที่ดูการทางานของคลื่นสมอง
ยังคงต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับการรักษาด้วยวิธีนี้เพื่อพิจารณาว่าสามารถใช้ในการรักษาโรคสมาธิสั้นได้หรือไม่
14
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ออกแบบการสารวจเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น
2.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น
3.หาวิธีแก้ปัญหาว่ามีแนวทางไหนบ้าง
4.ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาที่หามา
5.สรุปผลเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหา
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.อินเทอร์เน็ต
2.คอมพิวเตอร์
3.โทรศัพท์
4.แบบสารวจ
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
นาผลที่ได้จากการศึกษาเผยแพร่ข้อมูลปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการแก้ปัญหาเพื่อทาให้ประชาชนใน
ชุมชนเข้าใจถึง ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและวิธีการแก้ปัญหามากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
15
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.honestdocs.co/adhd
http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Spe_Ed/Yuwana_K.pdf
https://www.pobpad.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%
B8%AA%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99

More Related Content

What's hot

2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
waralee29
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Phimwaree
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
ssuser5d7fc5
 

What's hot (9)

2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
computer1byjuju
computer1byjujucomputer1byjuju
computer1byjuju
 

Similar to Tuangtham Sura M.6/9 No.37

Similar to Tuangtham Sura M.6/9 No.37 (20)

Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงานกิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
กิจกรรมที่ 1 โครงร่างโครงงาน
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
2561 project 37
2561 project 37  2561 project 37
2561 project 37
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
Anorexia
AnorexiaAnorexia
Anorexia
 
Addictsocial
AddictsocialAddictsocial
Addictsocial
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Tuangtham Sura M.6/9 No.37

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ปัญหาเด็กสมาธิสั้น ชื่อผู้ทาโครงงาน นส.ตวงธรรม สุระ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นส.ตวงธรรม สุระ เลขที่ 37 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาเด็กสมาธิสั้นจากสภาพแวดล้อมและการใช้ไอที ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Attention Deficit Hyperactivity Disorder (ADHD) ประเภทโครงงาน การศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ตวงธรรม สุระ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากสถานการณ์และปัญหาของเด็กและเยาวชนไทยขณะนี้กาลังเผชิญกับความเสี่ยงมากมายอันเกิดจากสังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมอันตรายที่ล้อมรอบตัวเด็กแรงผลักดันที่ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงมาจากการพัฒนาด้านไอซี ที ดิจิตอลต่างๆเช่นโทรศัพท์มือถืออินเทอร์เน็ต เกมออนไลน์มีเด็กและเยาวชนใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเล่นเกม ออนไลน์ แนวโน้มของการใช้โทรศัพท์มือถือ การเล่นเกมและการใช้อินเทอร์เน็ตเข้ามาแทนที่ในกิจกรรมต่างๆของเด็ก ยุคปัจจุบันทาให้เกิดช่องว่างระหว่างผู้ใหญ่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์กับเด็ก ปัจจุบันผู้ปกครองหลายคนประสบปัญหา ลูกมีพฤติกรรมอารมณ์ก้าวร้าว อยู่ไม่นิ่ง สมาธิสั้น ติดโทรศัพท์มือถือ ติดเกมผู้ปกครองเด็กส่วนใหญ่มักให้ความสาคัญ กับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย เช่นรูปร่าง น้าหนัก ส่วนสูง และปล่อยให้พัฒนาการของเด็ก เกิดขึ้นเองตามวัยแต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสาคัญต่อการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนากรเด็กแล้ว เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดู โดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครอง ควรทาในชีวิตประจาวันของเด็ก รวมถึงการติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยไม่ว่าด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้ สิ่งต่างๆเหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมี คุณภาพต่อไปดังนั้นผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนาและส่งเสริมเด็กในทางที่ถูกต้องเหมาะสมและเป็นการ ป้องกันไม่ให้เด็กมีความเสี่ยงในการเป็นโรคสมาธิสั้น
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศีกษาปัญหาของเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นว่ามีสาเหตุเกิดจากอะไรบ้าง 2.เพื่อหาแนวทางป้องกันและลดความเสี่ยงของเด็กจากโรคสมาธิสั้น ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ศึกษาปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและวิธีการแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคสมาธิสั้น (ADHD) โรคสมาธิสั้น (Attention deficit hyperactivity disorder หรือ ADHD) เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่ หุนหันพลันแล่น ไม่มีสมาธิ และซน โรคนี้มักวินิจฉัยในเด็กแต่อาการของโรคยังสามารถคงอยู่ได้จนเข้าสู่ช่วงวัยรุ่นและ วัยผู้ใหญ่ได้ การรักษาที่เหมาะสมจะทาให้เด็กที่เป็นโรคนี้สามารถมีชีวิตที่ประสบความสาเร็จ ADHD vs. ADDAttention deficit disorder (ADD) เป็นชื่อโรคเดิมของโรคสมาธิสั้นในปัจจุบัน โดยชื่อ ADD นั้นได้ ใช้ต่อเนื่องมาจถึงปี ค.ศ. 1987 ก่อนที่จะมีการเพิ่มคาว่า hyperactivity เข้าไป ตามที่ระบุไว้ใน Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders ในปัจจุบันยังมีการใช้คาว่า ADD และ ADHD ในความหมายเดียวกัน หรือบางคนอาจเรียกเด็กที่มีปัญหาเฉพาะด้านสมาธิแต่ไม่ซนว่าเป็นกลุ่ม ADD แต่ผู้เชี่ยวชาญส่วนมากเห็นด้วยว่าคาว่า ADD ถือเป็นคาที่ล้าสมัยไปแล้วและการใช้คานี้เป็นการะบุถึงโรคที่อาจทาให้เกิดความสับสนได้ เพราะว่าโรค ADHD ก็ มีประเภทย่อยต่างๆ ที่สามารถอธิบายแต่ละภาวะได้อยู่แล้ว ประเภทของโรคสมาธิสั้น โรคนี้สามารถบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทย่อยๆ คือ  กลุ่มที่มีอาการซนและหุนหันพลันแล่นเด่น : เด็กกลุ่มนี้มักมีปัญหากับเรื่องซนและหุนหันพลันแล่นเป็นส่วน ใหญ่ แต่ก็อาจจะมีอาการของการขาดสมาธิบางอย่างได้  กลุ่มที่มีอาการสมาธิสั้นเด่น : เด็กกลุ่มนี้มีอาการทางด้านของสมาธิเด่น แต่ก็อาจมีบางอาการของอาการซน และหุนหันพลันแล่นได้เช่นกัน กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่เคยเรียกว่า ADD  กลุ่มที่มีอาการด้านซนและหุนหันพลันแล่นร่วมกับสมาธิสั้น : เด็กกลุ่มนี้มีอาการทั้งซน หุนหันพลันแล่น และ สมาธิสั้น
  • 4. 4 โรคสมาธิสั้นในผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้นพบได้ในประชากรผู้ใหญ่ประมาณ 4% ในประเทศสหรัฐอเมริกา อ้างอิงจาก สถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติ (National Institute of Mental Health หรือ NIMH) ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคนี้ทุกคนมีอาการ ตั้งแต่เด็ก แต่อาจจะไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคสมาธิสั้น ในผู้ใหญ่สามารถก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านความสัมพันธ์ การ ทางาน และความเชื่อมั่นในตนเอง ผู้ป่วยโรคนี้หลายคนไม่รู้ว่าตนเองมีภาวะนี้ พวกเขาอาจรู้แค่ว่าสิ่งต่างๆ ที่ต้องทาในแต่ละวันนั้นเป็นเรื่องที่ลาบากและ ท้าทาย บางคนอาจสังเกตว่าอาการของตนเองค่อยๆ ดีขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น ในขณะที่อีกหลายคนยังคงมีอาการอยู่ ต่อเนื่อง ผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคนี้มากกว่า 75% จะยังมีอาการต่อเนื่องเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ อ้างอิงจาก องค์การ CHADD (Children and Adults with Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder) โรคสมาธิสั้นในเด็ก CHADD กล่าวว่าโรคนี้พบได้ประมาณ 11% ของเด็กวัยเรียนและพบในเด็กผู้ชายมากกว่าเด็กหญิงถึงสี่เท่า เด็กที่มี ภาวะนี้มักมีอาการที่ทาให้เกิดปัญหาทั้งในที่บ้าน โรงเรียน หรือในสังคม พ่อแม่และครูมักเข้าใจผิดว่าอาการของโรคนี้ เป็นอาการจากปัญหาทางด้านอารมณ์หรือพฤติกรรม สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง ผู้เชี่ยวชาญยังคงไม่แน่ใจว่าโรคนี้เกิดจากอะไร ปัจจัยที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคสมาธิสั้นในเด็ก ประกอบด้วย  พันธุกรรม (โรคนี้มีการถ่ายทอดในครอบครัว) แม้ว่าจะยังไม่สามารถระบุ gene ที่ชัดเจนได้  การสัมผัสสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะตะกั่ว  การใช้แอลกอฮอล์หรือการสูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์  การเกิดอันตรายต่อสมอง  การคลอดก่อนกาหนดหรือน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ นอกจากนั้นยังมีความเชื่อที่ได้รับความนิยมหลายอย่าง เช่น การรับประทานน้าตาลมากเกินไป การเลี้ยงดูที่ไม่ดี หรือ การดูโทรทัศน์มากเกินไปจะทาให้เป็นโรคสมาธิสั้น ซึ่งแม้ว่าปัจจัยเหล่านี้จะส่งผลต่ออาการของเด็ก แต่งานวิจัยไม่ได้ สนับสนุนว่าปัจจัยเหล่านี้จะทาให้เกิดความผิดปกติขึ้น
  • 5. 5 ภาวะแทรกซ้อนของโรคสมาธิสั้น หากไม่ได้รับการรักษา โรคนี้อาจทาให้เกิดปัญหาแทรกซ้อนตามมาได้ เช่น  ล้มเหลวทางการศึกษา  มีความเชื่อมั่นในตนเองต่า  เกิดอุบัติเหตุและได้รับบาดเจ็บ  การติดแอลกอฮอล์หรือยา  พฤติกรรมที่ผิดกฏหมาย  ปัญหาในการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน โรคที่สามารถเกิดร่วมกันได้ เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นยังอาจมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคอื่นร่วมด้วย เช่น  โรควิตกกังวล  ความบกพร่องทางการเรียนรู้  โรคซึมเศร้า  โรคสองขั้ว (ภาวะที่มีอาการทั้งซึมเศร้าและ mania)  โรคดื้อ (Oppositional defiant disorder หรือ ODD) เป็นโรคที่มีอาการต่อต้านกฎระเบียบทุกรูปแบบ  โรคเกเร (Conduct disorder) เป็นโรคที่มีพฤติกรรมเช่นการโกหก ขโมยของ ต่อสู้ หรือล้อเลียนผู้อื่น  Tourette syndrome เป็นกลุ่มอาการความผิดปกติทางระบบประสาทที่จะมีพฤติกรรมซ้าๆ โดยไม่ได้ตั้งใจ  ปัญหาทางการนอนหลับ  ปัสสาวะรดที่นอน จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกเป็นเด็กสมาธิสั้น เมื่อเอ่ยถึงโรคสมาธิสั้น หลายคนมักนึกถึงภาพของเด็กซน เด็กเกเร ก้าวร้าว ต่อต้าน มองเด็กสมาธิสั้นคือเด็กที่ไม่ น่ารัก เด็กดื้อ เด็กไม่ดี แต่ในความเป็นจริงเด็กสมาธิสั้นเขาไม่ได้อยากมีสภาพแย่ๆ อย่างที่ทุกคนตราหน้า แต่มัน เป็นความผิดปกติของสารสื่อนาประสาทในสมอง หากพวกเขาได้รับการรักษาหรือพัฒนาตามกระบวนการที่เหมาะสม เชื่อว่าเด็กสมาธิสั้นเหล่านี้จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพได้ไม่แพ้คนปกติทั่วไป
  • 6. 6 ประเด็นสาคัญที่ทาให้เด็กกลุ่มนี้เข้าสู่กระบวนการรักษาที่ล่าช้า หรือ ไม่ได้รับการรักษาเลยนั้น มักมาจากมุมมองหรือ เป็นความเข้าใจผิดของผู้ปกครองที่มักคิดว่าเด็กดื้อ ซน ไปตามวัย โตขึ้นจะหายได้เอง จนทาให้เด็กต้องมีความ ยากลาบากในการปรับตัวหลายๆด้าน เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีปัญหาในที่สุด จะดีไม่น้อยหากผู้ปกครองสามารถประเมิน อาการของโรคสมาธิสั้น หรือสามารถแยกโรคสมาธิสั้นออกจาก ความดื้อ ซน ที่เป็นปกติของวัยเด็กการประเมินทาได้ โดยการสังเกตพฤติกรรม ดังนี้ 1. อาการด้านขาดสมาธิ (Inattention)  สะเพร่า ไม่รอบคอบ  ไม่มีสมาธิจดจ่อในการทาสิ่งต่างๆได้นาน  วอกแวกง่ายเมื่อมีสิ่งเร้าภายนอก  มักจะดูเหม่อลอยเหมือนไม่ฟังในสิ่งที่คนอื่นพูด  มักจะทาตามคาสั่งไม่ครบ และ ทางานไม่สาเร็จ  ไม่สามารถวางแผน บริหารจัดการงานได้  หลีกเลี่ยงงานที่ต้องอาศัยความอดทนมากๆ  ขี้ลืม ทาของหายบ่อย  มักจะลืมทากิจวัตรประจาวัน เช่น ลืมนัด ลืมทางานบ้าน 2. อาการไม่นิ่ง ซน หุนหันพลันแล่น (Hyperactive and Impulsive)  ยุกยิก ไม่นิ่ง ขยับตัว ขยับแขนขาตลอดเวลา  นั่งอยู่กับที่ได้ไม่นาน ต้องลุกบ่อยๆ  มักจะวิ่งหรือปีนป่ายในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม  ไม่สามารถเล่น หรือ ทากิจกรรมเงียบๆได้  เคลื่อนไหวเหมือนเครื่องยนต์ติดเครื่องอยู่ตลอดเวลา  พูดมากเกินจาเป็น  พูดแทรกขณะที่ผู้อื่นกาลังพูด  รอคอยไม่ได้ ใจร้อน วู่วาม  มักเข้าไปขัดจังหวะหรือรบกวนผู้อื่น
  • 7. 7 โดยอาการเหล่านี้มักเกิดขึ้นในช่วงอายุไม่เกิน 12 ปี และจะต้องมีอาการในแต่ละด้านอย่างน้อย 6 ข้อ ขึ้นไป โดยมี อาการนานต่อเนื่อง 6 เดือน และจะต้องมีอาการเกิดขึ้นอย่างน้อย 2 สถานการณ์ เช่น ที่บ้านและที่โรงเรียน อาการ เด่นชัดมากเกินขอบเขตของพัฒนาการปกติและส่งผลกระทบต่อการเรียน และทักษะทางสังคม หากสังเกตพฤติกรรมแล้วพบว่าเข้าข่ายสมาธิสั้นควรส่งพบจิตแพทย์ เพื่อประเมินอาการ วินิจฉัยโรคให้แน่ชัด และรับ การรักษาด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยการใช้ยา การปรับพฤติกรรมโดยที่ผู้ปกครองต้องมีส่วนร่วม ดังนี้ 1. จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้มีระเบียบ กาหนดตารางเวลาในการทากิจกรรมต่างๆ ให้ชัดเจน 2. จัดโซนที่สงบ เงียบ ไม่มีทีวี หรือ สิ่งรบกวน ไว้สาหรับมุมทาการบ้านโดยเฉพาะ 3. แบ่งย่อยงานให้เด็กทาทีละน้อย และต้องควบคุมกากับจนเด็กทาสาเร็จ 4. สั่งงานในขณะที่เด็กกาลังตั้งใจฟัง โดยเรียกให้เด็กหันหน้าหรือหยุดฟังก่อนเสมอ 5. สร้างกฎกติกาในสิ่งที่เด็กต้องทาให้ชัดเจน ชื่นชมและให้รางวัลเมื่อเด็กทาเสร็จ 6. ให้โอกาสเด็กได้ใช้พลังงานในการทาประโยชน์ เช่น ช่วยงานบ้าน และชื่นชมทุกครั้งเมื่อเด็กทาได้ 7. ติดต่อประสานงานกับคุณครูเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนสม่าเสมอ เช่น ช่วยให้คุณครูควบคุมกากับพฤติกรรม จัดตาแหน่งการนั่งในชั้นเรียน การช่วยเตือนให้ทานยาในมื้อเที่ยง เป็นต้น 8. พยายามหาข้อดี หรือจุดเด่น และพูดย้าให้เด็กตระหนัก และเห็นคุณค่าในจุดเด่นนั้น และสร้างกาลังใจให้เด็ก ประพฤติตัวดีต่อไป 9. วิธีการลงโทษไม่ควรใช้วิธีที่รุนแรง แต่ควรใช้วิธีการเสริมแรงทางลบ เช่น ตัดค่าขนม กักบริเวณ เป็นต้น 10. ต้องตระหนักเสมอว่าหัวใจสาคัญของการดูแลเด็กสมาธิสั้น คือ ความรัก ความใกล้ชิด และความผูกพัน โรคสมาธิสั้น (Attention Deficit Hyperactivity Disorder; ADHD) คือ กลุ่มอาการผิดปกติทางพฤติกรรมและ อารมณ์ โดยผู้ป่วยอาจเริ่มมีอาการตั้งแต่ช่วงอายุ 3-6 ปี อาการจะแสดงออกอย่างชัดเจนและวินิจฉัยได้ในช่วงอายุ 6- 12 ปี มีสาเหตุเกิดจากความผิดปกติของสมองซึ่งมีผลกระทบต่อพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน และการเข้าสังคมของเด็ก กลุ่มอาการนี้ประกอบด้วย  อาการขาดสมาธิ (attention deficit)  อาการหุนหันพลันแล่น วู่วาม (impulsivity)  อาการซน อยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity)
  • 8. 8 สาเหตุ  จากความผิดปกติของสารเคมีบางชนิดในสมอง เช่น โดปามีน (dopamine) นอร์อิพิเนฟริน (norepinephrine) เป็นต้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างสมาธิ  จากความผิดปกติในการทางานของวงจรที่ควบคุมสมาธิ และการตื่นตัว ซึ่งอยู่ที่สมองส่วนหน้า (frontal cortex)  ปัจจัยด้านพันธุกรรม  ปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู เป็นต้น อาการ ประกอบปัญหา 3 ด้าน คือ 1. สมาธิสั้นหรือขาดสมาธิ (attention deficit) เด็กจะมีลักษณะวอกแวกง่าย ขาดความตั้งใจในการทางาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานที่ต้องใช้ความคิด เด็กมักจะแสดง อาการเหม่อลอยบ่อยๆ ฝันกลางวัน ทางานไม่เสร็จ ผลงานมักจะไม่เรียบร้อย ตกๆหล่นๆ ดูเหมือนสะเพร่า ขาดความ รอบคอบ เด็กมักจะมีลักษณะขี้ลืม ทาของใช้ส่วนตัวหายเป็นประจา มีลักษณะเหมือนไม่ฟังเวลาพูดด้วย เวลาสั่งให้ เด็กทางานอะไรเด็กมักจะลืมทา หรือทาครึ่งๆ กลางๆ อาการขาดสมาธินี้มักจะมีต่อเนื่อง ติดตัวจนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่ 2. ซนอยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity) เด็กจะมีลักษณะซน อยู่ไม่สุข ยุกยิกตลอดเวลา นั่งนิ่งๆ ไม่ค่อยได้ ต้องลุกเดิน หรือขยับตัวไปมา ชอบปีนป่าย เล่น เสียงดัง เล่นผาดโผน หรือทากิจกรรมที่เสี่ยงอันตราย มักประสบอุบัติเหตุบ่อยๆ จากความซน และความไม่ระมัดระวัง พูดมาก พูดไม่หยุด ชอบแกล้งหรือแหย่เด็กอื่น 3. หุนหันพลันแล่น (impulsivity) เด็กจะมีลักษณะวู่วาม ใจร้อน อารมณ์หุนหันพลันแล่น ทาอะไรไปโดยไม่คิดก่อนล่วงหน้าว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นตามมา ขาดความระมัดระวัง เช่น วิ่งข้ามถนนโดยไม่มองรถดีๆ ซุ่มซ่าม ทาข้าวของแตกหักเสียหาย เวลาต้องการอะไรก็ จะต้องให้ได้ทันที รอคอยอะไรไม่ได้ เวลาอยู่ในห้องเรียนมักจะพูดโพล่งออกมาโดยไม่ขออนุญาตครูก่อน มักตอบ คาถามโดยที่ฟังคาถามยังไม่ทันจบ ชอบพูดแทรกเวลาที่คนอื่นกาลังคุยกันอยู่ หรือกระโดดเข้าร่วมวงเล่นกับเด็กคนอื่น โดยไม่ขออนุญาตก่อน
  • 9. 9 การรักษา มีแนวทางการรักษาที่ต้องใช้ควบคู่กัน ดังนี้ 1. การใช้ยาเพิ่มสมาธิ ปัจจุบันถือเป็นมาตรฐานการรักษา ยาที่ใช้มีความปลอดภัย และมีผลข้างเคียงน้อย สามารถช่วยให้เด็กมีสมาธิดีขึ้น สงบขึ้น และควบคุมตัวเองได้ดีขึ้น ซึ่งส่งผลให้ การเรียนดีขึ้น ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างดีขึ้น 2. การฝึกฝนการควบคุมตัวเอง พ่อแม่ควรจัดกิจวัตรประจาวันของเด็ก ให้เป็นไปอย่างสม่าเสมอตามเวลาที่กาหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นเวลาตื่นนอน เวลา รับประทานอาหาร อาบน้า ไปโรงเรียน ทาการบ้าน หรือเข้านอน นอกจากนี้ควรฝึกฝนให้เด็กมีสมาธิจดจ่ออยู่กับงาน ที่กาลังทาได้ต่อเนื่อง ประมาณ 20 - 30 นาที โดยเน้นให้เด็กนั่งอยู่กับที่ ทางานจนเสร็จ โดยไม่ลุกเดินไปไหน ซึ่งใน ช่วงแรกพ่อแม่ควรควบคุมอย่างใกล้ชิด และคอยช่วยเหลือ เพื่อให้เด็กทาได้สาเร็จ เมื่อเด็กทาได้พ่อแม่ต้องให้รางวัล อาจเป็นคาชม การกอด ทั้งนี้เพื่อเสริมแรงให้เด็กอยากพัฒนาตัวเองต่อไป และเสริมสร้างให้เด็กรู้จักคุณค่าใน ตัวเอง การลงโทษเด็กด้วยวิธีการที่รุนแรง เช่น การตี การดุด่า ตาหนิ เปรียบเทียบ เป็นสิ่งที่พ่อแม่ไม่ควรทาอย่างยิ่ง การที่พ่อแม่จะช่วยฝึกฝนเด็กได้นั้นจาเป็นต้อง เข้าใจธรรมชาติของเด็กสมาธิสั้น พ่อแม่ต้องมีความอดทน ให้โอกาส เด็ก และต้องมีทักษะในการควบคุมอารมณ์ของตนเองเสียก่อน 3. การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนถือว่ามีความสาคัญมาก โดยสิ่งแวดล้อมต้องไม่กระตุ้นเด็กมากจนเกินไป ควรจัดเก็บของเล่น ต่างๆเข้าที่ ให้พ้นจากสายตาเด็ก โดยใส่ตู้ ลิ้นชัก หรือตะกร้า เพื่อไม่ให้เด็กวอกแวก หรือเปลี่ยนความสนใจง่าย เวลา ทาการบ้าน ควรจัดมุมที่สงบ ห้องต้องไม่กว้างเกินไป ไม่มีคนเดินไปมาตลอด และไม่ควรเปิดทีวีไปด้วยทาการบ้านไป ด้วยพร้อมกัน 4. การสื่อสารกับเด็ก ควรสังเกตว่าเด็กอยู่ในภาวะที่พร้อม หรือมีสมาธิที่จะให้ความสนใจสิ่งที่กาลังจะพูดอยู่หรือไม่ หากสนใจอยู่ ก็สามารถ พูดกับเด็กโดยใช้คาพูดที่กระชับ ได้ใจความชัดเจนทันที หากเด็กกาลังอยู่ในช่วงเหม่อ วอกแวก หรือไม่ได้สนใจ ควร เรียกหรือแตะตัวอย่างนุ่มนวลให้เด็กรู้สึกตัว และหันมาสนใจเสียก่อนจึงสื่อกับเด็ก ในบางครั้งเพียงใช้การบอก เรียก หรืออธิบายอย่างเดียว เด็กอาจไม่ฟังหรือไม่ทาตาม ซึ่งอาจจะต้องเข้าไปหาเด็ก และใช้การกระทาร่วมด้วย เพื่อให้ เด็กมีพฤติกรรมตามที่ ซึ่งวิธีนี้จะเป็นการฝึกให้เด็กรับฟังและปฏิบัติตามผู้ใหญ่ได้ดีขึ้น
  • 10. 10 5. บทบาทครูผู้สอน  ตาแหน่งโต๊ะเรียนไม่ควรให้เด็กนั่งติดหน้าต่างหรือประตู เพราะเด็กจะวอกแวก เสียสมาธิง่าย ควรให้เด็กนั่ง แถวหน้าสุดใกล้โต๊ะครู เพื่อคุณครูจะได้สามารถเตือน เรียกสมาธิเด็กได้ และควรจัดให้เด็กนั่งติดกับนักเรียนที่ไม่ค่อย เล่น ไม่ค่อยคุยในระหว่างเรียน  เมื่อเห็นว่าเด็กหมดสมาธิจริงๆ ควรให้เด็กมีกิจกรรม เปลี่ยนอิริยาบถบ้าง เช่น ช่วงครึ่งหลังของคาบเรียน ควรอนุญาตให้เด็กลุกจากที่ได้บ้าง เช่น ให้เด็กช่วยคุณครูลบกระดาน เป็น ต้น  กรณีที่เด็กมีสมาธิสั้นมาก สามารถใช้วิธีลดระยะการทางานให้สั้นลง แต่ทาบ่อยกว่าคนอื่น โดยเน้นในเรื่อง ความรับผิดชอบ และความสามารถในการทางานให้ สาเร็จ  เมื่อเด็กมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ควรลงโทษรุนแรง แต่ควรห้ามปราม เตือน และสอนอย่างสม่าเสมอ ว่า พฤติกรรมใดไม่เหมาะสม และพฤติกรรมที่เหมาะสมคืออะไร เปิดโอกาสให้เด็กได้แก้ไขด้วยตนเอง เช่น เก็บของเข้าที่ ใหม่ ชดใช้ของที่เสียหาย  ในการให้ความช่วยเหลือด้านการเรียน ใช้คาอธิบายง่ายๆ สั้นๆ พอที่เด็กจะเข้าใจ และให้ความสนใจฟังได้ เต็มที่ ซึ่งหากมีการสาธิตตัวอย่างให้เห็นเป็นรูปธรรม จะช่วยให้เด็กเข้าใจได้ง่ายกว่าคาพูดอธิบายอย่างเดียว 6. พยายามมองหาจุดเด่นและความสามารถของเด็กในด้านอื่นๆ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความภาคภูมิใจ เช่น ดนตรี กีฬา หรือศิลปะ หรือส่งเสริมให้เด็กได้มีโอกาสแสดงออกในสิ่งที่ดีๆ เช่น มีน้าใจช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยคุณครูแจกสมุด ลบกระดาน หรืองานมอบหมายพิเศษอื่นๆ การรักษาโรคสมาธิสั้น โรคนี้เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดแต่การรักษาที่เหมาะสมจะช่วยควบคุมอาการของโรคได้ การ รักษาสาหรับโรคสมาธิสั้นมักจะต้องรวมถึงการรับประทานยา มียาหลายประเภทที่สามารถใช้รักษาขึ้นกับอาการของ ผู้ป่วย นอกจากการใช้ยาแล้วนั้น ผู้ป่วยที่เป็นโรคสมาธิสั้นอาจได้รับประโยชน์จากการเข้ารับคาแนะนาในการปรับปรุง พฤติกรรมและทักษะการเข้าสังคม พ่อแม่และสมาชิกในครอบครัวคนอื่นๆ ยังอาจเข้าร่วมในการรับคาแนะนานี้เพื่อ ช่วยสร้างวิธีในการจัดการกับสถานการณ์ที่อาจเป็นปัญหาได้ และถึงแม้ว่าโรคนี้จะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ การรักษาที่เหมาะสมจะช่วยควบคุมหรือลดอาการได้ ซึ่งมักจะนาไปสู่พฤติกรรมที่ดีขึ้นที่โรงเรียนหรือที่ทางาน และ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • 11. 11 ยากระตุ้นประสาทกับโรคสมาธิสั้น ยากระตุ้นประสาทจัดเป็นยาที่สั่งจ่ายเพื่อรักษาโรคสมาธิสั้นบ่อยที่สุดและมีการใช้มานานกว่า 50 ปีแล้ว ยาก ลุ่มนี้มีผลช่วยทาให้เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นสงบลงและออกฤทธิ์ได้นาน 4-12 ชั่วโมง ยากลุ่มนี้อาจมีผลข้างเคียง เช่น ปวดท้อง กระสับกระส่าย เบื่ออาหาร และนอนไม่หลับได้ ยากระตุ้นประสาทบางตัวยังเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด ปัญหาทางโรคหัวใจหรือทางจิตเวชเพิ่มขึ้น ยามีทั้งในรูปแบบเม็ด แคปซูล น้า หรือแผ่นแปะผิวหนัง ยากระตุ้น ประสาทที่ใช้ในการรักษาโรคสมาธิสั้นบ่อย ประกอบด้วย  Adderall (amphetamine)  Ritalin (methylphenidate)  Concerta (methylphenidate)  Focalin (dexmethylphenidate)  Daytrana (methylphenidate patch)  Metadate (methylphenidate)  Methylin (methylphenidate)  Dexedrine (dextroamphetamine)  DextroStat (dextroamphetamine)  Vyvanse (lisdexamfetamine dimesylate) ยากลุ่มที่ไม่ได้กระตุ้นประสาทที่ใช้ในการรักษาโรคสมาธิสั้น ยาประเภทนี้อาจใช้ร่วมกันหรือใช้เป็นทางเลือกของการใช้ยากลุ่มกระตุ้นประสาทได้ ยาตัวแรกในกลุ่มนี้ที่ใช้ ในการรักษาโรคสมาธิสั้นได้รับการอนุมัติเมื่อปี ค.ศ. 2003 ยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงน้อยกว่ายากลุ่มกระตุ้นประสาทและ สามารถออกฤทธิ์ได้นานถึง 24 ชั่วโมง ยาที่ใช้บ่อย ประกอบด้วย  Strattera (atomoxetine)  Intuniv (guanfacine) ยา Strattera เป็นยาที่ต้องระมัดระวังในการใช้เนื่องจากมีการศึกษาที่พบว่าเด็กและวัยรุ่นที่รับประทานยานี้จะมี โอกาสมีความคิดทีจะฆ่าตัวตายได้มากกว่าปกติ
  • 12. 12 ยาต้านเศร้ากับการรักษาโรคสมาธิสั้น ในบางครั้งก็มีการใช้ยาต้านเศร้าในการรักษาโรคสมาธิสั้น องค์การอาหารและยาได้ออกประกาศเตือนเรื่อง การใช้ยาต้านเศร้าในเด็กและวัยรุ่นเมื่อปี ค.ศ. 2004 ว่าอาจเพิ่มความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายได้ ยาต้านเศร้าที่ใช้ใน การรักษาโรคสมาธิสั้น ประกอบด้วย  Wellbutrin (bupropion)  Tofranil (imipramine)  Aventyl (nortriptyline)  Norpramin (desipramine) การให้คาแนะนาในผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น เด็กและผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นอาจได้รับประโยชน์จากการเข้ารับคาแนะนา รูปแบบการให้คาแนะนาที่ใช้บ่อย ประกอบด้วย  การบาบัดพฤติกรรม : เป็นรูปแบบหนึ่งของการให้คาแนะนาที่จะให้เด็กหรือผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นได้ เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่ยากลาบาก  การทาจิตบาบัด : การรักษาชนิดนี้เป็นการให้เด็กและผู้ใหญ่ที่เป็นโรคสมาธิสั้นได้พูดคุยกับนักจิตวิทยาหรือ จิตแพทย์เกี่ยวกับปัญหาของตัวเองและเรียนรู้วิธีการในการจัดการกับอาการของตน  การทา family therapy : การบาบัดรูปแบบนี้ช่วยให้พ่อแม่ คู่สมรส หรือพี่น้องจัดการกับความเครียดในการ อาศัยอยู่กับผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น  การอบรมทักษะการเลี้ยงลูก : การรักษาประเภทนี้ช่วยให้พ่อแม่มีวิธีในการอบรมพฤติกรรมสาหรับเด็ก  การอบรมทักษะทางสังคม : การอบรมประเภทนี้ช่วยให้เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นเรียนรู้พฤติกรรมในสังคมที่ เหมาะสม การรักษาแบบง่ายๆ ที่บ้านและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การเปลี่ยนแปลงวิธีการใช้ชีวิตที่บ้านอาจช่วยสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นให้กับเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้น การเปลี่ยนแปลงนี้ อาจประกอบด้วย  จัดตารางการกินอาหาร การนอนพักผ่อน และเวลาเข้านอน  จัดบริเวณต่างๆ ภายในบ้านให้เรียบร้อยและไม่ระเกะระกะ  หลีกเลี่ยงสิ่งดึงดูดความสนใจต่างๆ (เช่น โทรทัศน์และโทรศัพท์มือถือ)
  • 13. 13  ใช้คาง่ายๆ การมองตา และคาสั่งที่ชัดเจนเวลาต้องการให้เด็กทาอะไร  หาวิธีในการสร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก (เช่น การเล่นกีฬาหรือกิจกรรมนอกห้องเรียนอื่นๆ )  หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการของโรคได้  แสดงความรักอย่างสม่าเสมอ  ใช้วิธี time-outs หรือวิธีอื่นๆ ในการอบรมระเบียบวินัย การรักษาตามธรรมชาติในโรคสมาธิสั้น บางคนเชื่อว่าการแพทย์ทางเลือกสามารถช่วยทาให้อาการของโรคสมาธิสั้นดีขึ้นได้ แม้ว่ามีการระบุว่าวิธ๊การรักษาบาง ประเภทอาจช่วยได้ แต่ก็ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ไม่เพียงพอ ก่อนที่จะเริ่มใช้การรักษาในรูปแบบใด ควรปรึกษา แพทย์ก่อนเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าเป็นวิธีที่ปลอดภัย ทางเลือกในการรักษาโรคสมาธิสั้น ประกอบด้วย  การรับประทานอาหาร : มีการกาจัดการรับประทานน้าตาล ข้าวสาลี นม ไข่ สีผสมอาหาร หรือสารผสมใน อาหารเพื่อช่วยลดอาการของโรคสมาธิสั้น แต่ยังไม่มีงานวิจัยที่มากพอที่จะแสดงว่าการหลีกเลี่ยงอาหารดังกล่าว สามารถช่วยให้อาการของโรคดีขึ้นได้จริง  วิตามิน เกลือแร่ หรือสมุนไพรเสริม : บางคนเชื่อว่าวิตามินบางอย่างสามารถช่วยลดอาการของโรคได้ แต่ไม่มี หลักฐานยืนยันว่าการรับประทานวิตามิน เกลือแร่ หรือสมุนไพรเสริมนั้นมีประสิทธิภาพในการรักษาโรคและการ รับประทานวิตามินในปริมาณที่มากเกินไปอาจกลายเป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นก็ยังคงมีคาถามเกี่ยวกับเรื่อง ความปลอดภัยของการรับประทานสมุนไพรเสริม  กรดไขมันที่จาเป็น : บางคนเชื่อว่าการรับประทานกรดไขมัน omega-3 เช่นที่พบในน้ามันปลานั้นจะสามารถ ช่วยลดอาการของโรคโดยการช่วยให้สมองทางานได้อย่างเหมาะสม นักวิจัยยังคงศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่ากรด ไขมันสามารถช่วยเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้นได้จริงหรือไม่  การเล่นโยคะหรือการทาสมาธิ : การเล่นโยคะหรือทาสมาธิอย่างสม่าเสมอมักใช้เพื่อให้เด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้น ผ่อนคลายและสร้างระเบียบวินัยในตนเอง  Neurofeedback : การรักษานี้เป็นกรให้เด็กพุ่งเป้าความสนใจไปที่กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งขณะที่มีการติด อุปกรณ์ที่ดูการทางานของคลื่นสมอง ยังคงต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับการรักษาด้วยวิธีนี้เพื่อพิจารณาว่าสามารถใช้ในการรักษาโรคสมาธิสั้นได้หรือไม่
  • 14. 14 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ออกแบบการสารวจเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น 2.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กสมาธิสั้น 3.หาวิธีแก้ปัญหาว่ามีแนวทางไหนบ้าง 4.ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาที่หามา 5.สรุปผลเกี่ยวกับปัญหาและวิธีแก้ปัญหา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.อินเทอร์เน็ต 2.คอมพิวเตอร์ 3.โทรศัพท์ 4.แบบสารวจ งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) นาผลที่ได้จากการศึกษาเผยแพร่ข้อมูลปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ วิธีการแก้ปัญหาเพื่อทาให้ประชาชนใน ชุมชนเข้าใจถึง ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบและวิธีการแก้ปัญหามากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 15. 15 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.honestdocs.co/adhd http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Spe_Ed/Yuwana_K.pdf https://www.pobpad.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0% B8%AA%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99