SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
โครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ภาวะน้าหนักเกินในเด็กไทย
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
ชื่อ น.ส. วรันธร บุญโนนแต้ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
น.ส. วรันธร บุญโนนแต้ เลขที่ 1
ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ภาวะน้้าหนักเกินในเด็กไทย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
overweight kid problems
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
นางสาว วรันธร บุญโนนแต้
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
ภาวะน้้าหนักเกินในเด็กเป็นปัญหาสุขภาพที่ส้าคัญอันดับต้นๆของประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันคนในสังคมยังไม่ค่อย
ตระหนักถึงปัญหานี้ ท้าให้มีเด็กที่มีภาวะน้้าหนักเกินเพิ่มจ้านวนมากขึ้นในสังคมไทย ท้าให้เราจัดท้าโครงงานนี้ขึ้นมา
เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะนี้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาข้อดีข้อเสียของภาวะน้้าหนักเกินในเด็กไทย
2.น้าความรู้ที่ได้ศึกษาไปปรับใช้ในชีวิตประจ้าวัน
3.ศึกษาข้อมูลเพื่อน้าไปเผยแพร่และให้ความรู้แก่เด็กที่ก้าลังจะประสบปัญหานี้
ขอบเขตโครงงาน
-สาเหตุของภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก
-ผลกระทบและภาวะแทรกซ้อนของภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก
-แนวทางการดูแลและการควบคุมภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก
- การป้องกันภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก
3
หลักการและทฤษฎี
มีการคาดการณ์ว่าเด็กและวัยรุ่นทั่วโลกที่มีภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนมีจ้านวนมากถึง 43 ล้านคน ภาวะ
น้้าหนักเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาส้าคัญที่คุกคามสุขภาพของวัยเรียนและวัยรุ่นทั่วโลกทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว
และก้าลัง พัฒนาซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังเช่นในประเทศสหรัฐอเมริกาความชุกโรคอ้วนในวัยเรียนและ
วัยรุ่นในภาพรวมเพิ่มขึ้นระหว่างปีค.ศ. 1999-2000, 2005-2006, 2009-2010 และ2013-2014จากร้อยละ13.9เป็น
ร้อยละ15.416.9 และ 17.23ตามล้าดับ เมื่อจ้าแนกออกเป็นกลุ่มวัยเรียน (อายุ6-11 ปี) และกลุ่มวัยรุ่น (อายุ12-19
ปี) พบว่ากลุ่มวัยเรียน มีความชุก ของโรคอ้วนในช่วงเวลาดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงแบบขึ้นๆ ลงๆกล่าวคือมีความชุก
โรคอ้วนเท่ากับร้อยละ15.115.118.0 และ17.43ตามล้าดับ แต่เมื่อน้ามาเปรียบเทียบกับความชุกโรค อ้วนในวัยเรียน
และวัยรุ่นในภาพรวมแล้วจะเห็นว่าในกลุ่มนี้ยัง มีความชุกอยู่ในระดับที่สูง ส่วนความชุกโรคอ้วนในกลุ่มวัยรุ่น ในช่วง
เวลาเดียวกันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 14.8 เป็น ร้อยละ 17.8 18.4 และ 20.63 ตามล้าดับ
ในประเทศไทย ภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัย เรียนและวัยรุ่นเป็นปัญหาสาธารณสุขส้าคัญของประเทศที่มี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน ปีพ.ศ.2539-2540การส้ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่2 พบว่ากลุ่มวัย
เรียน (อายุ 6-12 ปี) มีความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วน ร้อยละ 5.8 และในปีพ.ศ. 2544 การศึกษา
พัฒนาการแบบ องค์รวมของเด็กไทย พบความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและ โรคอ้วนเพิ่มเป็นร้อยละ 6.73 ส่วนปีพ.ศ.
2546 รายงานการส้ารวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย ครั้งที่ 5 พบว่ากลุ่มวัยเรียน (อายุ6-14 ปี) มี
ความชุกของภาวะน้้าหนักเกิน ร้อยละ 2.0 ความชุกของโรคอ้วน ร้อยละ 2.3 ส่วนกลุ่มวัยรุ่น (อายุ 15-18 ปี) มีความ
ชุกของภาวะน้้าหนักเกิน ร้อยละ 5.9 ความชุกของโรคอ้วน ร้อยละ7.44ตามล้าดับ และปีพ.ศ.2551- 2552 การ
ส้ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่4ความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนวัยเรียนและ
วัยรุ่นเพิ่มเป็นร้อยละ 9.73 ตามล้าดับ จากการส้ารวจภาวะโภชนาการของวัยเรียนและวัย รุ่นไทยระดับประเทศทั้ง 4
ครั้งข้างต้น ในช่วงสองทศวรรษที่ ผ่านมา หากไม่รวมรายงานการส้ารวจภาวะอาหารและ โภชนาการของประเทศไทย
ครั้งที่5 พ.ศ. 2546 ที่ไม่เป็นไปใน ทิศทางเดียวกับผลการส้ารวจระดับประเทศทั้งสามครั้งตามที่ กล่าวไว้ข้างต้น จะ
เห็นว่าปัญหาภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วน ในวัยเรียนและวัยรุ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีผู้ศึกษาความชุก
ของภาวะน้้าหนักเกิน และโรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นไทยอีกหลายการศึกษา เช่น การศึกษาความชุกของภาวะ
น้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียน และวัยรุ่นอายุ12-18 ปีจังหวัดขอนแก่น พบความชุกของภาวะน้้าหนักเกิน ร้อยละ
9.5และความชุกโรคอ้วน ร้อยละ4.95 ทั้ง ยังพบว่าเพศชายมีความชุกโรคอ้วนมากกว่าในเพศหญิง5 ส่วน การศึกษา
ความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียน และวัยรุ่นอายุ6-15 ปีจังหวัดนครนายก พบความชุกของภาวะ
น้้าหนักเกิน ร้อยละ 12.8 และความชุกโรคอ้วน ร้อยละ 9.46 กล่าวได้ว่าความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วน
ในวัยเรียน และวัยรุ่นในแต่ละพื้นที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับความชุก ของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัย
เรียนและวัยรุ่นในระดับประเทศ
โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนและการสนับสนุน
จากครอบครัว
การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนของ ประกอบด้วย 4 วิธี
1) ประสบการณ์ที่ประสบความส้าเร็จ
2) การได้เห็นประสบการณ์จากผู้อื่น
3) การใช้ค้าพูดชักจูง
4) การกระตุ้นสภาวะทางสรีระและอารมณ์
4
การสนับสนุนจากครอบครัว ประกอบด้วย 4 วิธี
1) การให้ข้อมูลข่าวสาร ค้าแนะน้า
2) การบอกให้ทราบผลดี และการกระตุ้นเตือน
3) การสนับสนุนทางอารมณ์ ให้ก้าลังใจ และของรางวัล
4) การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ้านวย
ความหมายและเกณฑ์การประเมินภาวะน้้าหนักเกินและ โรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นไทย ภาวะน้้าหนักเกินและ
โรคอ้วน หมายถึง การสะสม ไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไป ซึ่งท้าให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ การประเมินภาวะ
น้้าหนักเกินและโรคอ้วนส้าหรับวัย เรียนและวัยรุ่นไทยมีหลายเกณฑ์ส้าหรับเกณฑ์ที่นิยมน้ามาใช้ ได้แก่
1. การเปรียบเทียบน้้าหนักกับค่ามัธยฐานของน้้าหนัก ตามเกณฑ์ส่วนสูง (median weight forheight) โดยใช้
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงน้้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กไทยอายุ1 วัน -19 ปีจ้าแนกตามเพศของกรม
อนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2542 และแปลผล7 ดังตารางที่ 1
2. ดัชนีมวลกาย (body mass index หรือ BMI)7 ดัชนีมวลกายเปนเกณฑมาตรฐานสากลในการจ้าแนก
น้้าหนัก ของร่างกายในผูใหญตั้งแตอายุ 20 ปขึ้นไป ที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกนิยมน้าไปใช้เนื่องจากวิธีการ
ประเมินไม่ยุ่งยาก และเปนการวัดปริมาณไขมันที่สะสมในรางกายทั้งหมด (total body fat) แต่มีข้อจ้ากัด
คือไมสามารถจ้าแนกได้ว่าเปนไขมันในช่องท้อง (visceral fat) หรือไขมันที่อยู่ใต้ผิวหนัง (subcutaneous
fat) ดัชนีมวลกายค้านวณได้จากน้้าหนัก หน่วยกิโลกรัม หารด้วย ความสูงหน่วยเมตรยกก้าลังสอง มีแนวโน้ม
ของการน้าดัชนีมวลกายมาใช้ประเมิน ภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่น (อายุต่้ากว่า 18 ปี)
มากขึ้น แต่การประเมินภาวะน้้าหนักเกินและโรค อ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นโดยใช้ดัชนีมวลกายมีข้อจ้ากัด
บาง ประการ เช่น ค่าดัชนีมวลกายไม่คงที่ เนื่องจากความแตกต่าง ระหว่างเพศ ทั้งเป็นช่วงวัยที่ร่างกายมีการ
เจริญเติบโต น้้าหนัก และส่วนสูงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ค่าดัชนีมวลกาย จึงแปรเปลี่ยนตามอายุเพศ
เชื้อชาติและระยะการเข้าสู่วัยหนุ่มสาว(pubertal stage)3การแปลผลค่าดัชนีมวลกายใน วัยเรียนและวัยรุ่น
สามารถท้าได้โดย การน้าดัชนีมวลกายที่ ประเมินได้ไปเปรียบเทียบกับค่าดัชนีมวลกายมาตรฐานของ แต่ละ
ประเทศ หรือค่าดัชนีมวลกายมาตรฐานในระดับนานาชาติ
5
วิธีด้าเนินงาน
แนวทางการด้าเนินงาน
แนวทางการดูแลและการควบคุมภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก
การดูแลและควบคุมภาวะน้้าหนักเกินที่ปลอดภัยและได้ผลในระยะยาวคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องการ
บริโภคอาหาร และการท้ากิจกรรมออกก้าลังกาย ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการพยายามแก้ปัญหาภาวะน้าหนัก
เกินในทุกกลุ่มเชื้อชาติ
1.การเปลี่ยนแปลงแบบแผนการรับประทานอาหารเพื่อลดโคเลสเตอรอลโดยลดอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต ไขมัน
และน้้าตาล รวมทั้งหลีกเลี่ยงอาหารทอด หรืออาหารผัดที่ใช้น้้ามัน แกงหรือขนมซึ่งใส่กะทิเปลี่ยนมาใช้วิธีอบ ต้ม นึ่ง
ย่าง เพื่อลดการใช้น้้ามันปรุงอาหาร
2.ควรส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย ซึ่งสามารถท้าเป็นส่วนหนึ่งของงานหรือระหว่างที่มีเวลาว่างได้ หลักในการออก
ก้าลังกายจะต้องค้านึงถึงระยะเวลา(duration) ความแรง (intensity) ความบ่อย (frequency)รวมทั้งมีการอบอุ่น
ร่างกาย(warm up) และผ่อนคลาย(cool down) การมีกิจกรรมทางกายอย่างสม้่าเสมอเป็นประจ้า
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อุปกรณ์กีฬาต่างๆ
-แผนตารางอาหารและการออกก้าลังกาย
-วัตถุดิบในการท้าอาหารหรืออุปกรณ์ในการท้าอาหาร
งบประมาณ
1,000-50,000 บาท
ขันตอนและแผนด้าเนินงาน
ล้าดับ
ที่
ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดท้าโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การท้าเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 น้าเสนอโครงงาน
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าเด็กไทยในสังคมไทยนั้นจะมีน้้าหนักตัวที่ลดลง และปริมาณจ้านวนเด็กที่มีภาวะน้้าหนักเกินนั้นต้องลดลงจาก
เดิม และคาดหวังว่าครอบครัวหลายๆครอบครัวในสังคมไทยจะตระหนักถึงปัญหาภาวะเด็กที่มีน้้าหนักเกินให้มากขึ้น
และดูแลบุตรหลานในไม่มีน้้าหนักเกิน
สถานที่ด้าเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลย
แหล่งอ้างอิง
https://med.mahidol.ac.th/nursing/jns/DocumentLink/2555/issue_03/02.pdf
https://www.google.co.th/search?hl=th&tbm=isch&sxsrf=ACYBGNQaUlCpqSZkFl
vMp7Aqw0wNLFsY6Q%3A1568081330787&source=hp&biw=1600&bih=740&ei=
sgV3XZ7pLca5rQHOpI-
gDA&q=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%99%
E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%8
1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%
99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8
%97%E0%B8%A2&oq=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0
%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%
B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9
%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B
9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&gs_l=img.3...1318.11708..12804...0.0..0.120.18
79.22j2......0....1..gws-wiz-img.......0j0i24j0i10i24.-
bDn5pgqWUQ&ved=0ahUKEwieisuVlsXkAhXGXCsKHU7SA8QQ4dUDCAU&ua
ct=5#imgrc=NZPBeC8ZSM-SPM:

More Related Content

Similar to 2562 final-project -warun

เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขCanned Pumpui
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 
Work 5
Work 5Work 5
Work 5npyp
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
Num preeyaphorn
Num preeyaphornNum preeyaphorn
Num preeyaphornnpyp
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนJungle Jam
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 
โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1qnlivyatan
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1Wichayaporn02
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)NKSJT
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 

Similar to 2562 final-project -warun (20)

เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุขเลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
เลี้ยงลูกเจนฯ อัลฟ่าให้ฉลาดและมีความสุข
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
โครงร่างโครงงานคอม3
โครงร่างโครงงานคอม3โครงร่างโครงงานคอม3
โครงร่างโครงงานคอม3
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 
Work 5
Work 5Work 5
Work 5
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
Num preeyaphorn
Num preeyaphornNum preeyaphorn
Num preeyaphorn
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วนโครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
โครงร่างโครงงาน เรื่อง โรคความอ้วน
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
work1pjcom
work1pjcomwork1pjcom
work1pjcom
 
โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)2562 final-project by-surabadee (1)
2562 final-project by-surabadee (1)
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 

More from Tawanny Rawipon (20)

05 final
05 final05 final
05 final
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
Presentation 3 finally
Presentation 3 finallyPresentation 3 finally
Presentation 3 finally
 
Hbgi
HbgiHbgi
Hbgi
 
WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604
 
Praewxxy
PraewxxyPraewxxy
Praewxxy
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
Com
ComCom
Com
 
Computer project-final666
Computer project-final666Computer project-final666
Computer project-final666
 
Computer project-final555
Computer project-final555Computer project-final555
Computer project-final555
 
Computer project-final333
Computer project-final333Computer project-final333
Computer project-final333
 
Computer project-final333
Computer project-final333Computer project-final333
Computer project-final333
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
Computer project 2
Computer project 2Computer project 2
Computer project 2
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)2562 final-project -2-16 (1)
2562 final-project -2-16 (1)
 
Work1 new
Work1 newWork1 new
Work1 new
 
Work1 midterm
Work1 midtermWork1 midterm
Work1 midterm
 
604 18 perfect final1
604 18 perfect final1604 18 perfect final1
604 18 perfect final1
 

2562 final-project -warun

  • 1. 1 โครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ภาวะน้าหนักเกินในเด็กไทย ชื่อผู้ท้าโครงงาน ชื่อ น.ส. วรันธร บุญโนนแต้ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม น.ส. วรันธร บุญโนนแต้ เลขที่ 1 ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ภาวะน้้าหนักเกินในเด็กไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) overweight kid problems ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว วรันธร บุญโนนแต้ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน ภาวะน้้าหนักเกินในเด็กเป็นปัญหาสุขภาพที่ส้าคัญอันดับต้นๆของประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันคนในสังคมยังไม่ค่อย ตระหนักถึงปัญหานี้ ท้าให้มีเด็กที่มีภาวะน้้าหนักเกินเพิ่มจ้านวนมากขึ้นในสังคมไทย ท้าให้เราจัดท้าโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะนี้ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาข้อดีข้อเสียของภาวะน้้าหนักเกินในเด็กไทย 2.น้าความรู้ที่ได้ศึกษาไปปรับใช้ในชีวิตประจ้าวัน 3.ศึกษาข้อมูลเพื่อน้าไปเผยแพร่และให้ความรู้แก่เด็กที่ก้าลังจะประสบปัญหานี้ ขอบเขตโครงงาน -สาเหตุของภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก -ผลกระทบและภาวะแทรกซ้อนของภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก -แนวทางการดูแลและการควบคุมภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก - การป้องกันภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี มีการคาดการณ์ว่าเด็กและวัยรุ่นทั่วโลกที่มีภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนมีจ้านวนมากถึง 43 ล้านคน ภาวะ น้้าหนักเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาส้าคัญที่คุกคามสุขภาพของวัยเรียนและวัยรุ่นทั่วโลกทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้ว และก้าลัง พัฒนาซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังเช่นในประเทศสหรัฐอเมริกาความชุกโรคอ้วนในวัยเรียนและ วัยรุ่นในภาพรวมเพิ่มขึ้นระหว่างปีค.ศ. 1999-2000, 2005-2006, 2009-2010 และ2013-2014จากร้อยละ13.9เป็น ร้อยละ15.416.9 และ 17.23ตามล้าดับ เมื่อจ้าแนกออกเป็นกลุ่มวัยเรียน (อายุ6-11 ปี) และกลุ่มวัยรุ่น (อายุ12-19 ปี) พบว่ากลุ่มวัยเรียน มีความชุก ของโรคอ้วนในช่วงเวลาดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงแบบขึ้นๆ ลงๆกล่าวคือมีความชุก โรคอ้วนเท่ากับร้อยละ15.115.118.0 และ17.43ตามล้าดับ แต่เมื่อน้ามาเปรียบเทียบกับความชุกโรค อ้วนในวัยเรียน และวัยรุ่นในภาพรวมแล้วจะเห็นว่าในกลุ่มนี้ยัง มีความชุกอยู่ในระดับที่สูง ส่วนความชุกโรคอ้วนในกลุ่มวัยรุ่น ในช่วง เวลาเดียวกันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 14.8 เป็น ร้อยละ 17.8 18.4 และ 20.63 ตามล้าดับ ในประเทศไทย ภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัย เรียนและวัยรุ่นเป็นปัญหาสาธารณสุขส้าคัญของประเทศที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน ปีพ.ศ.2539-2540การส้ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่2 พบว่ากลุ่มวัย เรียน (อายุ 6-12 ปี) มีความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วน ร้อยละ 5.8 และในปีพ.ศ. 2544 การศึกษา พัฒนาการแบบ องค์รวมของเด็กไทย พบความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและ โรคอ้วนเพิ่มเป็นร้อยละ 6.73 ส่วนปีพ.ศ. 2546 รายงานการส้ารวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย ครั้งที่ 5 พบว่ากลุ่มวัยเรียน (อายุ6-14 ปี) มี ความชุกของภาวะน้้าหนักเกิน ร้อยละ 2.0 ความชุกของโรคอ้วน ร้อยละ 2.3 ส่วนกลุ่มวัยรุ่น (อายุ 15-18 ปี) มีความ ชุกของภาวะน้้าหนักเกิน ร้อยละ 5.9 ความชุกของโรคอ้วน ร้อยละ7.44ตามล้าดับ และปีพ.ศ.2551- 2552 การ ส้ารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่4ความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนวัยเรียนและ วัยรุ่นเพิ่มเป็นร้อยละ 9.73 ตามล้าดับ จากการส้ารวจภาวะโภชนาการของวัยเรียนและวัย รุ่นไทยระดับประเทศทั้ง 4 ครั้งข้างต้น ในช่วงสองทศวรรษที่ ผ่านมา หากไม่รวมรายงานการส้ารวจภาวะอาหารและ โภชนาการของประเทศไทย ครั้งที่5 พ.ศ. 2546 ที่ไม่เป็นไปใน ทิศทางเดียวกับผลการส้ารวจระดับประเทศทั้งสามครั้งตามที่ กล่าวไว้ข้างต้น จะ เห็นว่าปัญหาภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วน ในวัยเรียนและวัยรุ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีผู้ศึกษาความชุก ของภาวะน้้าหนักเกิน และโรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นไทยอีกหลายการศึกษา เช่น การศึกษาความชุกของภาวะ น้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียน และวัยรุ่นอายุ12-18 ปีจังหวัดขอนแก่น พบความชุกของภาวะน้้าหนักเกิน ร้อยละ 9.5และความชุกโรคอ้วน ร้อยละ4.95 ทั้ง ยังพบว่าเพศชายมีความชุกโรคอ้วนมากกว่าในเพศหญิง5 ส่วน การศึกษา ความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียน และวัยรุ่นอายุ6-15 ปีจังหวัดนครนายก พบความชุกของภาวะ น้้าหนักเกิน ร้อยละ 12.8 และความชุกโรคอ้วน ร้อยละ 9.46 กล่าวได้ว่าความชุกของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วน ในวัยเรียน และวัยรุ่นในแต่ละพื้นที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกับความชุก ของภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัย เรียนและวัยรุ่นในระดับประเทศ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนและการสนับสนุน จากครอบครัว การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนของ ประกอบด้วย 4 วิธี 1) ประสบการณ์ที่ประสบความส้าเร็จ 2) การได้เห็นประสบการณ์จากผู้อื่น 3) การใช้ค้าพูดชักจูง 4) การกระตุ้นสภาวะทางสรีระและอารมณ์
  • 4. 4 การสนับสนุนจากครอบครัว ประกอบด้วย 4 วิธี 1) การให้ข้อมูลข่าวสาร ค้าแนะน้า 2) การบอกให้ทราบผลดี และการกระตุ้นเตือน 3) การสนับสนุนทางอารมณ์ ให้ก้าลังใจ และของรางวัล 4) การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ้านวย ความหมายและเกณฑ์การประเมินภาวะน้้าหนักเกินและ โรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นไทย ภาวะน้้าหนักเกินและ โรคอ้วน หมายถึง การสะสม ไขมันที่ผิดปกติหรือมากเกินไป ซึ่งท้าให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ การประเมินภาวะ น้้าหนักเกินและโรคอ้วนส้าหรับวัย เรียนและวัยรุ่นไทยมีหลายเกณฑ์ส้าหรับเกณฑ์ที่นิยมน้ามาใช้ ได้แก่ 1. การเปรียบเทียบน้้าหนักกับค่ามัธยฐานของน้้าหนัก ตามเกณฑ์ส่วนสูง (median weight forheight) โดยใช้ กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงน้้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กไทยอายุ1 วัน -19 ปีจ้าแนกตามเพศของกรม อนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2542 และแปลผล7 ดังตารางที่ 1 2. ดัชนีมวลกาย (body mass index หรือ BMI)7 ดัชนีมวลกายเปนเกณฑมาตรฐานสากลในการจ้าแนก น้้าหนัก ของร่างกายในผูใหญตั้งแตอายุ 20 ปขึ้นไป ที่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกนิยมน้าไปใช้เนื่องจากวิธีการ ประเมินไม่ยุ่งยาก และเปนการวัดปริมาณไขมันที่สะสมในรางกายทั้งหมด (total body fat) แต่มีข้อจ้ากัด คือไมสามารถจ้าแนกได้ว่าเปนไขมันในช่องท้อง (visceral fat) หรือไขมันที่อยู่ใต้ผิวหนัง (subcutaneous fat) ดัชนีมวลกายค้านวณได้จากน้้าหนัก หน่วยกิโลกรัม หารด้วย ความสูงหน่วยเมตรยกก้าลังสอง มีแนวโน้ม ของการน้าดัชนีมวลกายมาใช้ประเมิน ภาวะน้้าหนักเกินและโรคอ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่น (อายุต่้ากว่า 18 ปี) มากขึ้น แต่การประเมินภาวะน้้าหนักเกินและโรค อ้วนในวัยเรียนและวัยรุ่นโดยใช้ดัชนีมวลกายมีข้อจ้ากัด บาง ประการ เช่น ค่าดัชนีมวลกายไม่คงที่ เนื่องจากความแตกต่าง ระหว่างเพศ ทั้งเป็นช่วงวัยที่ร่างกายมีการ เจริญเติบโต น้้าหนัก และส่วนสูงมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ค่าดัชนีมวลกาย จึงแปรเปลี่ยนตามอายุเพศ เชื้อชาติและระยะการเข้าสู่วัยหนุ่มสาว(pubertal stage)3การแปลผลค่าดัชนีมวลกายใน วัยเรียนและวัยรุ่น สามารถท้าได้โดย การน้าดัชนีมวลกายที่ ประเมินได้ไปเปรียบเทียบกับค่าดัชนีมวลกายมาตรฐานของ แต่ละ ประเทศ หรือค่าดัชนีมวลกายมาตรฐานในระดับนานาชาติ
  • 5. 5 วิธีด้าเนินงาน แนวทางการด้าเนินงาน แนวทางการดูแลและการควบคุมภาวะน้้าหนักเกินในเด็ก การดูแลและควบคุมภาวะน้้าหนักเกินที่ปลอดภัยและได้ผลในระยะยาวคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องการ บริโภคอาหาร และการท้ากิจกรรมออกก้าลังกาย ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการพยายามแก้ปัญหาภาวะน้าหนัก เกินในทุกกลุ่มเชื้อชาติ 1.การเปลี่ยนแปลงแบบแผนการรับประทานอาหารเพื่อลดโคเลสเตอรอลโดยลดอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และน้้าตาล รวมทั้งหลีกเลี่ยงอาหารทอด หรืออาหารผัดที่ใช้น้้ามัน แกงหรือขนมซึ่งใส่กะทิเปลี่ยนมาใช้วิธีอบ ต้ม นึ่ง ย่าง เพื่อลดการใช้น้้ามันปรุงอาหาร 2.ควรส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย ซึ่งสามารถท้าเป็นส่วนหนึ่งของงานหรือระหว่างที่มีเวลาว่างได้ หลักในการออก ก้าลังกายจะต้องค้านึงถึงระยะเวลา(duration) ความแรง (intensity) ความบ่อย (frequency)รวมทั้งมีการอบอุ่น ร่างกาย(warm up) และผ่อนคลาย(cool down) การมีกิจกรรมทางกายอย่างสม้่าเสมอเป็นประจ้า เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อุปกรณ์กีฬาต่างๆ -แผนตารางอาหารและการออกก้าลังกาย -วัตถุดิบในการท้าอาหารหรืออุปกรณ์ในการท้าอาหาร งบประมาณ 1,000-50,000 บาท ขันตอนและแผนด้าเนินงาน ล้าดับ ที่ ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดท้าโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การท้าเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 น้าเสนอโครงงาน
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าเด็กไทยในสังคมไทยนั้นจะมีน้้าหนักตัวที่ลดลง และปริมาณจ้านวนเด็กที่มีภาวะน้้าหนักเกินนั้นต้องลดลงจาก เดิม และคาดหวังว่าครอบครัวหลายๆครอบครัวในสังคมไทยจะตระหนักถึงปัญหาภาวะเด็กที่มีน้้าหนักเกินให้มากขึ้น และดูแลบุตรหลานในไม่มีน้้าหนักเกิน สถานที่ด้าเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สาระการงานอาชีพและเทคโนโลย แหล่งอ้างอิง https://med.mahidol.ac.th/nursing/jns/DocumentLink/2555/issue_03/02.pdf https://www.google.co.th/search?hl=th&tbm=isch&sxsrf=ACYBGNQaUlCpqSZkFl vMp7Aqw0wNLFsY6Q%3A1568081330787&source=hp&biw=1600&bih=740&ei= sgV3XZ7pLca5rQHOpI- gDA&q=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0%E0%B8%99% E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%8 1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8% 99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8 %97%E0%B8%A2&oq=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B0 %E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8% B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9 %83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B 9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&gs_l=img.3...1318.11708..12804...0.0..0.120.18 79.22j2......0....1..gws-wiz-img.......0j0i24j0i10i24.- bDn5pgqWUQ&ved=0ahUKEwieisuVlsXkAhXGXCsKHU7SA8QQ4dUDCAU&ua ct=5#imgrc=NZPBeC8ZSM-SPM: