SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
Fruitandvegetableprocessing
การแปรรูปผักและผลไม้
โดยใช้ความร้อน
ผศ.ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน
วัตถุประสงค์
เพื่อการทาลายเชื้อจุลินทรีย์และเอนไซม์
ซึ่งการใช้ความร้อนในการแปรรูปมีข้อดี
 ไม่เกิดการตกค้างของสารเคมี
 ทาให้ผลิตภัณฑ์มีลักษณะที่สุก
 ทาลายเชื้อจุลินทรีย์
 ยืดอายุการเก็บอาหาร
ข้อด้อย เช่น ถ้าให้ความร้อนที่มากเกินไปจะทาให้กลิ่น
รสเปลี่ยนไป (over cooked) และคุณค่าทางอาหารลดลง
การแบ่งกลุ่มของอาหารตามความเป็นกรด-ด่าง
1. กลุ่มอาหารที่เป็นกรดต่า
 มีค่า pH สูงกว่า 4.5
 ได้แก่ เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก สัตว์น้า ไข่ นมและผลิตภัณฑ์ผักบาง
ชนิด เป็นต้น
2. กลุ่มอาหารที่เป็นกรด
 มีค่า pH ต่ากว่า 4.5
 ได้แก่ น้าผลไม้ ผลไม้ แยมและผลิตภัณฑ์อาหารหมักดอง
เป็นต้น
การแบ่งกลุ่มของอาหารทาให้สามารถกาหนดวิธีในการ
ให้ความร้อนให้เพียงพอเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา
อาหารที่เป็นกรด เชื้อจุลินทรีย์ Cl. botulinum ไม่สามารถ
เจริญและสร้างสารพิษ สามารถให้ความร้อนที่อุณหภูมิ
ต่ากว่าน้าเดือด (100°ซ) หรือการต้มให้เดือดแล้วทาให้
เย็นก็เพียงพอ
แต่อาหารที่เป็นกรดต่าจาเป็นต้องใช้ความร้อนสูงถึง 116
หรือ 121 °ซ เป็นระยะเวลาหนึ่ง (Borard, 1977)
ดังนั้นการปฏิบัติทางการค้าจึงมีการเติมสารเพื่อปรับค่า
pH ให้เป็นกรดเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ความร้อนสูง
เวลานาน เพราะมีผลต่อคุณค่าทางโภชนาการของ
อาหารนั้น
การแปรรูปด้วยความร้อน
การพาสเจอร์ไรซ์ (Pasteurization)
 พาสเจอร์ไรซ์เป็นกระบวนการให้ความร้อนเพื่อยับยั้งการ
ทางานของเอนไซม์และเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่ทนความร้อนที่เป็น
สาเหตุของการเสื่อมเสียของอาหาร
 ที่มีผลให้อาหารเกิดการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยในด้าน
ประสาทสัมผัสและคุณค่าทางโภชนาการ
การพาสเจอร์ไรซ์ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อทาลายสปอร์
ของเชื้อจุลินทรีย์กลุ่มที่ทนความร้อน (thermophilic) เช่น
Bacillus subtilis
แต่เชื้อจุลินทรีย์และสปอร์ของเชื้อส่วนใหญ่ไม่สามารถ
เจริญได้ในสภาวะที่น้าผลไม้เป็นกรด และน้าผลไม้ที่มี
การอัดก๊าซ (Carbonated juices)
การพาสเจอร์ไรซ์ที่อุณหภูมิและเวลาหนึ่งที่ทาลายเชื้อ
ยีสต์และราได้ก็เพียงพอ
ประเภทของการพาสเจอร์ไรซ์
 ระบบช้าอุณหภูมิต่า (Low temperature long time; LTLT) เป็น
ระบบที่ให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 60 °ซ นาน 30 นาที แล้วทา
ให้เย็นทันที เป็นวิธีที่สามารถทาได้ในระดับครัวเรือน
 ระบบเร็วอุณหภูมิสูง (High temperature short time; HTST)
เป็นระบบที่ให้ความร้อนในอุณหภูมิสูง เวลาสั้น เช่นที่
อุณหภูมิ 72 °ซ เวลา 15 วินาทีแล้วทาให้เย็นทันที มักทาเป็น
ระบบต่อเนื่องโดยใช้กับอาหารเหลว เช่น นม น้าผลไม้ ไหล
ผ่านแผ่นแลกเปลี่ยนความร้อน (plate heat exchanger) ใน
ความร้อนและระยะเวลาที่กาหนดตามชนิดของผลิตภัณฑ์
ผลของการพาสเจอร์ไรซ์ต่อคุณภาพอาหาร
น้าผลไม้การเสื่อมเสียหลักจากสีเปลี่ยนจากการทางานของ
เอนไซม์ PPO ยิ่งในสภาวะที่มีออกซิเจน
ดังนั้นก่อนการการพาสเจอร์ไรซ์น้าผลไม้จะต้องผ่าน
กระบวนการไล่อากาศออกก่อน
นอกจากนี้การกาจัดอากาศทาให้น้าผลไม้สูญเสียวิตามินซีและ
แคโรทีนอยด์ลดลง
การสูญเสียกลิ่นในน้าผลไม้จากการการพาสเจอร์ไรซ์จะเกิดขึ้น
เล็กน้อย ในบางผลิตภัณฑ์อาจมีการเติมกลิ่นหลังจากการการ
พาสเจอร์ไรซ์แต่จะเป็นการเพิ่มต้นทุนการผลิต
การผลิตน้าผลไม้พาสเจอร์ไรซ์
ชนิดของน้าผลไม้
 น้าผลไม้แท้
 น้าผลไม้กึ่งแท้
 น้าผลไม้เทียม
น้าผลไม้เข้มข้นมากกว่าร้อยละ 68 จะสามารถเก็บรักษา
น้าหวานไม่ให้เสื่อมเสียจากเชื้อจุลินทรีย์โดยไม่ต้องเติมสารกัน
เสีย ปกติน้าตาลจะละลายได้เพียงร้อยละ 67.5 ถ้าความหวาน
มากกว่านี้น้าตาลจะตกผลึกจึงจาเป็นต้องเติมกรดเพื่อเปลี่ยน
โครงสร้างน้าตาลทรายให้เป็นน้าตาลเชิงเดี่ยว (กลูโคสและฟรุค
โตส) มีผลให้น้าตาลทรายละลายได้มากขึ้น
ผลไม้สด
เนื้อผลไม้
การสกัดน้าผลไม้
วิธีทางกล วิธีทางชีวภาพ
น้าผลไม้
ปรับปรุงคุณภาพ
ปรับปรุงลักษณะ ปรับปรุงรสชาติ
น้าผลไม้คุณภาพดี
ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
บรรจุในภาชนะบรรจุปิดสนิท โดยการควบคุมอุณหภูมิไม่ต่า
กว่า 85 °ซ
ทาให้เย็นทันทีที่อุณหภูมิ 10-14 °ซ
น้าผลไม้บรรจุในภาชนะปิดสนิท
กระบวนการผลิตน้าผลไม้พาสเจอร์ไรซ์
การคัดเลือกวัตถุดิบ
 การทาความสะอาดวัตถุดิบ
การสกัดและการสกัดน้าผลไม้
การให้ความร้อนเบื้องต้น
การปรับปรุงคุณภาพ
การเอาอากาศออก
ขั้นตอนการให้ความร้อนฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และขั้นตอนการทาให้
เย็นทันที
1.การคัดเลือกวัตถุดิบ และทาความสะอาด
 ควรใช้ผลไม้สด ไม่มีตาหนิ และสุกเต็มที่ แต่ไม่สุก
จนเกินไป
 ผลไม้ที่มีคุณภาพดีเป็นผลไม้ที่สุกเต็มที่ในตอนกลาง
ของฤดูของผลไม้ จะมีน้าผลไม้ที่มีคุณภาพกว่าน้า
ผลไม้ในระยะแรกของการเก็บเกี่ยว และระยะหมด
ฤดูกาล
2.การสกัดและการสกัดน้าผลไม้
2.1 การสกัดโดยวิธีทางกล
 การบีบ การหีบ การตัด การตีป่น การสับหรือวิธีการสับหรือ
บีบอัดร่วมกัน
 การสกัดน้าผลไม้ด้วยวิธีนี้เหมาะสมกับน้าผลไม้ที่มีปริมาณ
น้ามาก และเซลเนื้อผลไม้มีขนาดยาว หรือเยื่อใยยาว มีสาร
ที่ละลายได้ในของเหลวและไม่อยู่ในสถานะของคอลลอยด์
 เมื่อกดหรือบีบรู้สึกว่ามีแรงต้านภายในแสดงว่ามีน้ามาก
 นอกจากนี้การใช้ความร้อนร่วมในการสกัดแต่ทั้งนี้ขึ้นกับ
ชนิดของผลไม้
การสกัดทางกายภาพร่วมกับความร้อนมีประโยชน์คือ
1) ทาให้แยกน้าและเนื้อออกจากเปลือกได้ง่าย
- ช่วยสกัดเพ็คตินลงในน้าผลไม้ทาให้น้าผลไม้ข้นขึ้น
- เอนไซม์เพ็คติเนสที่ทาให้ผลไม้เจือจางจะถูกทาลาย
ระหว่างการให้ความร้อน
2) ทาลายจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดการหมัก
3) ทาลายเอนไซม์ทาให้วิตามินซีลดลง
3) ทาให้ปริมาณน้าผลไม้สูง การให้ความร้อนกับผลไม้ทาให้
สกัดได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเนื้อเยื่อแตก สกัดสีดีกว่า และ
ทาลายเอนไซม์ เช่น องุ่น เชอรี่ สาลี มะเขือเทศ
2.1 การสกัดด้วยวิธีชีวภาพ
 หมายถึง การใช้สารชีวภาพ คือเอนไซม์เพื่อย่อยสลาย
เนื้อเยื่อผลไม้ให้มีโมเลกุลเล็กลงและเพียงพอที่จะปลดปล่อย
ของเหลวหรือน้าผลไม้ออกมาโดยไม่ต้องใช้แรงกดเนื้อเยื่อ
 การสกัดโดยวิธีนี้เหมาะกับผลไม้ที่มีน้ามาก และเซลล์เนื้อ
ผลไม้เป็นเซลล์ที่มีขนาดเล็ก หรือเยื่อใยมีลักษณะสั้นมีสารที่
ละลายได้ในลักษณะคอลลอยด์
 สังเกตได้ว่าเมื่อตีป่นผลไม้เหล่านี้จะได้ผลไม้ที่มีเนื้อข้นมาก
และน้าน้อย ได้แก่ กล้วย ทุเรียน น้อยหน่า ขนุน
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในน้าผลไม้สกัด
น้าผลไม้สดจะเกิดการเสื่อมเสียได้ง่าย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงส่วน
ใหญ่เกิดจาก
 1) การเกิดปฏิกิริยาเคมีที่มีอยู่ในน้าผลไม้ ทาลายกลิ่นรส
 2) เอนไซม์ในน้าผลไม้ทาลายสีและกลิ่นรส
 3) เกิดการหมักเนื่องจากรา ยีสต์และแบคทีเรีย
 4) อากาศที่มีอยู่ในน้าผลไม้ทาปฏิกิริยากับสารกลูโคซิดอล
(glucosidal) ทาให้เกิดรสขม
 5) วัตถุปลอมปนที่เกิดขึ้น เช่น โลหะที่มากับเครื่องมือจะ
ทาลายกลิ่นรส
3. การให้ความร้อนเบื้องต้น
 มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ
 ทาให้เอนไซม์ในน้าผลไม้เสียสภาพ เพื่อป้ องกันการเกิดสี
น้าตาลและปฏิกิริยาอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์และยังทา
ให้เนื้อเยื่อที่แขวนลอยกระจายตัวในน้าผลไม้
 เป็นการทาลายจุลินทรีย์ เช่น ยีสต์ รา และป้ องกันการ
เกิดสปอร์ของแบคทีเรีย เนื่องจากสปอร์ของแบคทีเรีย
ทาลายได้ยากกว่าเซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์ ซึ่งต้องผ่านความ
ร้อนไม่ต่ากว่า 820ซ ส่งผลให้คุณภาพของวัตถุดิบไม่
เปลี่ยนแปลง
4. การปรับปรุงคุณภาพ
 การปรับปรุงคุณภาพ หมายถึง การทาให้น้าผลไม้ที่
สกัดได้มีลักษณะคุณภาพตามความต้องการสาหรับน้า
ผลไม้ประเภทนั้นๆ เช่น น้าผลไม้ใส น้าผลไม้ขุ่น และ
น้าผลไม้ปรุงแต่งรสชาติ
 4.1 การทาให้น้าผลไม้ใส
 4.2 การทาให้น้าผลไม้ขุ่น
 4.3 การปรับปรุงคุณภาพด้านรสชาติ
ก. การทาให้น้าผลไม้ใส
น้าผลไม้ที่สกัดได้จะขุ่น เมื่อตั้งทิ้งไว้อาจจะแยกชั้น หรือ
ตกตะกอนทาให้มีลักษณะเหมือนไม่สด หรือไม่เป็นที่พอใจของ
ผู้บริโภค ได้แก่ น้าองุ่น น้าแอปเปิ้ล
ซึ่งสามารถปรับปรุงลักษณะดังกล่าวได้โดยการกรอง
แต่การกรองจะต้องใช้สารช่วยกรอง (filter aids) ได้แก่ filter
earth celite สารประกอบนี้จะไม่ดูดสี กลิ่นของน้าผลไม้
การใช้เอนไซม์
ข. การทาให้น้าผลไม้ขุ่น
ได้แก่ น้าสับปะรด น้าส้ม น้าฝรั่ง
 น้าผลไม้ขุ่นทาให้ผู้บริโภครับความรู้สึกว่าได้บริโภคเนื้อ
ผลไม้ด้วย
สามารถทาได้โดยใช้สารเสริมความคงตัว หรือการ
แขวนลอยของเนื้อผลไม้ เช่น มอลโตเด็กซ์ทรินท์ กัม
ต่างๆ รวมไปถึงแป้ งปุก
ค. การปรับปรุงคุณภาพด้านรสชาติ
น้าผลไม้แท้ตามที่กฎหมายกาหนด หมายถึง น้าผลไม้ที่
ไม่มีการเติมแต่งใดๆ ด้านคุณภาพทั้งสิ้น
แต่สาหรับการผลิตเพื่อการค้า บางครั้งการควบคุม
คัดเลือกวัตถุดิบไม่สามารถทาให้สมบูรณ์ได้
 เพราะผลไม้มีอายุพันธุ์ที่แตกต่างกัน
 จาเป็นต้องมีการปรับปรุงรสชาติให้มีความเหมาะสม
1) การปรับปรุงรสเปรี้ยว
การปรับปรุงรสโดยทั่วไปจะใช้กรดมะนาว หรือมาลิก
เพื่อปรับปรุงรสชาติน้าผลไม้ให้มีความเป็นกรดต่ากว่า
pH 3.5 ซึ่งจัดเป็นอาหารที่มีความเป็นกรดสูง (high acid
food)
อาหารประเภทนี้สามารถใช้อุณหภูมิ 88 °ซ 15 วินาที
(HTST) หรือ 65 °ซ 30 นาที (LTLT) ในการฆ่า
เชื้อจุลินทรีย์
ปรับปรุงรสเปรี้ยวมีประโยชน์ 2 ประการ
1) ให้รสชาติตามธรรมชาติของน้าผลไม้
2) ทาให้อาหารมีความเป็นกรดสูง สามารถให้ความร้อนต่า
กว่าจุดเดือดในการฆ่าเชื้อได้
ซึ่งช่วยให้น้าผลไม้มีคุณภาพด้านต่างๆ เช่น สี กลิ่น
สารอาหาร ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติโดยไม่ต้อง
เติมสารกันบูดใดๆ
2) การปรับปรุงด้านรสหวาน
รสหวานในน้าผลไม้ส่วนใหญ่มาจากการเติมน้าตาลอิน
เวอร์ต ได้แก่ กลูโคสและฟรุคโตส
การเติมน้าตาลโดยทั่วไปเติมได้ไม่เกิน 13 องศาบริกซ์
หรืออาจกล่าวได้ว่าถ้ามีการเติมน้าตาลซูโครสได้อีกความ
เข้มข้นไม่เกินร้อยละ 6-7
3) การเสริมรสหรือเน้นรสชาติของน้าผลไม้
จะเน้นรสชาติด้วยเกลือเล็กน้อย
ความเข้มข้นไม่เกินร้อยละ 0.05-0.10
นอกจากนี้รสเค็มที่มาจากเกลือจะสามารถช่วยให้รส
หวานและรสเปรี้ยวไม่จัดจนเกินไป
3.1.5.6 การเอาอากาศออก
อากาศเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้น้าผลไม้เปลี่ยนแปลงกลิ่นรส ทา
ให้มีกลิ่นหุงต้ม ทาลายกลิ่นหอม
เพราะว่าเกิดปฏิกิริยาทางเคมี เสียคุณค่าทางอาหาร เช่น
วิตามินซี
สามารถกาจัดอากาศออกด้วยเครื่องกาจัดอากาศ (deaerator)
ซึ่งเป็นระบบสุญญากาศที่อุณหภูมิ 60 ซ
หรือการคนเบาๆขณะที่ร้อนเป็นขั้นตอนที่จะทาก่อนการพาส
เจอร์ไรส์
3.1.5.7 ขั้นตอนการให้ความร้อนฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และขั้นตอนการทาให้เย็น
2 ลักษณะ คือ
 ก. การให้ความร้อนก่อนบรรจุในภาชนะบรรจุ
 ข. การให้ความร้อนหลังการบรรจุในภาชนะบรรจุปิดสนิท
2. การสเตอริไลซ์ (Sterilization)
การสเตอริไลซ์เป็นกระบวนการให้ความร้อนแก่อาหารที่
อุณหภูมิสูงและเวลานานเพียงพอที่จะทาลายเชื้อจุลินทรีย์และ
เอนไซม์
ทาให้อาหารที่ผ่านการสเตอริไลซ์มีอายุการเก็บรักษาอย่างน้อย
6 เดือน
แต่การให้ความร้อนที่รุนแรงในระหว่างการสเตอริไลซ์นั้น
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านคุณค่าทางโภชนาการและ
ประสาทสัมผัส
2.1 ผลของการสเตอริไลซ์ต่อคุณภาพอาหาร
คลอโรฟิลล์เปลี่ยนไปเป็นฟีโอไฟทิน (pheophytin)
ในการผลิตถั่วลันเตากระป๋ องจะเติมสารละลายซิงค์คลอ
ไรด์ (ZnCl2) 300 ppm เพื่อให้คลอโรฟิลล์เกิด
สารประกอบเชิงซ้อนเป็น ซิงค์ฟีโอไฟติน และซิงค์ไพ
โรฟีโอไฟติน ที่มีสีเขียวเหมือนวัตถุดิบเริ่มต้น
การเปลี่ยนแปลงเนื้อสัมผัสจะนิ่มลง เพราะเกิดปฏิกิริยา
ไฮโดรไลซีสของสารประกอบเพ็คติน
 การเกิดเจลของแป้ ง
การละลายตัวของเฮมิเซลลูโลสทาให้เซลล์สูญเสียความ
เต่งเซลล์ (cell turgor)
ซึ่งปรับปรุงลักษณะเนื้อสัมผัสได้โดยการเติมเกลือ
แคลเซียมลงในน้าลวกหรือในน้าเชื่อมเพื่อให้เกิดการ
สร้างแคลเซียมเพคเตทที่ไม่ละลายน้า
2.2 การผลิตผักและผลไม้กระป๋ อง
ระดับความร้อนต้องเพียงพอสาหรับการทาลายสปอร์ของ
แบคทีเรียที่ชอบเจริญในสภาวะอุณหภูมิสูง (Thermophillic
bacteria)
การฆ่าเชื้อของอาหารกระป๋ อง ต้องใช้ความร้อนให้เพียงพอใน
การทาลายสปอร์ของเชื้อ Clostridium botulinum โดยเฉพาะ
อาหารกระป๋ องที่มีความเป็นกรดต่า เพราะเชื้อชนิดนี้เจริญได้ดี
ในอุณหภูมิปกติ (mesophile) และไม่ต้องการอากาศ (anaerobe)
การผลิตผักและผลไม้กระป๋ อง
การเตรียมวัตถุดิบ
การลวกด้วยน้าร้อน (blanching)
การบรรจุ (filling)
การไล่อากาศ (exhausting)
การปิดผนึก (seaming)
การฆ่าเชื้อ (sterilize)
การทาให้เย็น

More Related Content

What's hot

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8Gawewat Dechaapinun
 
สีผสมอาหาร
สีผสมอาหารสีผสมอาหาร
สีผสมอาหารsakikitty
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติPostharvest Technology Innovation Center
 
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZoneอะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZonePipat Kittiwongsirikul
 
การจัดการของเสียไบโอดีเซล
การจัดการของเสียไบโอดีเซลการจัดการของเสียไบโอดีเซล
การจัดการของเสียไบโอดีเซลratleesing
 
ประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อมประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อมJetsadakorn Luangmanee
 
Protein
ProteinProtein
Proteinsailom
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยkansuda wongsasuwan
 

What's hot (15)

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
 
8
88
8
 
Plant extraction 4 04 2015
Plant extraction  4  04 2015Plant extraction  4  04 2015
Plant extraction 4 04 2015
 
สีผสมอาหาร
สีผสมอาหารสีผสมอาหาร
สีผสมอาหาร
 
สีในอาหาร
สีในอาหารสีในอาหาร
สีในอาหาร
 
สีในอาหาร
สีในอาหารสีในอาหาร
สีในอาหาร
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
 
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZoneอะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
 
การจัดการของเสียไบโอดีเซล
การจัดการของเสียไบโอดีเซลการจัดการของเสียไบโอดีเซล
การจัดการของเสียไบโอดีเซล
 
ประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อมประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม
ประโยชน์ของแอนโทไซยานินที่มีต่อข้าว ในสภาวะเครียดจากสิ่งแวดล้อม
 
EM academic summary final
EM academic summary  final EM academic summary  final
EM academic summary final
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Agri present 102011
Agri present 102011Agri present 102011
Agri present 102011
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
 
สำเร๊จ
สำเร๊จสำเร๊จ
สำเร๊จ
 

Viewers also liked

การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมการศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมรอมลี เจะดอเลาะ
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปGawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 

Viewers also liked (12)

การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมการศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
 
2
22
2
 
ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
2
22
2
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
7
77
7
 
4
44
4
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
ˆ 7
ˆ 7ˆ 7
ˆ 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to 6

บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10AKii Fam
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัยwiyadanam
 
Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Jitty Charming
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptxสารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptxssusercf2bfa
 
ปุ๋ยอินทรีย์
ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยอินทรีย์
ปุ๋ยอินทรีย์attapoll leggang
 

Similar to 6 (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
3
33
3
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Plant hormone
Plant hormonePlant hormone
Plant hormone
 
Plant hormone
Plant hormonePlant hormone
Plant hormone
 
5
55
5
 
Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptxสารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
06 food-additive[1]
06 food-additive[1]06 food-additive[1]
06 food-additive[1]
 
ปุ๋ยอินทรีย์
ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยอินทรีย์
ปุ๋ยอินทรีย์
 
12
1212
12
 
12
1212
12
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 

6