SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
            โดย
 ครูจิระประภา สุวรรณจักร์
การประมาณ เป็นการบอกขนาด จานวน หรือปริมาณ
ที่ไม่ต้องการละเอียดถี่ถ้วน เป็นเพียงการคาดคะเนจานวน
หรือปริมาณด้วยสายตาเท่านั้น ไม่จาเป็นต้องใช้เครืองวัด
                                                ่
เครื่องคานวณ หรือการนับแต่อย่างใด
การบอกจานวนใด ๆ โดยวิธีการประมาณค่า นั้นนิยม
บอกเป็นจานวนใกล้เคียงจานวนเต็มเช่น จานวนสิบ
จานวนเต็มร้อย จานวนเต็มพัน จานวนเต็มหมืน จานวน
                                        ่
เต็มแสนจานวนเต็มล้าน ฯลฯ เป็นต้น

 1.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ
       หมายถึงจานวนที่หลักหน่วยของเลข 2 หลักลงท้าย
 ด้วยเลข 0 เช่น 10 ,20 ,30 ,40 ,50 ,60 ,70 ,80 และ 90
โดยให้พิจาณาเฉพาะเลขหลักหน่วยเท่านั้น ดังนี้
1. ถ้าตัวเลขในหลักหน่วยมีค่าต่ากว่า 5 ให้เราประมาณค่า
เป็นจานวนเต็มสิบน้อยกว่าเลขจานวนนั้น เช่น
324 หลักหน่วยของเลขจานวนนี้คือ 4 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 5
ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มสิบของจานวนนี้คือ 320
ดูเส้นจานวนข้างล่างนี้ประกอบ
                                324
       <------|------|------|------|------|------|------|------|------|------->
     320 321 322 323 324 325 326 327 328 329 330
2. ถ้าหลักหน่วยของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือ
เท่ากับ 5 ให้เราประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ
มากกว่าเลขจานวนนั้น เช่น 327 หลักหน่วยของเลข
จานวนนี้คือ 7 เราก็สามารถประมาณค่าใกล้เคียงจานวน
เต็มสิบของ เลขจานวนนี้คือ 330

                                              326
      <------|------|------|------|------|------|------|------|------|------->
    320 321 322 323 324 325 326 327 328 329 330
2.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย
       จานวนเต็มร้อยหมายถึงจานวนที่มีหลักหน่วย
หลักสิบ ของเลข 3 หลักเป็นเลข 0 เช่น 100 , 200 , 300 ,
400, 500 , 600 , 700, 800 และ 900 การประมาณค่าให้
ใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย ทาได้โดยพิจาณาจากตัวเลข
เฉพาะในหลักสิบของจานวนนั้น ๆ ดังนี้
 1. ถ้าตัวเลขในหลักสิบมีค่าต่ากว่า 50 ให้ประมาณค่า
 จานวนนั้นเป็นจานวนเต็มร้อยน้อยกว่าเลขจานวนนั้น
เช่น จงประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 2, 320
  แนวคิด จานวน 2,320 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อย คือ
  2,300 กับ 2,400 และหลักสิบของเลขจานวนนี้คือ 20
  ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มร้อย
  ของจานวนนี้คือ 2,300

                  2,320
<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->
2,300 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2,400
2. ถ้าหลักสิบของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ
50 ให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยมากกว่าจานวน
นั้น เช่น ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 2,370
 แนวคิด จานวน 2,370 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อย คือ
 2,300 กับ 2,400 และหลักสิบของเลขจานวนนี้คือ 70
 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มร้อย
 ของจานวนนี้คือ 2,400
                                                         2,370
<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->
2,300 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2,400
3.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพัน
      จานวนเต็มพันหมายถึงจานวนที่มีหลักหน่วย สิบ
หลักร้อย ของเลข 4 หลักเป็นเลข 0 เช่น1000 ,2000 ,3000,
4000,5000 ,6000 ,7000, 8000 และ9000 การประมาณค่า
ให้ใกล้เคียงจานวนเต็มพัน ทาได้โดยพิจาณาจากตัวเลข
เฉพาะในหลักร้อยของจานวนนั้น ๆ ดังนี้
 1. ถ้าตัวเลขในหลักร้อยมีค่าต่ากว่า 500 ให้ประมาณค่า
 จานวนนั้นเป็นจานวนเต็มร้อยน้อยกว่าเลขจานวนนั้น
เช่น จงประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 41, 270
  แนวคิด จานวน 41,270 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพัน คือ
  41,000 กับ 42,000 และหลักร้อยของเลขจานวนนี้คือ270
  ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 500 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มพัน
  ของจานวนนี้คือ 41,000

                     41,270
<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->
41,000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 42,000
2. ถ้าหลักร้อยของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ
50 ให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันมากกว่าจานวน
นั้น เช่น ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 41,770
   แนวคิด จานวน 41,770 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพัน คือ
   41,000 กับ 42,000 และหลักร้อยของเลขจานวนนี้คือ
    770 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวน
   เต็มพัน ของจานวนนี้คือ 42,000
                                                            41,770
<----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|----->
41,000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 42,000
1. จงหาค่าประมาณของผลบวกต่อไปนี้
      (1) 2,672 + 2,438 + 8,616
      (2) 2,107 + 596 + 5,632
      (3) 412 + 363 + 915
      (4) 8,352 + 2,153 + 695
      (5) 1,123 + 3,261 + 345
     (6) 62,148 – 8,612
     (7) 21 – 12.6 + 13.13
หลักการปัดเศษทศนิยม




ให้ดูเฉพาะเลขโดดที่อยูถัดจาก ทศนิยมตาแหน่งทีต้องการไป
                          ่                         ่
     ทางขวามือ ตัวเดียวเท่านั้น และทาได้ครังเดียวเท่านั้น
                                                ้
 ถ้าต่ากว่า 5 ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 5 ขึ้นไปให้ปัดเป็นจานวนเต็ม
หลักการปัดเศษทศนิยม
                     การปัดเศษให้เป็นจานวนเต็ม โดยพิจารณา
ตัวอย่าง
                            จากทศนิยมตาแหน่งที่หนึง
                                                  ่
 43.975  44
                       มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 1

 43.525  44
                       เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 1
                                      ้
 43.497  44
                           น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
หลักการปัดเศษทศนิยม
                        การปัดเศษให้เป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง
ตัวอย่าง
                        โดยพิจารณาจากทศนิยมตาแหน่งที่สอง
43.874  43.9
                        มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 0.1

 43.854  43.9
                        เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 0.1
                                       ้
 43.834  43.8
                             น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
หลักการปัดเศษทศนิยม
                         การปัดเศษให้เป็นทศนิยมสองตาแหน่ง
ตัวอย่าง
                         โดยพิจารณาจากทศนิยมตาแหน่งที่สาม
43.9782  43.98
                         มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 0.01

43.9753  43.98
                         เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 0.01
                                        ้
43.9723  43.97
                              น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
แบบฝึกหัดเสริมทักษะ
                    เรื่อง การปัดเศษ
  จงเติมจานวนในช่องว่างให้ถูกต้อง

ข้อ    จานวน      จานวน     จานวนเต็ม ทศนิยมหนึ่ง ทศนิยมสอง
ที่               เต็มสิบ              ตาแหน่ง     ตาแหน่ง
1.    0.869
2.    9.875
3.    26.2386
4.    156.0345
5.    2,444.098
เฉลยแบบฝึกหัด
                         เรื่อง การปัดเศษ
  จงเติมจานวนในช่องว่างให้ถูกต้อง

ข้อที่ จานวน    จานวนเต็ม     จานวนเต็ม   ทศนิยมหนึ่ง   ทศนิยมสอง
                   สิบ                     ตาแหน่ง       ตาแหน่ง
 1. 0.869           0            1            0.9          0.87
 2. 9.875           0            10           9.9          9.88
 3. 26.2386        30            26          26.2         26.24
 4. 156.0345       160          156          156         156.03
 5. 2,444.098     2,440         2,444       2,444.1      2,444.1
ตัวอย่าง ถังน้ามันใบหนึ่งจุได้ 5,200 ลิตร เมื่อ ต้องตักน้ามัน
ออกจากถังโดยใช้ถังเล็กขนาดจุ ได้ 1.8 ลิตร จะต้องตักอยู่กี่ครั้ง
น้ามันจึงจะหมดถัง
วิธีทา น้ามัน 5,200 ลิตร
       ถังตวงจุได้ 1.8 ลิตร ประมาณ 2 ลิตร
       ดังนั้น จะต้องตักอยู่    5200
                                        2600
                                  2

          ตอบ 2600 ครั้ง
ตัวอย่าง คุณแม่ซื้อข้าวสารมา 142 บาท สบู่ 37 บาท ผงซักฟอก 95
บาท น้ามันพืช 27.75 บาท นมตราหมี 94.25 บาท จงหาว่าคุณแม่
จ่ายเงินไปประมาณกี่บาท
วิธีทา
           142  140
             37  40
             95  100
             27 . 75  30
             94 . 25  90

       จะได้ 140+40+100+30+90 = 400 บาท
       ดังนั้น 142+37+95+27.75+94.25  400 บาท
ลองทาดู คุณทาได้

1. เมื่อปีการศึกษา 2540 จานวนประชากรประเทศไทยที่มีอายุที่อยู่
ในวัยเรียน อุดมศึกษา 4,658,191 คน แต่ปรากฏว่ามีผู้เรียนอยู่ใน
ระดับนี้อยู่เพียง 39.2% ของจานวนประชากรในวันนี้จงหาว่า มี
ผู้เรียนในระดับนี้กี่คนโดยประมาณ


  2. วิทยุเครื่องหนึ่งราคา1,650บาท ถ้ามีผู้ซื้อเงินสดจะลดให้
  9%อยากทราบว่า ถ้าต้องซื้อสด ต้องจ่ายเงินประมาณกี่บาท
3. ต้องการตัดหญ้าในสนามที่มีขนาดกว้าง 21 เมตร ยาว 36 เมตร
โดยเสียค่าใช้จ่ายเมตรละ0.95 บาท จงหาว่าจะต้องจ่ายเงินค่าจ้างตัด
หญ้าประมาณกี่บาท


 4. ถ้าต้องซื้อผ้ามาตัดเสื้อ 13.2 เมตร เมตรละ 12.5 บาท
    จะต้องจ่ายเงินประมาณกี่บาท
การประมาณค่า

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
kanjana2536
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
Bangon Suyana
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
Nok Yupa
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
ทับทิม เจริญตา
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
Methaporn Meeyai
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
dnavaroj
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
krookay2012
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
krutew Sudarat
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
พัน พัน
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
Jiraprapa Suwannajak
 

What's hot (20)

แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังการคูณและการหารเลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 

Viewers also liked

ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
kanjana2536
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
Jiraprapa Suwannajak
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
kanjana2536
 

Viewers also liked (6)

ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
 
ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียงแผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
แผนที่ 4 ค่าประมาณใกล้เคียง
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดคณิต ม.1ภาคเรียนที่ 2
 

Similar to การประมาณค่า

เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
Preecha Yeednoi
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
kruminsana
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
Tangkwa Dong
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
jinda2512
 

Similar to การประมาณค่า (13)

เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-netคณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
คณิตศาสตร์ ป.6 แบบทดสอบ pre o-net
 
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim meติวสอบตำรวจวุฒิม.6  ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
ติวสอบตำรวจวุฒิม.6 ปี2555 วิชาคณิตศาสตร์ ส่วนที่ 1 โดยผช.yim me
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
ป.2
ป.2ป.2
ป.2
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
Jiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
Jiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 

การประมาณค่า

  • 1. พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดย ครูจิระประภา สุวรรณจักร์
  • 2. การประมาณ เป็นการบอกขนาด จานวน หรือปริมาณ ที่ไม่ต้องการละเอียดถี่ถ้วน เป็นเพียงการคาดคะเนจานวน หรือปริมาณด้วยสายตาเท่านั้น ไม่จาเป็นต้องใช้เครืองวัด ่ เครื่องคานวณ หรือการนับแต่อย่างใด
  • 3. การบอกจานวนใด ๆ โดยวิธีการประมาณค่า นั้นนิยม บอกเป็นจานวนใกล้เคียงจานวนเต็มเช่น จานวนสิบ จานวนเต็มร้อย จานวนเต็มพัน จานวนเต็มหมืน จานวน ่ เต็มแสนจานวนเต็มล้าน ฯลฯ เป็นต้น 1.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ หมายถึงจานวนที่หลักหน่วยของเลข 2 หลักลงท้าย ด้วยเลข 0 เช่น 10 ,20 ,30 ,40 ,50 ,60 ,70 ,80 และ 90
  • 4. โดยให้พิจาณาเฉพาะเลขหลักหน่วยเท่านั้น ดังนี้ 1. ถ้าตัวเลขในหลักหน่วยมีค่าต่ากว่า 5 ให้เราประมาณค่า เป็นจานวนเต็มสิบน้อยกว่าเลขจานวนนั้น เช่น 324 หลักหน่วยของเลขจานวนนี้คือ 4 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 5 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มสิบของจานวนนี้คือ 320 ดูเส้นจานวนข้างล่างนี้ประกอบ 324 <------|------|------|------|------|------|------|------|------|-------> 320 321 322 323 324 325 326 327 328 329 330
  • 5. 2. ถ้าหลักหน่วยของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือ เท่ากับ 5 ให้เราประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มสิบ มากกว่าเลขจานวนนั้น เช่น 327 หลักหน่วยของเลข จานวนนี้คือ 7 เราก็สามารถประมาณค่าใกล้เคียงจานวน เต็มสิบของ เลขจานวนนี้คือ 330 326 <------|------|------|------|------|------|------|------|------|-------> 320 321 322 323 324 325 326 327 328 329 330
  • 6. 2.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย จานวนเต็มร้อยหมายถึงจานวนที่มีหลักหน่วย หลักสิบ ของเลข 3 หลักเป็นเลข 0 เช่น 100 , 200 , 300 , 400, 500 , 600 , 700, 800 และ 900 การประมาณค่าให้ ใกล้เคียงจานวนเต็มร้อย ทาได้โดยพิจาณาจากตัวเลข เฉพาะในหลักสิบของจานวนนั้น ๆ ดังนี้ 1. ถ้าตัวเลขในหลักสิบมีค่าต่ากว่า 50 ให้ประมาณค่า จานวนนั้นเป็นจานวนเต็มร้อยน้อยกว่าเลขจานวนนั้น
  • 7. เช่น จงประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 2, 320 แนวคิด จานวน 2,320 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อย คือ 2,300 กับ 2,400 และหลักสิบของเลขจานวนนี้คือ 20 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มร้อย ของจานวนนี้คือ 2,300 2,320 <----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|-----> 2,300 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2,400
  • 8. 2. ถ้าหลักสิบของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 50 ให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยมากกว่าจานวน นั้น เช่น ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มร้อยของ 2,370 แนวคิด จานวน 2,370 อยู่ระหว่างจานวนเต็มร้อย คือ 2,300 กับ 2,400 และหลักสิบของเลขจานวนนี้คือ 70 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มร้อย ของจานวนนี้คือ 2,400 2,370 <----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|-----> 2,300 10 20 30 40 50 60 70 80 90 2,400
  • 9. 3.การประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพัน จานวนเต็มพันหมายถึงจานวนที่มีหลักหน่วย สิบ หลักร้อย ของเลข 4 หลักเป็นเลข 0 เช่น1000 ,2000 ,3000, 4000,5000 ,6000 ,7000, 8000 และ9000 การประมาณค่า ให้ใกล้เคียงจานวนเต็มพัน ทาได้โดยพิจาณาจากตัวเลข เฉพาะในหลักร้อยของจานวนนั้น ๆ ดังนี้ 1. ถ้าตัวเลขในหลักร้อยมีค่าต่ากว่า 500 ให้ประมาณค่า จานวนนั้นเป็นจานวนเต็มร้อยน้อยกว่าเลขจานวนนั้น
  • 10. เช่น จงประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 41, 270 แนวคิด จานวน 41,270 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพัน คือ 41,000 กับ 42,000 และหลักร้อยของเลขจานวนนี้คือ270 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า 500 ให้เราประมาณค่าจานวนเต็มพัน ของจานวนนี้คือ 41,000 41,270 <----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|-----> 41,000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 42,000
  • 11. 2. ถ้าหลักร้อยของเลขจานวนนั้นมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 50 ให้ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันมากกว่าจานวน นั้น เช่น ประมาณค่าใกล้เคียงจานวนเต็มพันของ 41,770 แนวคิด จานวน 41,770 อยู่ระหว่างจานวนเต็มพัน คือ 41,000 กับ 42,000 และหลักร้อยของเลขจานวนนี้คือ 770 ซึ่งมีค่ามากกว่า 50 ให้เราประมาณค่าจานวน เต็มพัน ของจานวนนี้คือ 42,000 41,770 <----|-------|-------|-------|-------|-------|------|-------|-------|------|------|-----> 41,000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 42,000
  • 12. 1. จงหาค่าประมาณของผลบวกต่อไปนี้ (1) 2,672 + 2,438 + 8,616 (2) 2,107 + 596 + 5,632 (3) 412 + 363 + 915 (4) 8,352 + 2,153 + 695 (5) 1,123 + 3,261 + 345 (6) 62,148 – 8,612 (7) 21 – 12.6 + 13.13
  • 13. หลักการปัดเศษทศนิยม ให้ดูเฉพาะเลขโดดที่อยูถัดจาก ทศนิยมตาแหน่งทีต้องการไป ่ ่ ทางขวามือ ตัวเดียวเท่านั้น และทาได้ครังเดียวเท่านั้น ้ ถ้าต่ากว่า 5 ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 5 ขึ้นไปให้ปัดเป็นจานวนเต็ม
  • 14. หลักการปัดเศษทศนิยม การปัดเศษให้เป็นจานวนเต็ม โดยพิจารณา ตัวอย่าง จากทศนิยมตาแหน่งที่หนึง ่ 43.975  44 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 1 43.525  44 เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 1 ้ 43.497  44 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
  • 15. หลักการปัดเศษทศนิยม การปัดเศษให้เป็นทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากทศนิยมตาแหน่งที่สอง 43.874  43.9 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 0.1 43.854  43.9 เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 0.1 ้ 43.834  43.8 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
  • 16. หลักการปัดเศษทศนิยม การปัดเศษให้เป็นทศนิยมสองตาแหน่ง ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากทศนิยมตาแหน่งที่สาม 43.9782  43.98 มากกว่า 5 ปัดขึ้นไปเป็น 0.01 43.9753  43.98 เท่ากับ 5 ปัดขึนไปเป็น 0.01 ้ 43.9723  43.97 น้อยกว่า 5 ตัดทิ้ง
  • 17. แบบฝึกหัดเสริมทักษะ เรื่อง การปัดเศษ จงเติมจานวนในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อ จานวน จานวน จานวนเต็ม ทศนิยมหนึ่ง ทศนิยมสอง ที่ เต็มสิบ ตาแหน่ง ตาแหน่ง 1. 0.869 2. 9.875 3. 26.2386 4. 156.0345 5. 2,444.098
  • 18. เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง การปัดเศษ จงเติมจานวนในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ จานวน จานวนเต็ม จานวนเต็ม ทศนิยมหนึ่ง ทศนิยมสอง สิบ ตาแหน่ง ตาแหน่ง 1. 0.869 0 1 0.9 0.87 2. 9.875 0 10 9.9 9.88 3. 26.2386 30 26 26.2 26.24 4. 156.0345 160 156 156 156.03 5. 2,444.098 2,440 2,444 2,444.1 2,444.1
  • 19. ตัวอย่าง ถังน้ามันใบหนึ่งจุได้ 5,200 ลิตร เมื่อ ต้องตักน้ามัน ออกจากถังโดยใช้ถังเล็กขนาดจุ ได้ 1.8 ลิตร จะต้องตักอยู่กี่ครั้ง น้ามันจึงจะหมดถัง วิธีทา น้ามัน 5,200 ลิตร ถังตวงจุได้ 1.8 ลิตร ประมาณ 2 ลิตร ดังนั้น จะต้องตักอยู่ 5200  2600 2 ตอบ 2600 ครั้ง
  • 20. ตัวอย่าง คุณแม่ซื้อข้าวสารมา 142 บาท สบู่ 37 บาท ผงซักฟอก 95 บาท น้ามันพืช 27.75 บาท นมตราหมี 94.25 บาท จงหาว่าคุณแม่ จ่ายเงินไปประมาณกี่บาท วิธีทา 142  140 37  40 95  100 27 . 75  30 94 . 25  90 จะได้ 140+40+100+30+90 = 400 บาท ดังนั้น 142+37+95+27.75+94.25  400 บาท
  • 21. ลองทาดู คุณทาได้ 1. เมื่อปีการศึกษา 2540 จานวนประชากรประเทศไทยที่มีอายุที่อยู่ ในวัยเรียน อุดมศึกษา 4,658,191 คน แต่ปรากฏว่ามีผู้เรียนอยู่ใน ระดับนี้อยู่เพียง 39.2% ของจานวนประชากรในวันนี้จงหาว่า มี ผู้เรียนในระดับนี้กี่คนโดยประมาณ 2. วิทยุเครื่องหนึ่งราคา1,650บาท ถ้ามีผู้ซื้อเงินสดจะลดให้ 9%อยากทราบว่า ถ้าต้องซื้อสด ต้องจ่ายเงินประมาณกี่บาท
  • 22. 3. ต้องการตัดหญ้าในสนามที่มีขนาดกว้าง 21 เมตร ยาว 36 เมตร โดยเสียค่าใช้จ่ายเมตรละ0.95 บาท จงหาว่าจะต้องจ่ายเงินค่าจ้างตัด หญ้าประมาณกี่บาท 4. ถ้าต้องซื้อผ้ามาตัดเสื้อ 13.2 เมตร เมตรละ 12.5 บาท จะต้องจ่ายเงินประมาณกี่บาท