SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ภัยอันตรายจากโรคเครียด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายดานิเอล ด้วงทรง เลขที่ 31 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อ. นายดานิเอล ด้วงทรง เลขที่ 31
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ภัยอันตรายจากโรคเครียด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The danger of disease.
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดานิเอล ด้วงทรง ม.6/10 เลขที่ 31
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่องทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การศึกษาของประเทศไทยและอีกหลายประเทศพบว่าปัญหาโรคเครียดเป็นปัญหาสาคัญของคนทั่วโลกโรค
เครียดมีสาเหตุมาจากการพบเจอหรือรับรู้เหตุการณ์อันตรายที่ร้ายแรงมาก โดยเหตุการณ์นั้นทาให้รู้สึกกลัว ตื่น
ตระหนัก หรือรู้สึกสะเทือนขวัญ เช่น การประสบอุบัติเหตุจนเกือบเสียชีวิต การได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง รวมทั้ง
ทราบข่าวการเสียชีวิต ประสบอุบัติเหตุ หรือการป่วยร้ายแรงของคนในครอบครัวหรือเพื่อนสนิท ทั้งนี้ เหตุการณ์ที่ทา
ให้เกิดโรคเครียดซึ่งพบได้ทั่วไปนั้น มักเป็นเหตุการณ์เกี่ยวกับการออกรบของทหาร ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ถูกโจรปล้น
ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือทราบข่าวร้ายอย่างกะทันหันโดยไม่ทันตั้งตัว นอกจากนี้ โรคเครียดยังมีปัจจัยเสี่ยง
อื่น ๆ ด้วย โดยผู้ที่เสียงป่วยเป็นโรคเครียดได้สูงผลกระทบที่ตามมาจากโรคเครียดนี้มีหลายอย่าง เช่น เห็นภาพ
ร้ายแรงซ้าๆ มีพฤติกรรมแยกออกตัวออกมา และอาจฆ่าตัวตายได้ ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิด
อาการของโรคเครียดได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบแพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน
สุขภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ โดยแพทย์จะสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้
รับรู้ รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้ เมื่อได้รับการตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของ
อาการป่วยว่า เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น
ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่นก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียดดังนั้นโครงงานนี้ทา
ขึ้นมาเพื่อให้ประโยชน์แก่ทุกๆคนให้รับมือจากโรคเครียดที่จะเกิดขึ้นนี้ได้และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทัน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาสาเหตุที่เกิดจากโรคเครียด
2.เรียนรู้ผลกระทบที่เกิดจากโรคเครียด
3.เพื่อศึกษากลุ่มคนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเครียด
4.เพื่อศึกษาวิธีป้องกันจากโรคเครียด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.เรียนรู้อาการของโรคเครียด
2.ปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคเครียด
3.ผลกระทบของโรคซึมเศร้า
4.แนวทางแก้ไขปัญหา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรคเครียด (Acute Stress Disorder) คือ ภาวะที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากเหตุการณ์ร้ายแรง ซึ่งภาวะดังกล่าว
เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของร่างกายและจิตใจ ผู้ที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด จะเกิดอาการเครียด
ประมาณหนึ่งเดือน หากเกิดอาการนานกว่านั้นจะกลายเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ (Posttraumatic
Stress Disorder: PTSD)
โดยทั่วไปแล้ว เมื่อต้องเผชิญหน้ากับสถานการณ์อันตราย ร่างกายจะหลั่งสารสื่อประสาทที่ทาให้ร่างกายตอบสนอง
ด้วยการสู้หรือหนี (Fight-or-Flight) ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว หายใจถี่ขึ้น กล้ามเนื้อหดตัว และความดันโลหิตสูงขึ้น ผู้ที่
ป่วยเป็นโรคเครียดจะรู้สึกกลัว หวาดระแวง หรือตื่นตระหนกหลังเผชิญสถานการณ์อันตราย ทั้งนี้ อาจรู้สึกวิตกกังวล
ว้าวุ่น และฟุ้งซ่าน หรือฝันร้ายเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลายครั้ง อย่างไรก็ตาม มนุษย์เราจะประสบภาวะเครียด
4
จากสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป กล่าวคือ สถานการณ์บางอย่างอาจทาให้คนหนึ่งเกิดความเครียดได้ ในขณะที่อีกคน
อาจรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวได้ และไม่รู้สึกเครียดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
อาการของโรคเครียด
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเครียดมักเกิดอาการของโรคทันทีที่เผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด โดยจะเกิดอาการของโรค
เป็นเวลานานหลายวันหรือหลายสัปดาห์ อาการโรคเครียด มีดังนี้
เห็นภาพเหตุการณ์ร้ายแรงซ้า ๆ ผู้ป่วยจะเห็นฝันร้าย หรือนึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรงไม่ดีที่เคยเกิดขึ้นซ้า ๆ อยู่เสมอ
อารมณ์ขุ่นมัว อารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ป่วยโรคเครียดมักแสดงออกมาในเชิงลบ ผู้ป่วยจะรู้สึกอารมณ์ไม่ดี มีความ
ทุกข์ ไม่ร่าเริงแจ่มใสหรือรู้สึกไม่มีความสุข
มีพฤติกรรมแยกตัวออกมา ผู้ป่วยจะเกิดหลงลืมมึนงง ไม่มีสติหรือไม่รับรู้การมีอยู่ของตัวเอง หรือรู้สึกว่าเวลาเดินช้า
ลง
หลีกเลี่ยงสิ่งต่าง ๆ ผู้ป่วยจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้นึกถึงเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ไม่ว่าจะเป็นผู้คน สถานที่
สิ่งของ กิจกรรม หรือบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
ไวต่อสิ่งเร้า ผู้ป่วยจะนอนหลับยาก โมโหหรือก้าวร้าว ไม่มีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้
ทั้งนี้ โดยทั่วไป มนุษย์เรามักเกิดความเครียดจากการใช้ชีวิตประจาวัน ซึ่งความรู้สึกดังกลาวอาจส่งผลกระทบต่อการ
ทางานของร่างกายและอารมณ์บ้าง ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ความรู้สึก และพฤติกรรม
ดังนี้
ความเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
1.กล้ามเนื้อหดตัว ส่งผลให้ปวดหลัง เจ็บขากรรไกร รวมทั้งมีปัญหาเกี่ยวกับเอ็นตามกล้ามเนื้อ
2.ร่างกายตื่นตัวมาก ส่งผลให้ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เหงื่อออกที่ฝ่ามือ มือเท้าเย็น เวียนศีรษะ ปวดไม
เกรน หายใจไม่สุด และเจ็บหน้าอก
3.อ่อนเพลีย
4.แรงขับทางเพศลดลง
5.ปวดท้อง หรือรู้สึกไม่สบายท้อง ซึ่งเกิดจากปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น กรดไหลย้อน กรดใน
กระเพาะอาหาร ท้องอืด ท้องร่วง หรือท้องผูก
6.มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ
ความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ความรู้สึก
1.วิตกกังวลและฟุ้งซ่าน
2.รู้สึกกดดันอยู่เสมอ รวมทั้งตื่นตัวได้ง่ายกว่าปกติ
3.ไม่มีสมาธิ หรือหมดแรงจูงใจในการทาสิ่งต่าง ๆ
4.ซึมเศร้า
5.อารมณ์แปรปรวนง่าย
ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
1.รับประทานอาหารมากขึ้นหรือน้อยลงกว่าปกติ
5
2.มักโกรธและอาละวาดได้ง่าย
3.สูบบุหรี่ หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ
4.ไม่เข้าสังคม ไม่พบปะผู้คน รวมทั้งไม่สนใจสิ่งรอบตัว
5.ทากิจกรรมต่าง ๆ หรือออกกาลังกายเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง
สาเหตุโรคเครียด
โรคเครียดมีสาเหตุมาจากการพบเจอหรือรับรู้เหตุการณ์อันตรายที่ร้ายแรงมาก โดยเหตุการณ์นั้นทาให้รู้สึกกลัว ตื่น
ตระหนก หรือรู้สึกสะเทือนขวัญ เช่น การประสบอุบัติเหตุจนเกือบเสียชีวิต การได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง รวมทั้ง
ทราบข่าวการเสียชีวิต ประสบอุบัติเหตุ หรือการป่วยร้ายแรงของคนในครอบครัวหรือเพื่อนสนิท ทั้งนี้ เหตุการณ์ที่ทา
ให้เกิดโรคเครียดซึ่งพบได้ทั่วไปนั้น มักเป็นเหตุการณ์เกี่ยวกับการออกรบของทหาร ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ถูกโจรปล้น
ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือทราบข่าวร้ายอย่างกะทันหันโดยไม่ทันตั้งตัว นอกจากนี้ โรคเครียดยังมีปัจจัยเสี่ยง
อื่น ๆ ด้วย โดยผู้ที่เสียงป่วยเป็นโรคเครียดได้สูง มักมีลักษณะ ดังนี้
1.เคยเผชิญเหตุการณ์อันตรายอย่างรุนแรงในอดีต
2.มีประวัติป่วยเป็นโรคเครียดหรือภาวะเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ
3.มีประวัติประสบปัญหาสุขภาพจิตบางอย่าง
4.มีประวัติว่าเกิดอาการของโรคดิสโซสิเอทีฟเมื่อเผชิญเหตุการณ์อันตราย เช่น หลงลืมตัวเองหรือสิ่งต่าง ๆ อารมณ์
แปรปรวนกะทันหัน วิตกกังวลหรือรู้สึกซึมเศร้า ไม่มีสมาธิ เป็นต้น
การวินิจฉัยโรคเครียด
ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิดอาการของโรคเครียดได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบ
แพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ โดยแพทย์จะสอบถาม
รายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้รับรู้ รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้ เมื่อได้รับ
การตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการป่วยว่า เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หรือโรคทางจิตเวชอื่น ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจาก
สาเหตุอื่น ก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียด
การรักษาโรคเครียด
วิธีรักษาโรคเครียดคือการรับมืออาการของโรคที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ผู้ป่วยควร
เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการดังกล่าว และพูดคุยกับครอบครัวหรือเพื่อนเพื่อระบายความเครียดอย่างไรก็ตาม ผู้ป่วย
ที่เกิดอาการรุนแรงหรือเกิดความเครียดเรื้อรัง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งมี
รายละเอียด ดังนี้
ปรึกษาแพทย์ การปรึกษาจิตแพทย์ถือเป็นวิธีรักษาโรคเครียดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยรักษาผู้ป่วยโรคเครียดที่เกิด
อาการรุนแรงและเป็นมานาน โดยแพทย์จะช่วยให้ผู้ป่วยรับมือกับสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด รวมทั้งช่วยให้
ผู้ป่วยจัดการอาการของโรคที่เกิดขึ้นได้
บาบัดความคิดและพฤติกรรม ผู้ป่วยโรคเครียดที่เกิดความวิตกกังวลและอาการไม่ดีขึ้น จะได้รับการรักษาด้วยวิธี
บาบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioural Therapy: CBT) การบาบัดความคิดและพฤติกรรมเป็นวิธี
จิตบาบัดที่มีแนวคิดว่าความคิดบางอย่างของผู้ป่วยส่งผลต่อปัญหาสุขภาพจิต ผู้ป่วยโรคเครียดอาจได้รับการบาบัด
6
ระยะสั้น โดยแพทย์จะพูดคุยเกี่ยวกับความรู้สึกและความคิดของผู้ป่วย รวมทั้งช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าความคิดบางอย่าง
นั้นไม่ถูกต้อง และปรับทัศนคติของผู้ป่วยที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ ให้มองทุกอย่างได้ถูกต้องและตรงตามความเป็นจริง
ใช้ยารักษา แพทย์อาจจ่ายยารักษาโรคเครียดให้แก่ผู้ป่วยบางราย โดยผู้ป่วยมักจะได้รับการรักษาด้วยยาเป็น
ระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อบรรเทาอาการปวดของร่างกาย ปัญหาการนอนหลับ หรืออาการซึมเศร้า โดยยาที่ใช้รักษาโรค
เครียด ได้แก่
เบต้า บล็อกเกอร์ (Beta-Blocker) ยานี้จะช่วยบรรเทาอาการป่วยทางร่างกายซึ่งเกิดจากการหลั่งฮอร์โมน
ความเครียดออกมา เช่น อาการหัวใจเต้นเร็ว ผู้ป่วยรับประทานเมื่อเกิดอาการป่วย เนื่องจากเบต้า บล็อกเกอร์ไม่จัด
อยู่ในกลุ่มยาระงับประสาท จึงไม่ก่อให้เกิดอาการง่วง ส่งผลต่อการทางานต่าง ๆ หรือทาให้ผู้ป่วยเสพติด
ไดอะซีแพม (Diazepam) ยาตัวนี้จัดอยู่ในกลุ่มยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiapines) ซึ่งเป็นยาระงับประสาท
แพทย์ไม่นิยมนามาใช้รักษาผู้ป่วย เว้นแต่บางกรณีที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาไดอะซีแพม ซึ่งจะใช้รักษาเป็น
ระยะสั้นเท่านั้น ทั้งนี้ ยาไดอะซีแพมอาจทาให้ผู้ป่วยเสพติดยา และประสิทธิภาพในการรักษาเสื่อมลงหากผู้ป่วยใช้ยา
ดังกล่าวเป็นเวลานาน
นอกจากนี้ แพทย์อาจจ่ายยาอื่น ๆ เพื่อบรรเทาอาการของโรค เช่น ยาระงับอาการวิตกกังวล ยาต้านเศร้ากลุ่มเอส
เอสอาร์ไอ (Selective Serotonin Reuptake Inhibitors: SSRIs) และยาต้านซึมเศร้ากลุ่มอื่น ๆ หรือรักษาจิตบาบัด
ด้วยการสะกดจิต (Hypnotherapy) ซึ่งพบในการรักษาไม่มากนัก ส่วนผู้ป่วยที่เสี่ยงฆ่าตัวตายหรือมีแนวโน้มทาร้าย
ผู้อื่น จะต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลและได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเครียด
ผู้ที่เกิดความเครียดเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นประจาควรดูแลตัวเอง โดยหากิจกรรมอย่างอื่นทายามว่าง เพื่อให้ตนเองรู้สึก
ผ่อนคลาย ทั้งนี้ ผู้ที่เกิดความเครียดเรื้อรังเป็นเวลานาน อาจประสบปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาได้ ดังนี้
โรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ ผู้ป่วยโรคเครียดบางรายอาจมีอาการของโรคนานกว่า 1 เดือน โดยอาการ
เครียดจะรุนแรงขึ้นและทาให้ดาเนินชีวิตตามปกติได้ยาก ซึ่งอาการดังกล่าวจะทาให้ป่วยเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุ
สะเทือนขวัญ ผู้ป่วยควรพบแพทย์เพื่อรับการรักษา ซึ่งจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงไม่ทาให้อาการของโรคแย่ลง ทั้งนี้ ผู้ป่วย
ภาวะเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญร้อยละ 50 รักษาให้หายได้ภายใน 6 เดือน ในขณะที่ผู้ป่วยรายอื่นอาจประสบ
ภาวะดังกล่าวนานหลายปี
ปัญหาสุขภาพจิตต่าง ๆ ผู้ป่วยโรคเครียดที่ไม่ได้รับการรักษา และมีอาการของโรคเรื้อรังอาจมีปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ
ได้ เช่น โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล หรือบุคลิกภาพแปรปรวน
การป้องกันโรคเครียด
โรคเครียดเป็นปัญหาสุขภาพที่ป้องกันได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์อันตรายอันเป็นสาเหตุของโรคเครียดนั้น ควบคุม
ไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคเครียดดูแลตนเองและจัดการอาการของโรคไม่ให้แย่ลงได้ โดยปฏิบัติ ดังนี้
1.หลังจากเผชิญสถานการณ์ร้ายแรง ต้องรีบเข้ารับการรักษาจากแพทย์ เพื่อช่วยลดโอกาสป่วยเป็นโรคเครียด
2.ผู้ที่ประกอบอาชีพซึ่งเสี่ยงเผชิญสถานการณ์อันตราย เช่น ทหาร อาจต้องเข้ารับการฝึกซ้อมรับมือเหตุการณ์
อันตรายและปรึกษาจิตแพทย์ เพื่อเตรียมตัวรับมือกับเหตุการณ์ดังกล่าวและลดโอกาสเสี่ยงป่วยเป็นโรคเครียด
3.ออกกาลังกายหรือทากิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ
4.ฝึกหายใจลึก ๆ ทาสมาธิ เล่นโยคะ หรือนวด เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย รวมทั้งทาจิตใจให้แจ่มใส
7
5.พบปะสังสรรค์กับเพื่อน หรือพูดคุยกับครอบครัว
6.หางานอดิเรกทาในยามว่าง เช่น อ่านหนังสือ หรือฟังเพลง
7.นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบถ้วน
8.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ รวมทั้งงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- คิดหัวข้อโครงงาน
- ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
- จัดทาโครงร่างงาน
- ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
- ปรับปรุงทดสอบ
- การทาเอกสารรายงาน
- ประเมินผลงาน
- นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- เครื่องวัดความดัน
งบประมาณ
- งบประมาณในการจัดตั้งองค์กรและการเผยแพร่ข้อมูลของโรคเครียดประมาณ 100,000-500,000 บาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / ดานิเอล
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ดานิเอล
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ดานิเอล
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / ดานิเอล
5 ปรับปรุงทดสอบ / / / ดานิเอล
6 การทาเอกสารรายงาน / / / ดานิเอล
7 ประเมินผลงาน / / ดานิเอล
8 นาเสนอโครงงาน / ดานิเอล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้ที่ได้อ่านจะนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตนเองและผู้อื่นได้ทราบสาเหตุจากโรคเครียด สามารถลด
ความเสี่ยงจากโรค ได้รับรู้การแก้ไขปัญหาเมื่อเป็นโรคเครียดควรแก้ไขอย่างไรได้อย่างถูกวิธี
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
- สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. http://www.psyclin.co.th/new_page_3.htm (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)
2. https://health.kapook.com/view102946.html (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)
3. https://www.honestdocs.co/reaction-stress (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)
4. https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/psy/stress/stress.htm
(วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)

More Related Content

What's hot (15)

The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
Comproject12_2
Comproject12_2Comproject12_2
Comproject12_2
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Project
ProjectProject
Project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 

Similar to Great

แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมAkanit Srilaruk
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14ssuser72ad1c1
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดPloy Purr
 
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulTrick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulpattarapornboonsom
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.bamhattamanee
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39ssuser5d7fc5
 

Similar to Great (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยดโครงงานพ ช ตความเคร_ยด
โครงงานพ ช ตความเคร_ยด
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulTrick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์.
 
At22
At22At22
At22
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
AT1
AT1AT1
AT1
 

More from great46540

More from great46540 (6)

18
1818
18
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
24
2424
24
 
24
2424
24
 
46540
4654046540
46540
 

Great

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ภัยอันตรายจากโรคเครียด ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดานิเอล ด้วงทรง เลขที่ 31 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อ. นายดานิเอล ด้วงทรง เลขที่ 31 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภัยอันตรายจากโรคเครียด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The danger of disease. ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดานิเอล ด้วงทรง ม.6/10 เลขที่ 31 ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่องทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การศึกษาของประเทศไทยและอีกหลายประเทศพบว่าปัญหาโรคเครียดเป็นปัญหาสาคัญของคนทั่วโลกโรค เครียดมีสาเหตุมาจากการพบเจอหรือรับรู้เหตุการณ์อันตรายที่ร้ายแรงมาก โดยเหตุการณ์นั้นทาให้รู้สึกกลัว ตื่น ตระหนัก หรือรู้สึกสะเทือนขวัญ เช่น การประสบอุบัติเหตุจนเกือบเสียชีวิต การได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง รวมทั้ง ทราบข่าวการเสียชีวิต ประสบอุบัติเหตุ หรือการป่วยร้ายแรงของคนในครอบครัวหรือเพื่อนสนิท ทั้งนี้ เหตุการณ์ที่ทา ให้เกิดโรคเครียดซึ่งพบได้ทั่วไปนั้น มักเป็นเหตุการณ์เกี่ยวกับการออกรบของทหาร ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ถูกโจรปล้น ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือทราบข่าวร้ายอย่างกะทันหันโดยไม่ทันตั้งตัว นอกจากนี้ โรคเครียดยังมีปัจจัยเสี่ยง อื่น ๆ ด้วย โดยผู้ที่เสียงป่วยเป็นโรคเครียดได้สูงผลกระทบที่ตามมาจากโรคเครียดนี้มีหลายอย่าง เช่น เห็นภาพ ร้ายแรงซ้าๆ มีพฤติกรรมแยกออกตัวออกมา และอาจฆ่าตัวตายได้ ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิด อาการของโรคเครียดได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบแพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน สุขภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ โดยแพทย์จะสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้ รับรู้ รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้ เมื่อได้รับการตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของ อาการป่วยว่า เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่นก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียดดังนั้นโครงงานนี้ทา ขึ้นมาเพื่อให้ประโยชน์แก่ทุกๆคนให้รับมือจากโรคเครียดที่จะเกิดขึ้นนี้ได้และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทัน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาสาเหตุที่เกิดจากโรคเครียด 2.เรียนรู้ผลกระทบที่เกิดจากโรคเครียด 3.เพื่อศึกษากลุ่มคนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเครียด 4.เพื่อศึกษาวิธีป้องกันจากโรคเครียด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.เรียนรู้อาการของโรคเครียด 2.ปัจจัยที่ทาให้เกิดโรคเครียด 3.ผลกระทบของโรคซึมเศร้า 4.แนวทางแก้ไขปัญหา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรคเครียด (Acute Stress Disorder) คือ ภาวะที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากเหตุการณ์ร้ายแรง ซึ่งภาวะดังกล่าว เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของร่างกายและจิตใจ ผู้ที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด จะเกิดอาการเครียด ประมาณหนึ่งเดือน หากเกิดอาการนานกว่านั้นจะกลายเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ (Posttraumatic Stress Disorder: PTSD) โดยทั่วไปแล้ว เมื่อต้องเผชิญหน้ากับสถานการณ์อันตราย ร่างกายจะหลั่งสารสื่อประสาทที่ทาให้ร่างกายตอบสนอง ด้วยการสู้หรือหนี (Fight-or-Flight) ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว หายใจถี่ขึ้น กล้ามเนื้อหดตัว และความดันโลหิตสูงขึ้น ผู้ที่ ป่วยเป็นโรคเครียดจะรู้สึกกลัว หวาดระแวง หรือตื่นตระหนกหลังเผชิญสถานการณ์อันตราย ทั้งนี้ อาจรู้สึกวิตกกังวล ว้าวุ่น และฟุ้งซ่าน หรือฝันร้ายเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลายครั้ง อย่างไรก็ตาม มนุษย์เราจะประสบภาวะเครียด
  • 4. 4 จากสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป กล่าวคือ สถานการณ์บางอย่างอาจทาให้คนหนึ่งเกิดความเครียดได้ ในขณะที่อีกคน อาจรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวได้ และไม่รู้สึกเครียดกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการของโรคเครียด ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเครียดมักเกิดอาการของโรคทันทีที่เผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด โดยจะเกิดอาการของโรค เป็นเวลานานหลายวันหรือหลายสัปดาห์ อาการโรคเครียด มีดังนี้ เห็นภาพเหตุการณ์ร้ายแรงซ้า ๆ ผู้ป่วยจะเห็นฝันร้าย หรือนึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรงไม่ดีที่เคยเกิดขึ้นซ้า ๆ อยู่เสมอ อารมณ์ขุ่นมัว อารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ป่วยโรคเครียดมักแสดงออกมาในเชิงลบ ผู้ป่วยจะรู้สึกอารมณ์ไม่ดี มีความ ทุกข์ ไม่ร่าเริงแจ่มใสหรือรู้สึกไม่มีความสุข มีพฤติกรรมแยกตัวออกมา ผู้ป่วยจะเกิดหลงลืมมึนงง ไม่มีสติหรือไม่รับรู้การมีอยู่ของตัวเอง หรือรู้สึกว่าเวลาเดินช้า ลง หลีกเลี่ยงสิ่งต่าง ๆ ผู้ป่วยจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้นึกถึงเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ไม่ว่าจะเป็นผู้คน สถานที่ สิ่งของ กิจกรรม หรือบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ไวต่อสิ่งเร้า ผู้ป่วยจะนอนหลับยาก โมโหหรือก้าวร้าว ไม่มีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ ทั้งนี้ โดยทั่วไป มนุษย์เรามักเกิดความเครียดจากการใช้ชีวิตประจาวัน ซึ่งความรู้สึกดังกลาวอาจส่งผลกระทบต่อการ ทางานของร่างกายและอารมณ์บ้าง ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ความรู้สึก และพฤติกรรม ดังนี้ ความเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย 1.กล้ามเนื้อหดตัว ส่งผลให้ปวดหลัง เจ็บขากรรไกร รวมทั้งมีปัญหาเกี่ยวกับเอ็นตามกล้ามเนื้อ 2.ร่างกายตื่นตัวมาก ส่งผลให้ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เหงื่อออกที่ฝ่ามือ มือเท้าเย็น เวียนศีรษะ ปวดไม เกรน หายใจไม่สุด และเจ็บหน้าอก 3.อ่อนเพลีย 4.แรงขับทางเพศลดลง 5.ปวดท้อง หรือรู้สึกไม่สบายท้อง ซึ่งเกิดจากปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น กรดไหลย้อน กรดใน กระเพาะอาหาร ท้องอืด ท้องร่วง หรือท้องผูก 6.มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ ความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ความรู้สึก 1.วิตกกังวลและฟุ้งซ่าน 2.รู้สึกกดดันอยู่เสมอ รวมทั้งตื่นตัวได้ง่ายกว่าปกติ 3.ไม่มีสมาธิ หรือหมดแรงจูงใจในการทาสิ่งต่าง ๆ 4.ซึมเศร้า 5.อารมณ์แปรปรวนง่าย ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม 1.รับประทานอาหารมากขึ้นหรือน้อยลงกว่าปกติ
  • 5. 5 2.มักโกรธและอาละวาดได้ง่าย 3.สูบบุหรี่ หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ 4.ไม่เข้าสังคม ไม่พบปะผู้คน รวมทั้งไม่สนใจสิ่งรอบตัว 5.ทากิจกรรมต่าง ๆ หรือออกกาลังกายเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง สาเหตุโรคเครียด โรคเครียดมีสาเหตุมาจากการพบเจอหรือรับรู้เหตุการณ์อันตรายที่ร้ายแรงมาก โดยเหตุการณ์นั้นทาให้รู้สึกกลัว ตื่น ตระหนก หรือรู้สึกสะเทือนขวัญ เช่น การประสบอุบัติเหตุจนเกือบเสียชีวิต การได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง รวมทั้ง ทราบข่าวการเสียชีวิต ประสบอุบัติเหตุ หรือการป่วยร้ายแรงของคนในครอบครัวหรือเพื่อนสนิท ทั้งนี้ เหตุการณ์ที่ทา ให้เกิดโรคเครียดซึ่งพบได้ทั่วไปนั้น มักเป็นเหตุการณ์เกี่ยวกับการออกรบของทหาร ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ถูกโจรปล้น ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือทราบข่าวร้ายอย่างกะทันหันโดยไม่ทันตั้งตัว นอกจากนี้ โรคเครียดยังมีปัจจัยเสี่ยง อื่น ๆ ด้วย โดยผู้ที่เสียงป่วยเป็นโรคเครียดได้สูง มักมีลักษณะ ดังนี้ 1.เคยเผชิญเหตุการณ์อันตรายอย่างรุนแรงในอดีต 2.มีประวัติป่วยเป็นโรคเครียดหรือภาวะเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ 3.มีประวัติประสบปัญหาสุขภาพจิตบางอย่าง 4.มีประวัติว่าเกิดอาการของโรคดิสโซสิเอทีฟเมื่อเผชิญเหตุการณ์อันตราย เช่น หลงลืมตัวเองหรือสิ่งต่าง ๆ อารมณ์ แปรปรวนกะทันหัน วิตกกังวลหรือรู้สึกซึมเศร้า ไม่มีสมาธิ เป็นต้น การวินิจฉัยโรคเครียด ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิดอาการของโรคเครียดได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบ แพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ โดยแพทย์จะสอบถาม รายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้รับรู้ รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้ เมื่อได้รับ การตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการป่วยว่า เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หรือโรคทางจิตเวชอื่น ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจาก สาเหตุอื่น ก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียด การรักษาโรคเครียด วิธีรักษาโรคเครียดคือการรับมืออาการของโรคที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ผู้ป่วยควร เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการดังกล่าว และพูดคุยกับครอบครัวหรือเพื่อนเพื่อระบายความเครียดอย่างไรก็ตาม ผู้ป่วย ที่เกิดอาการรุนแรงหรือเกิดความเครียดเรื้อรัง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งมี รายละเอียด ดังนี้ ปรึกษาแพทย์ การปรึกษาจิตแพทย์ถือเป็นวิธีรักษาโรคเครียดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยรักษาผู้ป่วยโรคเครียดที่เกิด อาการรุนแรงและเป็นมานาน โดยแพทย์จะช่วยให้ผู้ป่วยรับมือกับสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด รวมทั้งช่วยให้ ผู้ป่วยจัดการอาการของโรคที่เกิดขึ้นได้ บาบัดความคิดและพฤติกรรม ผู้ป่วยโรคเครียดที่เกิดความวิตกกังวลและอาการไม่ดีขึ้น จะได้รับการรักษาด้วยวิธี บาบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioural Therapy: CBT) การบาบัดความคิดและพฤติกรรมเป็นวิธี จิตบาบัดที่มีแนวคิดว่าความคิดบางอย่างของผู้ป่วยส่งผลต่อปัญหาสุขภาพจิต ผู้ป่วยโรคเครียดอาจได้รับการบาบัด
  • 6. 6 ระยะสั้น โดยแพทย์จะพูดคุยเกี่ยวกับความรู้สึกและความคิดของผู้ป่วย รวมทั้งช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าความคิดบางอย่าง นั้นไม่ถูกต้อง และปรับทัศนคติของผู้ป่วยที่มีต่อสิ่งต่าง ๆ ให้มองทุกอย่างได้ถูกต้องและตรงตามความเป็นจริง ใช้ยารักษา แพทย์อาจจ่ายยารักษาโรคเครียดให้แก่ผู้ป่วยบางราย โดยผู้ป่วยมักจะได้รับการรักษาด้วยยาเป็น ระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อบรรเทาอาการปวดของร่างกาย ปัญหาการนอนหลับ หรืออาการซึมเศร้า โดยยาที่ใช้รักษาโรค เครียด ได้แก่ เบต้า บล็อกเกอร์ (Beta-Blocker) ยานี้จะช่วยบรรเทาอาการป่วยทางร่างกายซึ่งเกิดจากการหลั่งฮอร์โมน ความเครียดออกมา เช่น อาการหัวใจเต้นเร็ว ผู้ป่วยรับประทานเมื่อเกิดอาการป่วย เนื่องจากเบต้า บล็อกเกอร์ไม่จัด อยู่ในกลุ่มยาระงับประสาท จึงไม่ก่อให้เกิดอาการง่วง ส่งผลต่อการทางานต่าง ๆ หรือทาให้ผู้ป่วยเสพติด ไดอะซีแพม (Diazepam) ยาตัวนี้จัดอยู่ในกลุ่มยาเบนโซไดอะซีปีน (Benzodiapines) ซึ่งเป็นยาระงับประสาท แพทย์ไม่นิยมนามาใช้รักษาผู้ป่วย เว้นแต่บางกรณีที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาไดอะซีแพม ซึ่งจะใช้รักษาเป็น ระยะสั้นเท่านั้น ทั้งนี้ ยาไดอะซีแพมอาจทาให้ผู้ป่วยเสพติดยา และประสิทธิภาพในการรักษาเสื่อมลงหากผู้ป่วยใช้ยา ดังกล่าวเป็นเวลานาน นอกจากนี้ แพทย์อาจจ่ายยาอื่น ๆ เพื่อบรรเทาอาการของโรค เช่น ยาระงับอาการวิตกกังวล ยาต้านเศร้ากลุ่มเอส เอสอาร์ไอ (Selective Serotonin Reuptake Inhibitors: SSRIs) และยาต้านซึมเศร้ากลุ่มอื่น ๆ หรือรักษาจิตบาบัด ด้วยการสะกดจิต (Hypnotherapy) ซึ่งพบในการรักษาไม่มากนัก ส่วนผู้ป่วยที่เสี่ยงฆ่าตัวตายหรือมีแนวโน้มทาร้าย ผู้อื่น จะต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลและได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด ภาวะแทรกซ้อนของโรคเครียด ผู้ที่เกิดความเครียดเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นประจาควรดูแลตัวเอง โดยหากิจกรรมอย่างอื่นทายามว่าง เพื่อให้ตนเองรู้สึก ผ่อนคลาย ทั้งนี้ ผู้ที่เกิดความเครียดเรื้อรังเป็นเวลานาน อาจประสบปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาได้ ดังนี้ โรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ ผู้ป่วยโรคเครียดบางรายอาจมีอาการของโรคนานกว่า 1 เดือน โดยอาการ เครียดจะรุนแรงขึ้นและทาให้ดาเนินชีวิตตามปกติได้ยาก ซึ่งอาการดังกล่าวจะทาให้ป่วยเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุ สะเทือนขวัญ ผู้ป่วยควรพบแพทย์เพื่อรับการรักษา ซึ่งจะช่วยลดโอกาสเสี่ยงไม่ทาให้อาการของโรคแย่ลง ทั้งนี้ ผู้ป่วย ภาวะเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญร้อยละ 50 รักษาให้หายได้ภายใน 6 เดือน ในขณะที่ผู้ป่วยรายอื่นอาจประสบ ภาวะดังกล่าวนานหลายปี ปัญหาสุขภาพจิตต่าง ๆ ผู้ป่วยโรคเครียดที่ไม่ได้รับการรักษา และมีอาการของโรคเรื้อรังอาจมีปัญหาสุขภาพจิตอื่น ๆ ได้ เช่น โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล หรือบุคลิกภาพแปรปรวน การป้องกันโรคเครียด โรคเครียดเป็นปัญหาสุขภาพที่ป้องกันได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์อันตรายอันเป็นสาเหตุของโรคเครียดนั้น ควบคุม ไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคเครียดดูแลตนเองและจัดการอาการของโรคไม่ให้แย่ลงได้ โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1.หลังจากเผชิญสถานการณ์ร้ายแรง ต้องรีบเข้ารับการรักษาจากแพทย์ เพื่อช่วยลดโอกาสป่วยเป็นโรคเครียด 2.ผู้ที่ประกอบอาชีพซึ่งเสี่ยงเผชิญสถานการณ์อันตราย เช่น ทหาร อาจต้องเข้ารับการฝึกซ้อมรับมือเหตุการณ์ อันตรายและปรึกษาจิตแพทย์ เพื่อเตรียมตัวรับมือกับเหตุการณ์ดังกล่าวและลดโอกาสเสี่ยงป่วยเป็นโรคเครียด 3.ออกกาลังกายหรือทากิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ 4.ฝึกหายใจลึก ๆ ทาสมาธิ เล่นโยคะ หรือนวด เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย รวมทั้งทาจิตใจให้แจ่มใส
  • 7. 7 5.พบปะสังสรรค์กับเพื่อน หรือพูดคุยกับครอบครัว 6.หางานอดิเรกทาในยามว่าง เช่น อ่านหนังสือ หรือฟังเพลง 7.นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบถ้วน 8.หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ รวมทั้งงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - คิดหัวข้อโครงงาน - ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล - จัดทาโครงร่างงาน - ปฏิบัติการสร้างโครงงาน - ปรับปรุงทดสอบ - การทาเอกสารรายงาน - ประเมินผลงาน - นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - เครื่องวัดความดัน งบประมาณ - งบประมาณในการจัดตั้งองค์กรและการเผยแพร่ข้อมูลของโรคเครียดประมาณ 100,000-500,000 บาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / ดานิเอล 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ดานิเอล 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ดานิเอล 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / ดานิเอล 5 ปรับปรุงทดสอบ / / / ดานิเอล 6 การทาเอกสารรายงาน / / / ดานิเอล 7 ประเมินผลงาน / / ดานิเอล 8 นาเสนอโครงงาน / ดานิเอล ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้ที่ได้อ่านจะนาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตนเองและผู้อื่นได้ทราบสาเหตุจากโรคเครียด สามารถลด ความเสี่ยงจากโรค ได้รับรู้การแก้ไขปัญหาเมื่อเป็นโรคเครียดควรแก้ไขอย่างไรได้อย่างถูกวิธี สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ - สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. http://www.psyclin.co.th/new_page_3.htm (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561) 2. https://health.kapook.com/view102946.html (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561) 3. https://www.honestdocs.co/reaction-stress (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561) 4. https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/psy/stress/stress.htm (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)