SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
เรียบเรียงเนื้อหาโดย อ.ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
2.3 การค้านวณสูตรน้าเคลือบ
2.3.1 การค้านวณสูตรน้าเคลือบ
การค้านวณสูตรเซเกอร์
การคานวณสูตรเซเกอร์จากส่วนผสมของหินฟันม้า 100 ส่วน และหินปูน 10 ส่วน สมมติว่า หินฟันม้ามี
ส่วนผสมทางเคมี ดังแสดงในตารางที่ 1 และหินปูนนั้นบริสุทธิ์
วิธีท้า
1. หามวลโมเลกุลของออกไซด์แต่ละชนิด
2. นามวลโมเลกุลไปหารน้าหนักที่มีหน่วยเป็นกรัม
โมล =
น้าหนักของออกไซด์ (กรัม)
มวลโมเลกุล (กรัม)
3. ผลรวมค่าโมลของด่างให้ได้เท่ากับ 1 โดยรวมค่าโมลของด่างทั้งหมด แล้วนาไปหารค่าโมลของออกไซด์ทุกตัว
จะได้ค่าโมลใหม่ ที่ผลรวมของด่างเท่ากับ 1
4. จัดกลุ่มออกไซด์ให้เป็น 3 กล่ม คือ ด่าง กลาง กรด จะได้สูตรเซเกอร์ ที่สามารถนาไปใช้คานวณหาส่วนผสม
ของวัตถุดิบได้
ตารางที่ 1 องค์ประกอบทางเคมีของวัตถุดิบและการคานวณสูตรเซเกอร์
ด่าง กลาง กรด
K2O Na2O CaO Al2O3 SiO2
หินฟันม้า 100 กรัม
หินปูน 10 กรัม
ออกไซด์รวม
10.42
10.42
3.48
3.48
-
5.61*
5.61
18.57
18.57
66.74
66.74
ออกไซด์แต่ละ
ตัวหารด้วยน้าหนัก
โมเลกุลได้เป็นค่า
โมล
0.11 0.056 0.10 0.182 1.111
รวมค่าโมลของด่าง
ให้เท่ากับ 1 เอาค่า
(0.11+0.056+0.10)
0.11/0.266 0.056/0.266 0.10/0.266 0.182/0.266 1.111/0.266
0.416 0.210 0.374 0.682 4.16
20
=0.266
มวลโมเลกุลของออกไซด์ต่างๆ
K2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ (39.0983x2) + 15.999 = 91.1956 g/mole ≈ 91.2 g/mole
Na2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ (22.9898x2) + 15.999 = 61.9786 g/mole ≈ 62.0 g/mole
CaO มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40.078 + 15.999 = 56.077 g/mole ≈ 56.1 g/mole
Al2O3 มีมวลโมเลกุลเท่ากับ (26.9815x2) + (15.999x3) = 101.96 g/mole ≈ 102.0 g/mole
SiO2 มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 28.085 + (15.999x2) = 60.083 g/mole ≈ 60.1 g/mole
จะได้สูตรเซเกอร์
กลุ่มด่าง กลุ่มกลาง กลุ่มกรด
0.42 K2O 0.68 Al2O3 4.16 SiO2
0.21 Na2O
0.37 CaO
การค้านวณส่วนผสมจากสูตรเซเกอร์
วิธีท้า
1) นาสูตรเซเกอร์มาใส่ค่าโมลดังตารางที่ 1
2) เลือกวัตถุดิบที่ให้โพแทซ นั้นคือ โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์
3) แล้วคูณด้วยค่าโมลที่เท่ากันกับที่อยู่ในสูตรเซเกอร์ของโพแทซเซียมออกไซด์ และค่าโมลที่อยู่ในมวล
โมเลกุลของโพแทซเซียมเฟลด์สปาร์
4) นาค่าโมลที่คูณได้ไปลบออกจากค่าโมลในสูตรเซเกอร์
5) เลือกวัตถุดิบตัวต่อไป ทาซ้าเหมือนในข้อที่ 3-4
21
6) สุดท้ายค่าโมลในสูตรเซเกอร์จะหมดไป เราจะได้ค่าโมลของวัตถุดิบที่จะใช้ในการเตรียมเคลือบ
7) จากนั้นแปลงค่าโมลของวัตถุดิบให้เป็นค่าน้าหนัก โดยคูณวัตถุดิบแต่ละตัวด้วยมวลโมเลกุลของตัวเอง
8) คิดเป็นค่าร้อยละของวัตถุดิบ
ตารางที่ 2 สูตรเซเกอร์และการคานวณหาปริมาณวัตถุดิบที่ใช้
ด่าง กลาง กรด
K2O Na2O CaO Al2O3 SiO2
จากสูตรเซเกอร์ 0.416 0.210 0.374 0.682 4.16
0.416 x ค่าโมลของ
โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์
(K2O•Al2O3•6SiO2)
0.416 - - 0.416 2.496
คงเหลือ - 0.210 0.374 0.266 1.664
0.210 x ค่าโมลของ
โซเดียมเฟลด์สปาร์
(Na2O•Al2O3•6SiO2)
- 0.210 - 0.210 1.260
คงเหลือ - - 0.374 0.056 0.404
0.374 x ค่าโมลของ
หินปูน
(CaCO3)
- - 0.374 - -
คงเหลือ - - - 0.056 0.404
0.056 x ค่าโมลของ
ดินขาว (Al2O3•2SiO2•2H2O)
- - - 0.056 0.112
คงเหลือ - - - - 0.292
0.292 x ค่าโมลของ - - - - 0.292
22
ควอตซ์ (SiO2)
คงเหลือ - - - - -
มวลโมเลกุลของวัตถุดิบต่างๆ
โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ (K2O•Al2O3•6SiO2)
มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 91.1956 + 101.96 + (60.083x6) ≈ 553.8 g/mole
โซเดียมเฟลด์สปาร์ (Na2O•Al2O3•6SiO2)
มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 61.9786 + 101.96 + (60.083x6) ≈ 524.6 g/mole
หินปูน (CaCO3) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40.078 + 12.011 + (15. 999x3) ≈ 100.1 g/mole
ดินขาว (Al2O3•2SiO2•2H2O)
มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 101.96 + (60.083x2) + (18.015x2) ≈ 258.2 g/mole
ควอตซ์ (SiO2) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 28.085 + (15.999x2) ≈ 60.1 g/mole
จะได้ส่วนผสมจากสูตรเซเกอร์
โดยวัตถุดิบที่จะนามาใช้สาหรับสูตรเคลือบตามเซเกอร์ คือ
1) โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ = 0.416 โมล x 553.8 กรัม/โมล = 230.38 กรัม
2) โซเดียมเฟลด์สปาร์ = 0.210 โมล x 524.6 กรัม/โมล = 110.17 กรัม
3) หินปูน = 0.374 โมล x 100.1 กรัม/โมล = 37.44 กรัม
4) ดินขาว = 0.056 โมล x 258.2 กรัม/โมล = 14.46 กรัม
5) ควอตซ์ = 0.292 โมล x 60.1 กรัม/โมล = 17.55 กรัม
น้าหนักรวม = 230.38 + 110.17 + 37.44 + 14.46 + 17.55 = 410 กรัม
23
หากคิดเป็นร้อยละของวัตถุดิบที่ใช้จะได้
1) หินฟันม้าโพแทซ = 230.38 กรัม/410 กรัม x 100 = 56.19%
2) หินฟันม้าโซเดียม = 110.17 กรัม/410 กรัม x 100 = 26.87%
3) หินปูน = 37.44 กรัม/410 กรัม x 100 = 9.13%
4) ดินขาว = 14.46 กรัม/410 กรัม x 100 = 3.53%
5) ควอตซ์ = 17.55 กรัม/410 กรัม x 100 = 4.28%
รวม = 100%
ค้าตอบ
เพราะฉะนั้นจะต้องใช้ หินฟันม้าโพแทซ ร้อยละ 56.19
หินฟันม้าโซเดียม ร้อยละ 26.87
หินปูน ร้อยละ 9.13
ดินขาว ร้อยละ 3.53
ควอตซ์ ร้อยละ 4.28

More Related Content

What's hot

ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลKrujake
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryPipat Chooto
 

What's hot (20)

3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
ครูศจี .โมล
ครูศจี .โมลครูศจี .โมล
ครูศจี .โมล
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 

Viewers also liked

Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07Resgate Cambuí
 
Batson_ Design Samples
Batson_ Design SamplesBatson_ Design Samples
Batson_ Design SamplesChelsey Batson
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
Hardship fund reform expected changes (part ii) 3 of 6
Hardship fund reform   expected changes (part ii) 3 of 6Hardship fund reform   expected changes (part ii) 3 of 6
Hardship fund reform expected changes (part ii) 3 of 6Eri Mountbatten-O'Malley
 
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedGeriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedSukanya Jongsiri
 
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2Digital Catapult
 
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?Danny Kingsley
 
Ner horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementationNer horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementationDibyendu Sarkar, IAS
 
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...'Denish Makvana'
 

Viewers also liked (15)

Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
Suspensao do pregao_presencial_1982013_2013-09-26_00_08_07
 
Batson_ Design Samples
Batson_ Design SamplesBatson_ Design Samples
Batson_ Design Samples
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
Jardin
JardinJardin
Jardin
 
Hardship fund reform expected changes (part ii) 3 of 6
Hardship fund reform   expected changes (part ii) 3 of 6Hardship fund reform   expected changes (part ii) 3 of 6
Hardship fund reform expected changes (part ii) 3 of 6
 
6
66
6
 
Trabajo de grado
Trabajo de gradoTrabajo de grado
Trabajo de grado
 
9
99
9
 
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedGeriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
 
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
EVRYTHNG - LPWAN Meetup #2
 
Romen dwellings
Romen dwellingsRomen dwellings
Romen dwellings
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?What is ‘research impact’ in an interconnected world?
What is ‘research impact’ in an interconnected world?
 
Ner horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementationNer horizons in MGNREGA implementation
Ner horizons in MGNREGA implementation
 
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
Rural Infrastructure Development Projects Under MGNREGA, Clean Village : A St...
 

Similar to Chapter 2.3 glaze calculations

Chem
ChemChem
Chemaom08
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2konosor
 
Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1surattaya
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)N-nut Piacker
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 25629GATPAT1
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 

Similar to Chapter 2.3 glaze calculations (10)

Chem
ChemChem
Chem
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
Ent chem48
Ent chem48Ent chem48
Ent chem48
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
008 pat 2
008 pat 2008 pat 2
008 pat 2
 
Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1Science (chemistry) o-anet_1
Science (chemistry) o-anet_1
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)
 
กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562กสพท. เคมี 2562
กสพท. เคมี 2562
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

Chapter 2.3 glaze calculations

  • 1. เรียบเรียงเนื้อหาโดย อ.ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 2.3 การค้านวณสูตรน้าเคลือบ 2.3.1 การค้านวณสูตรน้าเคลือบ การค้านวณสูตรเซเกอร์ การคานวณสูตรเซเกอร์จากส่วนผสมของหินฟันม้า 100 ส่วน และหินปูน 10 ส่วน สมมติว่า หินฟันม้ามี ส่วนผสมทางเคมี ดังแสดงในตารางที่ 1 และหินปูนนั้นบริสุทธิ์ วิธีท้า 1. หามวลโมเลกุลของออกไซด์แต่ละชนิด 2. นามวลโมเลกุลไปหารน้าหนักที่มีหน่วยเป็นกรัม โมล = น้าหนักของออกไซด์ (กรัม) มวลโมเลกุล (กรัม) 3. ผลรวมค่าโมลของด่างให้ได้เท่ากับ 1 โดยรวมค่าโมลของด่างทั้งหมด แล้วนาไปหารค่าโมลของออกไซด์ทุกตัว จะได้ค่าโมลใหม่ ที่ผลรวมของด่างเท่ากับ 1 4. จัดกลุ่มออกไซด์ให้เป็น 3 กล่ม คือ ด่าง กลาง กรด จะได้สูตรเซเกอร์ ที่สามารถนาไปใช้คานวณหาส่วนผสม ของวัตถุดิบได้ ตารางที่ 1 องค์ประกอบทางเคมีของวัตถุดิบและการคานวณสูตรเซเกอร์ ด่าง กลาง กรด K2O Na2O CaO Al2O3 SiO2 หินฟันม้า 100 กรัม หินปูน 10 กรัม ออกไซด์รวม 10.42 10.42 3.48 3.48 - 5.61* 5.61 18.57 18.57 66.74 66.74 ออกไซด์แต่ละ ตัวหารด้วยน้าหนัก โมเลกุลได้เป็นค่า โมล 0.11 0.056 0.10 0.182 1.111 รวมค่าโมลของด่าง ให้เท่ากับ 1 เอาค่า (0.11+0.056+0.10) 0.11/0.266 0.056/0.266 0.10/0.266 0.182/0.266 1.111/0.266 0.416 0.210 0.374 0.682 4.16
  • 2. 20 =0.266 มวลโมเลกุลของออกไซด์ต่างๆ K2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ (39.0983x2) + 15.999 = 91.1956 g/mole ≈ 91.2 g/mole Na2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ (22.9898x2) + 15.999 = 61.9786 g/mole ≈ 62.0 g/mole CaO มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40.078 + 15.999 = 56.077 g/mole ≈ 56.1 g/mole Al2O3 มีมวลโมเลกุลเท่ากับ (26.9815x2) + (15.999x3) = 101.96 g/mole ≈ 102.0 g/mole SiO2 มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 28.085 + (15.999x2) = 60.083 g/mole ≈ 60.1 g/mole จะได้สูตรเซเกอร์ กลุ่มด่าง กลุ่มกลาง กลุ่มกรด 0.42 K2O 0.68 Al2O3 4.16 SiO2 0.21 Na2O 0.37 CaO การค้านวณส่วนผสมจากสูตรเซเกอร์ วิธีท้า 1) นาสูตรเซเกอร์มาใส่ค่าโมลดังตารางที่ 1 2) เลือกวัตถุดิบที่ให้โพแทซ นั้นคือ โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ 3) แล้วคูณด้วยค่าโมลที่เท่ากันกับที่อยู่ในสูตรเซเกอร์ของโพแทซเซียมออกไซด์ และค่าโมลที่อยู่ในมวล โมเลกุลของโพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ 4) นาค่าโมลที่คูณได้ไปลบออกจากค่าโมลในสูตรเซเกอร์ 5) เลือกวัตถุดิบตัวต่อไป ทาซ้าเหมือนในข้อที่ 3-4
  • 3. 21 6) สุดท้ายค่าโมลในสูตรเซเกอร์จะหมดไป เราจะได้ค่าโมลของวัตถุดิบที่จะใช้ในการเตรียมเคลือบ 7) จากนั้นแปลงค่าโมลของวัตถุดิบให้เป็นค่าน้าหนัก โดยคูณวัตถุดิบแต่ละตัวด้วยมวลโมเลกุลของตัวเอง 8) คิดเป็นค่าร้อยละของวัตถุดิบ ตารางที่ 2 สูตรเซเกอร์และการคานวณหาปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ ด่าง กลาง กรด K2O Na2O CaO Al2O3 SiO2 จากสูตรเซเกอร์ 0.416 0.210 0.374 0.682 4.16 0.416 x ค่าโมลของ โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ (K2O•Al2O3•6SiO2) 0.416 - - 0.416 2.496 คงเหลือ - 0.210 0.374 0.266 1.664 0.210 x ค่าโมลของ โซเดียมเฟลด์สปาร์ (Na2O•Al2O3•6SiO2) - 0.210 - 0.210 1.260 คงเหลือ - - 0.374 0.056 0.404 0.374 x ค่าโมลของ หินปูน (CaCO3) - - 0.374 - - คงเหลือ - - - 0.056 0.404 0.056 x ค่าโมลของ ดินขาว (Al2O3•2SiO2•2H2O) - - - 0.056 0.112 คงเหลือ - - - - 0.292 0.292 x ค่าโมลของ - - - - 0.292
  • 4. 22 ควอตซ์ (SiO2) คงเหลือ - - - - - มวลโมเลกุลของวัตถุดิบต่างๆ โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ (K2O•Al2O3•6SiO2) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 91.1956 + 101.96 + (60.083x6) ≈ 553.8 g/mole โซเดียมเฟลด์สปาร์ (Na2O•Al2O3•6SiO2) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 61.9786 + 101.96 + (60.083x6) ≈ 524.6 g/mole หินปูน (CaCO3) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 40.078 + 12.011 + (15. 999x3) ≈ 100.1 g/mole ดินขาว (Al2O3•2SiO2•2H2O) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 101.96 + (60.083x2) + (18.015x2) ≈ 258.2 g/mole ควอตซ์ (SiO2) มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 28.085 + (15.999x2) ≈ 60.1 g/mole จะได้ส่วนผสมจากสูตรเซเกอร์ โดยวัตถุดิบที่จะนามาใช้สาหรับสูตรเคลือบตามเซเกอร์ คือ 1) โพแทซเซียมเฟลด์สปาร์ = 0.416 โมล x 553.8 กรัม/โมล = 230.38 กรัม 2) โซเดียมเฟลด์สปาร์ = 0.210 โมล x 524.6 กรัม/โมล = 110.17 กรัม 3) หินปูน = 0.374 โมล x 100.1 กรัม/โมล = 37.44 กรัม 4) ดินขาว = 0.056 โมล x 258.2 กรัม/โมล = 14.46 กรัม 5) ควอตซ์ = 0.292 โมล x 60.1 กรัม/โมล = 17.55 กรัม น้าหนักรวม = 230.38 + 110.17 + 37.44 + 14.46 + 17.55 = 410 กรัม
  • 5. 23 หากคิดเป็นร้อยละของวัตถุดิบที่ใช้จะได้ 1) หินฟันม้าโพแทซ = 230.38 กรัม/410 กรัม x 100 = 56.19% 2) หินฟันม้าโซเดียม = 110.17 กรัม/410 กรัม x 100 = 26.87% 3) หินปูน = 37.44 กรัม/410 กรัม x 100 = 9.13% 4) ดินขาว = 14.46 กรัม/410 กรัม x 100 = 3.53% 5) ควอตซ์ = 17.55 กรัม/410 กรัม x 100 = 4.28% รวม = 100% ค้าตอบ เพราะฉะนั้นจะต้องใช้ หินฟันม้าโพแทซ ร้อยละ 56.19 หินฟันม้าโซเดียม ร้อยละ 26.87 หินปูน ร้อยละ 9.13 ดินขาว ร้อยละ 3.53 ควอตซ์ ร้อยละ 4.28