SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
บทที่ 1
ศึกษาความหมายและความ
เป็นมาของวิชาเทววิทยา
เทววิทยา (Theology)
•คำว่ำ “เทววิทยำ” ในพจนำนุกรมฉบับ
รำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 ได้ให้ควำมหมำยไว้
ว่ำ “วิชำที่ว่ำด้วยพระเจ้ำ (God) และ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพระเจ้ำกับโลก”
นอกจำกคำว่ำ “เทววิทยำ” แล้ว ในทำงอภิปรัชญำยังมี
คำที่ใช้ในลักษณะเดียวกันอีกคำหนึ่งคือคำว่ำ “เทวนิยม”
(Theism)ซึ่งหมำยถึงลัทธิที่เชื่อว่ำ “มีพระเจ้ำผู้ทรง
อำนำจยิ่งใหญ่พระองค์เดียว พระเจ้ำนั้นทรงอำนำจ
ครอบครองโลก และสำมำรถดลบันดำลควำมเป็นไปในโลก”
ดังนั้นจะเห็นว่ำ เทววิทยำ ในทำงอภิปรัชญำจะเน้นว่ำ พระ
เจ้ำมีอยู่จริง เป็นสิ่งที่มีอยู่อย่ำงเที่ยงแท้ถำวร ไม่ใช่เป็นเพียง
อุดมคติตำมทัศนะของธรรมชำตินิยมบำงพวกเข้ำใจเท่ำนั้น
เทววิทยำ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. เทววิทยำธรรมชำติ (Natural Theology)
2. เทววิทยำวิวรณ์ (Revealed or Sacred Theology)
เทววิทยำธรรมชำติ หมำยถึง พระเจ้ำเปิดเผยสัจจะไว้ในธรรมชำติโดย
ให้มนุษย์ใช้ควำมสำมำรถของตนค้นคว้ำไปเรื่อย ๆ หมำยควำมว่ำ ควำม
จริงหรือสัจภำวะนั้น มิได้ปรำกฏเพียงแต่ในคัมภีร์ หำกแต่ปรำกฎใน
ธรรมชำติด้วย และกฎธรรมชำตินั้นเป็นกฎที่แน่นอนตำยตัว ไม่ว่ำมนุษย์จะ
เอำไปตีควำมอย่ำงไร กฎก็ยังคงเดิมเป็นนิรันดร์
เทววิทยำวิวรณ์ หมำยถึง กำรเปิดเผยโดยตรงของพระ
เจ้ำ หรือที่เรียกว่ำ “เทวบันดำล” คือกำรที่พระเจ้ำทรงเปิดเผย
ควำมรู้แก่มนุษย์ผู้ที่ทรงเลือกแล้ว เช่นเปิดเผยบัญญัติ 10
ประกำรให้แก่โมเสส หรือคัมภีร์ไบเบิ้ลแก่พระเยซู หรือ
คัมภีร์อัลกุรอ่ำนแก่ท่ำนนะบีมูฮัมหมัด เป็นต้น
ลักษณะของวิวรณ์นั้นมี 2 ลักษณะคือ
การที่สิ่งเหนือธรรมชาติเปิดเผยความรู้แก่มนุษย์ สิ่งเหนือธรรมชาติ
ที่ว่านั้นได้แก่ พระเจ้า พระองค์เป็นผู้ทรงความรู้ เพราะเป็นผู้รอบรู้ทุก
อย่าง ทั้งอดีต ปัจจุบันและอนาคต เป็นผู้เปิดเผยความรู้ของพระองค์
แก่มนุษย์ ความรู้ที่ได้จากการเปิดเผยของสิ่งเหนือธรรมชาติ เมื่อพระ
เจ้าเปิดเผยความรู้แก่มนุษย์แล้ว จะสังเกตได้ว่ามนุษย์เรามีความรู้ซึ่ง
ได้จากการเปิดเผยของพระเจ้า เพราะหากพระองค์ไม่เปิดเผยความรู้
แก่มนุษย์ มนุษย์ไม่สามารถจะมีความรู้ได้เลย
พระเจ้าคืออะไร
กับคาถามที่ว่า พระเจ้าคืออะไร ? เมื่อเกิดปัญหาอย่างนี้ เป็น
ปัญหาที่ง่าย แต่ยากที่จะให้คาตอบ และพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ เพราะ
จะระบุลงไปโดยชัดเจนว่า พระเจ้าเป็นสิ่งนั้น สิ่งนี้ไม่ได้ เพื่อให้
เข้าใจเกี่ยวกับพระเจ้า นักปรัชญาจึงพยายามหาคาตอบโดย
กล่าวถึงลักษณะหรือธรรมชาติของพระเจ้าว่าเป็นอย่างไร เกี่ยวกับ
ธรรมชาติของพระเจ้า นักปรัชญาฝ่ ายเทวนิยมได้กล่าวไว้ต่าง ๆ
กัน พอจะสรุปได้ดังนี้
1. พระเจ้าเป็นสิ่งที่ไม่จากัด เป็นสิ่งนิรันดรและเป็นสิ่งที่มีอยู่ด้วย
ตัวเอง พระเจ้าเป็นสิ่งที่ไม่จากัด หมายความว่า มีอานาจอย่างไม่
สิ้นสุด ไม่ขึ้นอยู่กับอวกาศ แต่แสดงออกมาเป็นสิ่งทั้งหลายที่อยู่
ในอวกาศ พระเจ้าเป็นสิ่งนิรันดร หมายความว่า ไม่ขึ้นอยู่กับกาล
คืออยู่เหนือกาล
2. พระเจ้ำเป็นสิ่งที่ไม่มีเงื่อนไข และเป็นสิ่งสัมบูรณ์ พระเจ้ำเป็นสิ่ง
ที่ไม่มีเงื่อนไข หมำยควำมว่ำ ไม่มีสิ่งภำยนอกมำกำหนด แต่เป็นผู้
กำหนดตัวเอง พระเจ้ำเป็นสิ่งสัมบูรณ์ หมำยควำมว่ำ ไม่ขึ้นอยู่กับ
สิ่งอื่นนอกจำกตัวเอง
3. พระเจ้าเป็นผู้สร้างหรือเป็นปฐมเหตุของโลก และเป็นเหตุผลที่
สิ้นสุดของโลกพระเจ้าเป็ นผู้สร้างหรือเป็ นปฐมเหตุของโลก
หมายความว่า พระเจ้าเป็ นเหตุแรก โลกเป็ นผล เหตุก็คือการ
ก่อให้เกิดผล ผลก็คือการเปลี่ยนแปลงรูปของพลังงานซึ่งเป็นเหตุ
พลังงานของพระเจ้านั่นเองที่เปลี่ยนแปลงรูปมาเป็นโลกนี้
4. พระเจ้าเป็นวิญญาณสัมบูรณ์ หรืออัตตาสัมบูรณ์
วิญญาณสัมบูรณ์ หรืออัตตาสัมบูรณ์นี้ สร้างโลกและวิญญาณที่
จากัดจากตัวเอง แล้วถ่ายทอดความรักและคุณสมบัติทาง
วิญญาณให้แก่วิญญาณที่จากัดเหล่านั้น วิญญาณที่จากัดจึง
พยายามจะกลับไปรวมกับวิญญาณสัมบูรณ์นั้นอีก
5. พระเจ้าเป็นผู้ควบคุมจริยธรรม พระเจ้าเป็นผู้ควบคุม
จริยธรรม จึงเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยจริยธรรม มีความชอบธรรม
สูงสุด อานวยความยุติธรรมให้แก่มนุษย์ มนุษย์ดาเนินไปสู่
จุดหมายปลายทางตามเสรีภาพที่พระเจ้ามอบให้
6. พระเจ้ำเป็นที่มำของอุดมคติ นั่นคือ พระเจ้ำเป็นที่มำของ
ควำมจริง ควำมดี ควำมงำม และควำมบริสุทธิ์ กล่ำวคือควำม
จริงเป็นอุดมคติของตรรกวิทยำ ควำมดีเป็นอุดมคติของจริย
ศำสตร์ ควำมงำมเป็นอุดมคติของสุนทรียศำสตร์
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพระเจ้า
เทวนิยม (Deism) มีควำมเชื่อว่ำพระเจ้ำเป็นมหำเทพที่สูงสุด
เพียงพระองค์เดียวซึ่งอยู่ภำยนอกโลก นั่นคือเชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็น
เทพอยู่เหนือโลกโดยประกำรทั้งปวง พระองค์เป็นผู้สร้ำงโลก และ
สร้ำงโลกขึ้นจำกควำมว่ำงเปล่ำ แล้วมอบพลังต่ำง ๆ ให้แก่โลก
ดังนั้น เทวนิยม จึงหมำยถึง พระเจ้ำผู้ยิ่งใหญ่เพียง
พระองค์เดียว ดำรงอยู่ในฐำนะเป็นพระอติเทพหรือเทพผู้สูงสุด
เช่น พระพรหมของฮินดู เป็นต้น ซึ่งเชื่อกันว่ำ พระอติเทพ
เหล่ำนี้ เป็นผู้สร้ำงโลก และสรรพสิ่งต่ำง ๆ มำจำกควำมว่ำง
เปล่ำ แล้วมอบพลังต่ำง ๆ
2. สกลเทพนิยม (Pantheism) มีควำมเชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็น
เทพที่อยู่ในโลกนี้ และเป็นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับโลก นั่นคือ
พระเจ้ำคือสรรพสิ่ง และสรรพสิ่งก็คือพระเจ้ำ (All is God)
คำว่ำ “Pantheism” มำจำกคำว่ำ “Pan” (ทั้งหมด, ทั้ง
ปวง) และ “theism” (เทวนิยม)
3. สรรพเทวนิยม (Theism) มีควำมเชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็นเทพทั้งที่อยู่
เหนือโลกและอยู่ในโลก แต่อยู่เหนือวิญญำณมนุษย์โดยประกำรทั้งปวงที่
เชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็นเทพทั้งที่อยู่เหนือโลกและอยู่ในโลก หมำยควำมว่ำ
พระเจ้ำเป็นผู้สร้ำงโลก แต่อยู่พ้นโลกขึ้นไปในฐำนะเป็นอำนำจอันไม่
จำกัด ซึ่งขยำยพ้นขอบเขตของโลกที่จำกัดขึ้นไป
4. สำกลเทพนิยม (Panentheism) มีควำมเชื่อว่ำ พระเจ้ำ
เป็นเทพทั้งอยู่เหนือโลกและอยู่ในโลก ทั้งอยู่เหนือวิญญำณ
มนุษย์และอยู่ในวิญญำณมนุษย์โลก กล่ำวคือ
ที่เชื่อว่ำ พระเจ้ำอยู่เหนือโลก หมำยควำมว่ำ พระเจ้ำเป็น
วิญญำณที่ไม่จำกัด
พิสูจน์ควำมมีอยู่ของพระเจ้ำ
(Proof for Existence of God)
กับคำถำมที่ว่ำ พระเจ้ำมีอยู่จริงหรือไม่ ? ปัญหำนี้เป็นปัญหำที่นัก
ปรัชญำและนักกำรศำสนำพยำยำมหำข้อพิสูจน์ โดยที่นักกำร
ศำสนำฝ่ำยเทวนิยมพยำยำมพิสูจน์ว่ำ พระเจ้ำมี ในขณะที่นักกำร
ศำสนำฝ่ำยอเทวนิยมพยำยำมพิสูจน์ว่ำ พระเจ้ำไม่มี แม้แต่นัก
ปรัชญำเทวนิยม และนักปรัชญำจิตนิยมก็เช่นกัน
1. เหตุผลทำงจักรวำลวิทยำ (Cosmological Argument)
2. เหตุผลทำงเจตจำนง หรือวัตถุประสงค์ (Teleological
Argument)
3. เหตุผลทำงภววิทยำ (Ontological Argument)
4. เหตุผลทำงจริยธรรม (Moral Argument)
เหตุผลทางจักรวาลวิทยา (Cosmological Argument)
ข้อพิสูจน์ควำมมีอยู่ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำงจักรวำลวิทยำนี้
เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ ข้อพิสูจน์จำกกำรเป็นสำเหตุ (The Causal
Argument) ได้ถือว่ำ โลกนี้เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ไม่อิสระ เป็นสิ่ง
สัมพัทธ์
ดังนั้น สิ่งที่อิสระ สิ่งสัมบูรณ์ สิ่งที่ไม่จำกัดและเป็นปฐมเหตุนั้นคือ
พระเจ้ำ เพรำะฉะนั้น พระเจ้ำจึงมีอยู่มำร์ติโนได้อธิบำยลักษณะของ
Deism โดยอำศัยหลักเหตุผลทำงจักรวำลวิทยำเช่นกัน โดยเชื่อว่ำ “มี
พระเจ้ำโดยอำศัยกฎเหตุผล ซึ่งมีเหตุ มีอำนำจ และมีพลัง พระเจ้ำเป็น
ปฐมเหตุของโลก”
เหตุผลทางเจตจานง หรือวัตถุประสงค์ (Teleological
Argument) ข้อพิสูจน์ควำมมีอยู่ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำง
เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์นี้ เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ ข้อพิสูจน์จำกควำม
เป็นระเบียบทำงธรรมชำติ (Argument from Design) ได้
ถือว่ำ โลกนี้มีเอกภำพ มีระเบียบ มีควำมกลมกลืน เช่นมีที่รำบ ภูเขำ
และสมุทร มีพืช สัตว์และมนุษย์
เหตุผลทางภววิทยา (OntologicalArgument)ข้อพิสูจน์ควำม
มีอยู่ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำงภววิทยำนี้ เป็นกำรอนุมำนจำก
ควำมคิดโดยถือว่ำมนุษย์มีควำมคิดเกี่ยวกับพระเจ้ำพระเจ้ำเป็นสิ่ง
สัมบูรณ์ สิ่งสัมบูรณ์เป็นสิ่งที่มีอยู่ เพรำะฉะนั้น พระเจ้ำจึงมีอยู่ ข้อ
พิสูจน์นี้เป็นกำรอนุมำนว่ำ พระเจ้ำเป็นสิ่งที่มีอยู่
เหตุผลทางจริยธรรม (Moral Argument) ข้อพิสูจน์ควำมมีอยู่
ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำงจริยธรรมนี้ ได้ถือว่ำ พระเจ้ำเป็นผู้
ควบคุมจริยธรรม หำกพระเจ้ำไม่มี คนที่ทำควำมดี ย่อมจะไม่ได้รับกำร
ยกย่องสนับสนุน และคนที่ทำควำมชั่ว ย่อมจะไม่ได้รับกำรลงโทษคนที่
ทำดีแล้วไม่ได้ดี หรือกลับได้รับควำมทุกข์ บำงคนทำคแล้วกลับได้รับ
ควำมสุข แล้วคนเหล่ำนี้ก็ตำยไปทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้รับควำมยุติธรรม
ทฤษฎีการสร้างโลก (Cosmogony)
ทฤษฎีกำรสร้ำงโลก หรือทฤษฎีกำรกำเนิดจักรวำล เป็นกำรพยำยำมให้
คำตอบเกี่ยวกับกำรกำเนิดของโลกหรือจักรวำลว่ำ โลกหรือจักรวำลเกิด
ขึ้นมำได้อย่ำงไร ?ทฤษฎีนี้ถือว่ำ พระเจ้ำเป็นผู้สร้ำงโลกขึ้นโดยฉับพลัน
พร้อมด้วยบริวำรของโลกและสิ่งที่อำศัยโลกได้แก่ ดำวพระเครำะห์ ดำว
บริวำร พืชและสัตว์สิ่งเหล่ำนี้คงรูปอยู่อย่ำงเดิมเหมือนเมื่อแรกสร้ำง
1. กำรสร้ำงโลกแบบสัมบูรณ์
2. กำรสร้ำงโลกแบบมีเงื่อนไข
กำรสร้ำงโลกแบบสัมบูรณ์ หมำยควำมว่ำ พระเจ้ำสร้ำงโลกขึ้นอย่ำง
ฉับพลัน จำกควำมไม่มีอะไรหรือจำกควำมว่ำงเปล่ำ ในลักษณะกำร
เนรมิตว่ำ ขอให้โลกเกิดขึ้น แล้วโลกเกิดขึ้น ซึ่งในขณะนั้นไม่มีอะไรเลย
นอกจำกพระเจ้ำ พระเจ้ำเป็นผู้สมบูรณ์ทุกอย่ำง จะไม่สร้ำงโลกขึ้นเลยก็
ได้ แต่พระองค์สร้ำงโลกขึ้นเพื่อถ่ำยทอดควำมดีงำมทั้งปวงให้แก่สิ่งที่
จำกัด
จักรวาลวิทยา (Cosmology)
คำว่ำ “จักรวำล” หมำยถึง อวกำศทั้งหมด และสรรพสิ่งที่อยู่ใน
อวกำศ ไม่ว่ำจะอยู่ในลักษณะใดหรือที่ไหนในโลกหรือในอวกำศ
นอกโลก สิ่งเหล่ำนี้ทั้งหมดเรียกว่ำ “จักรวำล”
ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาปรัชญา
เวลำของพระเจ้ำ (God’s time) เซนต์ ออกัสติน (Saint
Augustin) เสนอว่ำ ตำมหลักกำรของศำสนำคริสต์ สรรพสิ่งใน
จักรวำลเกิดจำกกำรสร้ำงของพระเจ้ำ เวลำก็เช่นกัน พระเจ้ำทรงสร้ำงเวลำ
ขึ้นเพื่อให้สรรพสิ่งที่พระองค์สร้ำงดำเนินไปภำยใต้ระบบของเวลำ แต่
พระองค์อยู่นอกระบบเวลำ เมื่อสร้ำงเวลำได้ก็สำมำรถกำหนดให้เวลำ
สิ้นสุดลงในอนำคตได้โดยที่สรรพสิ่งถูกจำกัดด้วยเวลำ ยกเว้นพระเจ้ำ
เพรำะพระองค์อยู่นอกระบบเวลำ จึงไม่ถูกจำกัดด้วยเวลำ
เวลาสัมบูรณ์ (Absolute time)
นิวตัน (Isaac Newton) ถือว่ำ เวลำเป็นสิ่งที่แท้จริง หรือ
เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชำติ เป็นวัตถุวิสัย (Objective) คือ
เป็นสิ่งที่มีอยู่ด้วยตัวของมันเอง และไม่ใช่กำรเคลื่อนที่ของสสำร
ไม่ใช่ตัวของสสำรที่มีอยู่ภำยใต้ระบบของเวลำ แต่เวลำเป็นสิ่ง
หนึ่งต่ำงหำกจำกสสำรหรือเหตุกำรณ์
เวลาคือกลไกของมนัส
ค้ำนท์ (Immanuel Kant)เห็นว่ำ สมรรถนะในกำรรับรู้เองเวลำ
อยู่ในกลไกของมนัสกำรรับรู้เรื่องเวลำไม่ได้พัฒนำมำจำก
ประสบกำรณ์ แต่มันมีอยู่ก่อนประสบกำรณ์ เป็นกลไกของมนัส หรือ
จิตของเรำในกำรรับรู้ กล่ำวคือมนัสเป็นกลไกในกำรรับรู้สิ่งต่ำง ๆ
"อวกำศ" หมำยถึงที่ว่ำงซึ่งจะใส่สิ่งของหรือวัตถุเข้ำไปได้ แต่
ในทำงปรัชญำมีควำมหมำยกว้ำงกว่ำนั้น คือหมำยถึงที่ว่ำงอัน
กว้ำงใหญ่ออกไปทุกทิศทำงอย่ำงไม่มีที่สิ้นสุด ไม่มีขอบเขต จึงมี
ปัญหำว่ำ อวกำศมีอยู่จริงหรือไม่ มีอยู่นอกควำมคิดมนุษย์หรือไม่
หรือเป็นเพียงควำมคิดที่เกิดจำกกำรมีประสบกำรณ์วัตถุต่ำง ๆ
1.3 อภิปรัชญาว่าด้วยพระเจ้า หรือสิ่งสัมบูรณ์
นักปรัชญำเป็น 2 พวกคือพวกที่เชื่อไม่เชื่อพระเจ้ำ ซึ่งเรียกสิ่งอัน
เป็นปฐมเหตุของสรรพสิ่งว่ำ กฎเหตุผลสำกลบ้ำง สิ่งสัมบูรณ์บ้ำง
นักปรัชญำกลุ่มนี้ถูกเรียกว่ำ “อเทวนิยม” (Atheism) และอีกพวก
หนึ่งที่เชื่อในเรื่องพระเจ้ำ ซึ่งเรียกสิ่งอันเป็นปฐมเหตุของสรรพสิ่งว่ำ
พระผู้เป็นเจ้ำ นักปรัชญำกลุ่มนี้ถูกเรียกว่ำ “เทวนิยม” (Theism)
คาว่า “เทวนิยม” (Theism)ในพจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ.
2525 ได้นิยำมควำมหมำยไว้ว่ำ “เทวนิยม หมำยถึงลัทธิที่เชื่อว่ำมีพระเจ้ำผู้
ยิ่งใหญ่พระองค์เดียว พระเจ้ำนั้นทำงมีอำนำจครอบครองโลก และสำมำรถดล
บันดำควำมเป็นไปในโลก”
ในพจนำนุกรมศัพท์ปรัชญำ อังกฤษ –ไทย ฉบับรำชบัณฑิตสถำน ได้นิยำม
ควำมหมำยของคำว่ำ “เทวนิยม” (Theism) ไว้ว่ำ “เทวนิยม หมำยถึงทัศนะที่
เชื่อว่ำพระเป็นเจ้ำ (God) มีจริง ทรงเป็นผู้สร้ำงและคุ้มครองโลก และทรงไว้
ซึ่งอัพภันตรภำพ (Immanence)และอุตรภำพ (Transcendence)
ตรงกันข้ำมกับ อเทวนิยม (Atheism)
แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
กีรติ บุญเจือ. แก่นปรัชญำกรีก. กรุงเทพ ฯ: ไทยวัฒนำพำนิช, 2528.
-----------------. แก่นปรัชญำยุคกลำง. กรุงเทพ ฯ: ไทยวัฒนำพำนิช, 2527.
จำนงค์ ทองประเสริฐ. ปรัชญำตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหำจุฬำลง
กรณ รำชวิทยำลัย, 2534.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. ปรัชญำตะวันตกร่วมสมัย 1. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัยรำมคำแหง,
2522.
เดือน คำดี. ปัญหำปรัชญำ. กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์, 2530.
----------------. พุทธปรัชญำ. กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์, 2534.
ธีรยุทธ สุนทรำ,ผศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำช
วิทยำลัย, 2539.
บุญมี แท่นแก้ว, ผศ.. ปรัชญำ, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2536.
บุณย์นิลเกษ, ดร.. เมตำฟิสิกซ์เบื้องต้น. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศำสตร์
มหำวิทยำลัย เชียงใหม่, 2526.
บรรจบ บรรณรุจิ. จิต มโน วิญญำณ. กรุงเทพฯ : ไร่เรือนสมำธิ, 2533.
รำชบัณฑิตยสถำน. พจนำนุกรมศัพท์ปรัชญำ อังกฤษ – ไทย. กรุงเทพ ฯ: รำช
บัณฑิตสถำน, 2532.
วิธำน สุชีวคุปต์ และคณะ, ผศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัย
รำมคำแหง, 2532.
วิธำน สุชีวคุปต์, ผศ.. อภิปรัชญำ. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัยรำมคำแหง, 2525.
สถิต วงศ์สวรรค์, รศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษรพิทยำ, 2540.
สุจิตรำ (อ่อนค้อม) รณรื่น, รศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์,
2540.
แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
สนิท สีสำเดง. ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญำและศำสนำ. กรุงเทพ ฯ: นีลนำรำกำร
พิมพ์, 2538.
-------------------. ปรัชญำเถรวำท. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำช
วิทยำลัย, 2544.
สุเมธ เมธำวิทยกุล, รศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2540.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. คู่มืออภิปรัชญำ. กรุงเทพ ฯ: รำชบัณฑิตยสถำน, 2533.
---------------------. ปรัชญำอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพ ฯ: รำชบัณฑิตยสถำน, 2536.
---------------------. ปรัชญำอินเดีย. กรุงเทพ ฯ: รำชบัณฑิตยสถำน, 2532.
อมร โสภณวิเชษฐวงศ์, ผศ.. ปรัชญำเบื้องต้น, กรุงเทพฯ : ประสำนมิตร, 2520

More Related Content

What's hot

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ Padvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏCUPress
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 

What's hot (20)

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
ศาสนาโบราณ บทที่ ๒
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 

Viewers also liked

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิตบทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิตGawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
คำกลอนก่อนจะสายเกินไป
คำกลอนก่อนจะสายเกินไปคำกลอนก่อนจะสายเกินไป
คำกลอนก่อนจะสายเกินไปniralai
 
7 habits of Highly Effective People
7 habits of Highly Effective People  7 habits of Highly Effective People
7 habits of Highly Effective People Hamza Khanzada
 
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedGeriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedSukanya Jongsiri
 
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคปุ๊โก๊ะ โก๊ะ
 

Viewers also liked (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิตบทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
บทที่ 6 สนามแม่เหล็กสถิต
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
4
44
4
 
ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
คำกลอนก่อนจะสายเกินไป
คำกลอนก่อนจะสายเกินไปคำกลอนก่อนจะสายเกินไป
คำกลอนก่อนจะสายเกินไป
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
7 habits of Highly Effective People
7 habits of Highly Effective People  7 habits of Highly Effective People
7 habits of Highly Effective People
 
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 editedGeriatrics for bma1@11 oct2016 edited
Geriatrics for bma1@11 oct2016 edited
 
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภคPowerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
Powerpoint คุ้มครองผู้บริโภค
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 

Similar to งานนำเสนอ1

บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีPa'rig Prig
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่บทที่ ๑ ใหม่
บทที่ ๑ ใหม่
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 

More from Gawewat Dechaapinun

บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2 งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
9
99
9
 

งานนำเสนอ1

  • 2. เทววิทยา (Theology) •คำว่ำ “เทววิทยำ” ในพจนำนุกรมฉบับ รำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 ได้ให้ควำมหมำยไว้ ว่ำ “วิชำที่ว่ำด้วยพระเจ้ำ (God) และ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพระเจ้ำกับโลก”
  • 3. นอกจำกคำว่ำ “เทววิทยำ” แล้ว ในทำงอภิปรัชญำยังมี คำที่ใช้ในลักษณะเดียวกันอีกคำหนึ่งคือคำว่ำ “เทวนิยม” (Theism)ซึ่งหมำยถึงลัทธิที่เชื่อว่ำ “มีพระเจ้ำผู้ทรง อำนำจยิ่งใหญ่พระองค์เดียว พระเจ้ำนั้นทรงอำนำจ ครอบครองโลก และสำมำรถดลบันดำลควำมเป็นไปในโลก” ดังนั้นจะเห็นว่ำ เทววิทยำ ในทำงอภิปรัชญำจะเน้นว่ำ พระ เจ้ำมีอยู่จริง เป็นสิ่งที่มีอยู่อย่ำงเที่ยงแท้ถำวร ไม่ใช่เป็นเพียง อุดมคติตำมทัศนะของธรรมชำตินิยมบำงพวกเข้ำใจเท่ำนั้น
  • 4. เทววิทยำ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. เทววิทยำธรรมชำติ (Natural Theology) 2. เทววิทยำวิวรณ์ (Revealed or Sacred Theology) เทววิทยำธรรมชำติ หมำยถึง พระเจ้ำเปิดเผยสัจจะไว้ในธรรมชำติโดย ให้มนุษย์ใช้ควำมสำมำรถของตนค้นคว้ำไปเรื่อย ๆ หมำยควำมว่ำ ควำม จริงหรือสัจภำวะนั้น มิได้ปรำกฏเพียงแต่ในคัมภีร์ หำกแต่ปรำกฎใน ธรรมชำติด้วย และกฎธรรมชำตินั้นเป็นกฎที่แน่นอนตำยตัว ไม่ว่ำมนุษย์จะ เอำไปตีควำมอย่ำงไร กฎก็ยังคงเดิมเป็นนิรันดร์
  • 5. เทววิทยำวิวรณ์ หมำยถึง กำรเปิดเผยโดยตรงของพระ เจ้ำ หรือที่เรียกว่ำ “เทวบันดำล” คือกำรที่พระเจ้ำทรงเปิดเผย ควำมรู้แก่มนุษย์ผู้ที่ทรงเลือกแล้ว เช่นเปิดเผยบัญญัติ 10 ประกำรให้แก่โมเสส หรือคัมภีร์ไบเบิ้ลแก่พระเยซู หรือ คัมภีร์อัลกุรอ่ำนแก่ท่ำนนะบีมูฮัมหมัด เป็นต้น
  • 6. ลักษณะของวิวรณ์นั้นมี 2 ลักษณะคือ การที่สิ่งเหนือธรรมชาติเปิดเผยความรู้แก่มนุษย์ สิ่งเหนือธรรมชาติ ที่ว่านั้นได้แก่ พระเจ้า พระองค์เป็นผู้ทรงความรู้ เพราะเป็นผู้รอบรู้ทุก อย่าง ทั้งอดีต ปัจจุบันและอนาคต เป็นผู้เปิดเผยความรู้ของพระองค์ แก่มนุษย์ ความรู้ที่ได้จากการเปิดเผยของสิ่งเหนือธรรมชาติ เมื่อพระ เจ้าเปิดเผยความรู้แก่มนุษย์แล้ว จะสังเกตได้ว่ามนุษย์เรามีความรู้ซึ่ง ได้จากการเปิดเผยของพระเจ้า เพราะหากพระองค์ไม่เปิดเผยความรู้ แก่มนุษย์ มนุษย์ไม่สามารถจะมีความรู้ได้เลย
  • 7. พระเจ้าคืออะไร กับคาถามที่ว่า พระเจ้าคืออะไร ? เมื่อเกิดปัญหาอย่างนี้ เป็น ปัญหาที่ง่าย แต่ยากที่จะให้คาตอบ และพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ เพราะ จะระบุลงไปโดยชัดเจนว่า พระเจ้าเป็นสิ่งนั้น สิ่งนี้ไม่ได้ เพื่อให้ เข้าใจเกี่ยวกับพระเจ้า นักปรัชญาจึงพยายามหาคาตอบโดย กล่าวถึงลักษณะหรือธรรมชาติของพระเจ้าว่าเป็นอย่างไร เกี่ยวกับ ธรรมชาติของพระเจ้า นักปรัชญาฝ่ ายเทวนิยมได้กล่าวไว้ต่าง ๆ กัน พอจะสรุปได้ดังนี้
  • 8. 1. พระเจ้าเป็นสิ่งที่ไม่จากัด เป็นสิ่งนิรันดรและเป็นสิ่งที่มีอยู่ด้วย ตัวเอง พระเจ้าเป็นสิ่งที่ไม่จากัด หมายความว่า มีอานาจอย่างไม่ สิ้นสุด ไม่ขึ้นอยู่กับอวกาศ แต่แสดงออกมาเป็นสิ่งทั้งหลายที่อยู่ ในอวกาศ พระเจ้าเป็นสิ่งนิรันดร หมายความว่า ไม่ขึ้นอยู่กับกาล คืออยู่เหนือกาล
  • 9. 2. พระเจ้ำเป็นสิ่งที่ไม่มีเงื่อนไข และเป็นสิ่งสัมบูรณ์ พระเจ้ำเป็นสิ่ง ที่ไม่มีเงื่อนไข หมำยควำมว่ำ ไม่มีสิ่งภำยนอกมำกำหนด แต่เป็นผู้ กำหนดตัวเอง พระเจ้ำเป็นสิ่งสัมบูรณ์ หมำยควำมว่ำ ไม่ขึ้นอยู่กับ สิ่งอื่นนอกจำกตัวเอง
  • 10. 3. พระเจ้าเป็นผู้สร้างหรือเป็นปฐมเหตุของโลก และเป็นเหตุผลที่ สิ้นสุดของโลกพระเจ้าเป็ นผู้สร้างหรือเป็ นปฐมเหตุของโลก หมายความว่า พระเจ้าเป็ นเหตุแรก โลกเป็ นผล เหตุก็คือการ ก่อให้เกิดผล ผลก็คือการเปลี่ยนแปลงรูปของพลังงานซึ่งเป็นเหตุ พลังงานของพระเจ้านั่นเองที่เปลี่ยนแปลงรูปมาเป็นโลกนี้
  • 11. 4. พระเจ้าเป็นวิญญาณสัมบูรณ์ หรืออัตตาสัมบูรณ์ วิญญาณสัมบูรณ์ หรืออัตตาสัมบูรณ์นี้ สร้างโลกและวิญญาณที่ จากัดจากตัวเอง แล้วถ่ายทอดความรักและคุณสมบัติทาง วิญญาณให้แก่วิญญาณที่จากัดเหล่านั้น วิญญาณที่จากัดจึง พยายามจะกลับไปรวมกับวิญญาณสัมบูรณ์นั้นอีก
  • 12. 5. พระเจ้าเป็นผู้ควบคุมจริยธรรม พระเจ้าเป็นผู้ควบคุม จริยธรรม จึงเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยจริยธรรม มีความชอบธรรม สูงสุด อานวยความยุติธรรมให้แก่มนุษย์ มนุษย์ดาเนินไปสู่ จุดหมายปลายทางตามเสรีภาพที่พระเจ้ามอบให้
  • 13. 6. พระเจ้ำเป็นที่มำของอุดมคติ นั่นคือ พระเจ้ำเป็นที่มำของ ควำมจริง ควำมดี ควำมงำม และควำมบริสุทธิ์ กล่ำวคือควำม จริงเป็นอุดมคติของตรรกวิทยำ ควำมดีเป็นอุดมคติของจริย ศำสตร์ ควำมงำมเป็นอุดมคติของสุนทรียศำสตร์
  • 14. ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพระเจ้า เทวนิยม (Deism) มีควำมเชื่อว่ำพระเจ้ำเป็นมหำเทพที่สูงสุด เพียงพระองค์เดียวซึ่งอยู่ภำยนอกโลก นั่นคือเชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็น เทพอยู่เหนือโลกโดยประกำรทั้งปวง พระองค์เป็นผู้สร้ำงโลก และ สร้ำงโลกขึ้นจำกควำมว่ำงเปล่ำ แล้วมอบพลังต่ำง ๆ ให้แก่โลก
  • 15. ดังนั้น เทวนิยม จึงหมำยถึง พระเจ้ำผู้ยิ่งใหญ่เพียง พระองค์เดียว ดำรงอยู่ในฐำนะเป็นพระอติเทพหรือเทพผู้สูงสุด เช่น พระพรหมของฮินดู เป็นต้น ซึ่งเชื่อกันว่ำ พระอติเทพ เหล่ำนี้ เป็นผู้สร้ำงโลก และสรรพสิ่งต่ำง ๆ มำจำกควำมว่ำง เปล่ำ แล้วมอบพลังต่ำง ๆ
  • 16. 2. สกลเทพนิยม (Pantheism) มีควำมเชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็น เทพที่อยู่ในโลกนี้ และเป็นเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับโลก นั่นคือ พระเจ้ำคือสรรพสิ่ง และสรรพสิ่งก็คือพระเจ้ำ (All is God) คำว่ำ “Pantheism” มำจำกคำว่ำ “Pan” (ทั้งหมด, ทั้ง ปวง) และ “theism” (เทวนิยม)
  • 17. 3. สรรพเทวนิยม (Theism) มีควำมเชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็นเทพทั้งที่อยู่ เหนือโลกและอยู่ในโลก แต่อยู่เหนือวิญญำณมนุษย์โดยประกำรทั้งปวงที่ เชื่อว่ำ พระเจ้ำเป็นเทพทั้งที่อยู่เหนือโลกและอยู่ในโลก หมำยควำมว่ำ พระเจ้ำเป็นผู้สร้ำงโลก แต่อยู่พ้นโลกขึ้นไปในฐำนะเป็นอำนำจอันไม่ จำกัด ซึ่งขยำยพ้นขอบเขตของโลกที่จำกัดขึ้นไป
  • 18. 4. สำกลเทพนิยม (Panentheism) มีควำมเชื่อว่ำ พระเจ้ำ เป็นเทพทั้งอยู่เหนือโลกและอยู่ในโลก ทั้งอยู่เหนือวิญญำณ มนุษย์และอยู่ในวิญญำณมนุษย์โลก กล่ำวคือ ที่เชื่อว่ำ พระเจ้ำอยู่เหนือโลก หมำยควำมว่ำ พระเจ้ำเป็น วิญญำณที่ไม่จำกัด
  • 19. พิสูจน์ควำมมีอยู่ของพระเจ้ำ (Proof for Existence of God) กับคำถำมที่ว่ำ พระเจ้ำมีอยู่จริงหรือไม่ ? ปัญหำนี้เป็นปัญหำที่นัก ปรัชญำและนักกำรศำสนำพยำยำมหำข้อพิสูจน์ โดยที่นักกำร ศำสนำฝ่ำยเทวนิยมพยำยำมพิสูจน์ว่ำ พระเจ้ำมี ในขณะที่นักกำร ศำสนำฝ่ำยอเทวนิยมพยำยำมพิสูจน์ว่ำ พระเจ้ำไม่มี แม้แต่นัก ปรัชญำเทวนิยม และนักปรัชญำจิตนิยมก็เช่นกัน
  • 20. 1. เหตุผลทำงจักรวำลวิทยำ (Cosmological Argument) 2. เหตุผลทำงเจตจำนง หรือวัตถุประสงค์ (Teleological Argument) 3. เหตุผลทำงภววิทยำ (Ontological Argument) 4. เหตุผลทำงจริยธรรม (Moral Argument)
  • 21. เหตุผลทางจักรวาลวิทยา (Cosmological Argument) ข้อพิสูจน์ควำมมีอยู่ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำงจักรวำลวิทยำนี้ เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ ข้อพิสูจน์จำกกำรเป็นสำเหตุ (The Causal Argument) ได้ถือว่ำ โลกนี้เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ไม่อิสระ เป็นสิ่ง สัมพัทธ์
  • 22. ดังนั้น สิ่งที่อิสระ สิ่งสัมบูรณ์ สิ่งที่ไม่จำกัดและเป็นปฐมเหตุนั้นคือ พระเจ้ำ เพรำะฉะนั้น พระเจ้ำจึงมีอยู่มำร์ติโนได้อธิบำยลักษณะของ Deism โดยอำศัยหลักเหตุผลทำงจักรวำลวิทยำเช่นกัน โดยเชื่อว่ำ “มี พระเจ้ำโดยอำศัยกฎเหตุผล ซึ่งมีเหตุ มีอำนำจ และมีพลัง พระเจ้ำเป็น ปฐมเหตุของโลก”
  • 23. เหตุผลทางเจตจานง หรือวัตถุประสงค์ (Teleological Argument) ข้อพิสูจน์ควำมมีอยู่ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำง เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์นี้ เรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ ข้อพิสูจน์จำกควำม เป็นระเบียบทำงธรรมชำติ (Argument from Design) ได้ ถือว่ำ โลกนี้มีเอกภำพ มีระเบียบ มีควำมกลมกลืน เช่นมีที่รำบ ภูเขำ และสมุทร มีพืช สัตว์และมนุษย์
  • 24. เหตุผลทางภววิทยา (OntologicalArgument)ข้อพิสูจน์ควำม มีอยู่ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำงภววิทยำนี้ เป็นกำรอนุมำนจำก ควำมคิดโดยถือว่ำมนุษย์มีควำมคิดเกี่ยวกับพระเจ้ำพระเจ้ำเป็นสิ่ง สัมบูรณ์ สิ่งสัมบูรณ์เป็นสิ่งที่มีอยู่ เพรำะฉะนั้น พระเจ้ำจึงมีอยู่ ข้อ พิสูจน์นี้เป็นกำรอนุมำนว่ำ พระเจ้ำเป็นสิ่งที่มีอยู่
  • 25. เหตุผลทางจริยธรรม (Moral Argument) ข้อพิสูจน์ควำมมีอยู่ ของพระเจ้ำโดยอำศัยเหตุผลทำงจริยธรรมนี้ ได้ถือว่ำ พระเจ้ำเป็นผู้ ควบคุมจริยธรรม หำกพระเจ้ำไม่มี คนที่ทำควำมดี ย่อมจะไม่ได้รับกำร ยกย่องสนับสนุน และคนที่ทำควำมชั่ว ย่อมจะไม่ได้รับกำรลงโทษคนที่ ทำดีแล้วไม่ได้ดี หรือกลับได้รับควำมทุกข์ บำงคนทำคแล้วกลับได้รับ ควำมสุข แล้วคนเหล่ำนี้ก็ตำยไปทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้รับควำมยุติธรรม
  • 26. ทฤษฎีการสร้างโลก (Cosmogony) ทฤษฎีกำรสร้ำงโลก หรือทฤษฎีกำรกำเนิดจักรวำล เป็นกำรพยำยำมให้ คำตอบเกี่ยวกับกำรกำเนิดของโลกหรือจักรวำลว่ำ โลกหรือจักรวำลเกิด ขึ้นมำได้อย่ำงไร ?ทฤษฎีนี้ถือว่ำ พระเจ้ำเป็นผู้สร้ำงโลกขึ้นโดยฉับพลัน พร้อมด้วยบริวำรของโลกและสิ่งที่อำศัยโลกได้แก่ ดำวพระเครำะห์ ดำว บริวำร พืชและสัตว์สิ่งเหล่ำนี้คงรูปอยู่อย่ำงเดิมเหมือนเมื่อแรกสร้ำง
  • 27. 1. กำรสร้ำงโลกแบบสัมบูรณ์ 2. กำรสร้ำงโลกแบบมีเงื่อนไข กำรสร้ำงโลกแบบสัมบูรณ์ หมำยควำมว่ำ พระเจ้ำสร้ำงโลกขึ้นอย่ำง ฉับพลัน จำกควำมไม่มีอะไรหรือจำกควำมว่ำงเปล่ำ ในลักษณะกำร เนรมิตว่ำ ขอให้โลกเกิดขึ้น แล้วโลกเกิดขึ้น ซึ่งในขณะนั้นไม่มีอะไรเลย นอกจำกพระเจ้ำ พระเจ้ำเป็นผู้สมบูรณ์ทุกอย่ำง จะไม่สร้ำงโลกขึ้นเลยก็ ได้ แต่พระองค์สร้ำงโลกขึ้นเพื่อถ่ำยทอดควำมดีงำมทั้งปวงให้แก่สิ่งที่ จำกัด
  • 28. จักรวาลวิทยา (Cosmology) คำว่ำ “จักรวำล” หมำยถึง อวกำศทั้งหมด และสรรพสิ่งที่อยู่ใน อวกำศ ไม่ว่ำจะอยู่ในลักษณะใดหรือที่ไหนในโลกหรือในอวกำศ นอกโลก สิ่งเหล่ำนี้ทั้งหมดเรียกว่ำ “จักรวำล” ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาปรัชญา
  • 29. เวลำของพระเจ้ำ (God’s time) เซนต์ ออกัสติน (Saint Augustin) เสนอว่ำ ตำมหลักกำรของศำสนำคริสต์ สรรพสิ่งใน จักรวำลเกิดจำกกำรสร้ำงของพระเจ้ำ เวลำก็เช่นกัน พระเจ้ำทรงสร้ำงเวลำ ขึ้นเพื่อให้สรรพสิ่งที่พระองค์สร้ำงดำเนินไปภำยใต้ระบบของเวลำ แต่ พระองค์อยู่นอกระบบเวลำ เมื่อสร้ำงเวลำได้ก็สำมำรถกำหนดให้เวลำ สิ้นสุดลงในอนำคตได้โดยที่สรรพสิ่งถูกจำกัดด้วยเวลำ ยกเว้นพระเจ้ำ เพรำะพระองค์อยู่นอกระบบเวลำ จึงไม่ถูกจำกัดด้วยเวลำ
  • 30. เวลาสัมบูรณ์ (Absolute time) นิวตัน (Isaac Newton) ถือว่ำ เวลำเป็นสิ่งที่แท้จริง หรือ เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชำติ เป็นวัตถุวิสัย (Objective) คือ เป็นสิ่งที่มีอยู่ด้วยตัวของมันเอง และไม่ใช่กำรเคลื่อนที่ของสสำร ไม่ใช่ตัวของสสำรที่มีอยู่ภำยใต้ระบบของเวลำ แต่เวลำเป็นสิ่ง หนึ่งต่ำงหำกจำกสสำรหรือเหตุกำรณ์
  • 31. เวลาคือกลไกของมนัส ค้ำนท์ (Immanuel Kant)เห็นว่ำ สมรรถนะในกำรรับรู้เองเวลำ อยู่ในกลไกของมนัสกำรรับรู้เรื่องเวลำไม่ได้พัฒนำมำจำก ประสบกำรณ์ แต่มันมีอยู่ก่อนประสบกำรณ์ เป็นกลไกของมนัส หรือ จิตของเรำในกำรรับรู้ กล่ำวคือมนัสเป็นกลไกในกำรรับรู้สิ่งต่ำง ๆ
  • 32. "อวกำศ" หมำยถึงที่ว่ำงซึ่งจะใส่สิ่งของหรือวัตถุเข้ำไปได้ แต่ ในทำงปรัชญำมีควำมหมำยกว้ำงกว่ำนั้น คือหมำยถึงที่ว่ำงอัน กว้ำงใหญ่ออกไปทุกทิศทำงอย่ำงไม่มีที่สิ้นสุด ไม่มีขอบเขต จึงมี ปัญหำว่ำ อวกำศมีอยู่จริงหรือไม่ มีอยู่นอกควำมคิดมนุษย์หรือไม่ หรือเป็นเพียงควำมคิดที่เกิดจำกกำรมีประสบกำรณ์วัตถุต่ำง ๆ
  • 33. 1.3 อภิปรัชญาว่าด้วยพระเจ้า หรือสิ่งสัมบูรณ์ นักปรัชญำเป็น 2 พวกคือพวกที่เชื่อไม่เชื่อพระเจ้ำ ซึ่งเรียกสิ่งอัน เป็นปฐมเหตุของสรรพสิ่งว่ำ กฎเหตุผลสำกลบ้ำง สิ่งสัมบูรณ์บ้ำง นักปรัชญำกลุ่มนี้ถูกเรียกว่ำ “อเทวนิยม” (Atheism) และอีกพวก หนึ่งที่เชื่อในเรื่องพระเจ้ำ ซึ่งเรียกสิ่งอันเป็นปฐมเหตุของสรรพสิ่งว่ำ พระผู้เป็นเจ้ำ นักปรัชญำกลุ่มนี้ถูกเรียกว่ำ “เทวนิยม” (Theism)
  • 34. คาว่า “เทวนิยม” (Theism)ในพจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 ได้นิยำมควำมหมำยไว้ว่ำ “เทวนิยม หมำยถึงลัทธิที่เชื่อว่ำมีพระเจ้ำผู้ ยิ่งใหญ่พระองค์เดียว พระเจ้ำนั้นทำงมีอำนำจครอบครองโลก และสำมำรถดล บันดำควำมเป็นไปในโลก” ในพจนำนุกรมศัพท์ปรัชญำ อังกฤษ –ไทย ฉบับรำชบัณฑิตสถำน ได้นิยำม ควำมหมำยของคำว่ำ “เทวนิยม” (Theism) ไว้ว่ำ “เทวนิยม หมำยถึงทัศนะที่ เชื่อว่ำพระเป็นเจ้ำ (God) มีจริง ทรงเป็นผู้สร้ำงและคุ้มครองโลก และทรงไว้ ซึ่งอัพภันตรภำพ (Immanence)และอุตรภำพ (Transcendence) ตรงกันข้ำมกับ อเทวนิยม (Atheism)
  • 35. แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม กีรติ บุญเจือ. แก่นปรัชญำกรีก. กรุงเทพ ฯ: ไทยวัฒนำพำนิช, 2528. -----------------. แก่นปรัชญำยุคกลำง. กรุงเทพ ฯ: ไทยวัฒนำพำนิช, 2527. จำนงค์ ทองประเสริฐ. ปรัชญำตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหำจุฬำลง กรณ รำชวิทยำลัย, 2534. ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. ปรัชญำตะวันตกร่วมสมัย 1. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัยรำมคำแหง, 2522. เดือน คำดี. ปัญหำปรัชญำ. กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์, 2530. ----------------. พุทธปรัชญำ. กรุงเทพ ฯ: โอเดียนสโตร์, 2534. ธีรยุทธ สุนทรำ,ผศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำช วิทยำลัย, 2539.
  • 36. บุญมี แท่นแก้ว, ผศ.. ปรัชญำ, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2536. บุณย์นิลเกษ, ดร.. เมตำฟิสิกซ์เบื้องต้น. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัย เชียงใหม่, 2526. บรรจบ บรรณรุจิ. จิต มโน วิญญำณ. กรุงเทพฯ : ไร่เรือนสมำธิ, 2533. รำชบัณฑิตยสถำน. พจนำนุกรมศัพท์ปรัชญำ อังกฤษ – ไทย. กรุงเทพ ฯ: รำช บัณฑิตสถำน, 2532. วิธำน สุชีวคุปต์ และคณะ, ผศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัย รำมคำแหง, 2532. วิธำน สุชีวคุปต์, ผศ.. อภิปรัชญำ. กรุงเทพฯ : มหำวิทยำลัยรำมคำแหง, 2525. สถิต วงศ์สวรรค์, รศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : อักษรพิทยำ, 2540. สุจิตรำ (อ่อนค้อม) รณรื่น, รศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์, 2540. แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
  • 37. แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม สนิท สีสำเดง. ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญำและศำสนำ. กรุงเทพ ฯ: นีลนำรำกำร พิมพ์, 2538. -------------------. ปรัชญำเถรวำท. กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำช วิทยำลัย, 2544. สุเมธ เมธำวิทยกุล, รศ.. ปรัชญำเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2540. อดิศักดิ์ ทองบุญ. คู่มืออภิปรัชญำ. กรุงเทพ ฯ: รำชบัณฑิตยสถำน, 2533. ---------------------. ปรัชญำอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพ ฯ: รำชบัณฑิตยสถำน, 2536. ---------------------. ปรัชญำอินเดีย. กรุงเทพ ฯ: รำชบัณฑิตยสถำน, 2532. อมร โสภณวิเชษฐวงศ์, ผศ.. ปรัชญำเบื้องต้น, กรุงเทพฯ : ประสำนมิตร, 2520