SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
บทที่ 4 คุณสมบัติของเคลือบและการควบคุม
(Properties of Glazes and
Control)
ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์
โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
outline
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
เซเกอร์ นักเคมีชาวเยอรมันผู้ที่จาแนกวัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบออกเป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้
1) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นด่าง (Alkali หรือ Basic Oxide)
2) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง (Intermediate Oxide)
3) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นกรด (Acid Oxide)
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
1) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นด่าง (Alkali หรือ Basic Oxide) หรือที่นิยมเรียกว่าฟลักซ์
(Flux) ซึ่งเป็นวัตถุดิบในกลุ่มที่มีคุณสมบัติ
 เป็นตัวปรับโครงสร้างแก้ว (Network Modifier)
 ช่วยลดจุดหลอมตัวและความหนืดให้กับเคลือบ
 ทาให้อุณหภูมิในการเผาเคลือบลดลง
 ได้เคลือบหลอมละลายเร็วขึ้น
 เพิ่มการไหลตัวให้กับเคลือบทา
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
1) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นด่าง (Alkali หรือ Basic Oxide) ได้แก่
 โซเดียมออกไซด์ (Na2O) ซึ่งอยู่ในรูปของโซเดียมเฟลด์สปาร์
หรือโซเดียมคาร์บอเนต
 โพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) ซึ่งอยู่ในรูปของโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์
หรือโพแทสเซียมคาร์บอเนต
 แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ซึ่งอยู่ในรูปของหินปูน
หรือแคลเซียมคาร์บอเนต และซิงค์ออกไซด์
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
2) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง (Intermediate Oxide) เป็นวัตถุดิบในกลุ่มที่มี
คุณสมบัติ
 เป็นตัวทาให้เกิดความเสถียร (Network Co-Former)
 ช่วยให้เคลือบมีความหนืด เมื่อหลอมตัวเป็นแก้วจะไม่ไหลตัวมากเกินไป
 ช่วยลดการแตกรานของเคลือบได้
 วัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเป็นตัวทาให้เกิดความเสถียร
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
2) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง (Intermediate Oxide) ได้แก่
อะลูมินา (Al2O3) ซึ่งมีอยู่ในแร่เคโอลิไนต์ในดินให้เคลือบมีผิวเรียบ
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
3) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นกรด (Acid Oxide) เป็นวัตถุดิบในกลุ่มที่มีคุณสมบัติ
 เป็นตัวทาให้เกิดโครงสร้างของแก้ว (Glass Former) หรือโครงสร้างตาข่าย
(Network Former)
 เป็นสารประกอบที่สามารถเกิดเป็นแก้วได้เมื่อหลอมตัว
 มีคุณสมบัติเป็นตัวทนไฟในน้าเคลือบ เนื่องจากจุดหลอมตัวสูงทาให้น้าเคลือบมี
ความแข็งแกร่งทนทานต่อการขีดข่วนและแรงกระแทก
 สามารถทนต่อฤทธิ์กรดหรือด่างได้ดี
การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ
3) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นกรด (Acid Oxide) ได้แก่
 ซิลิคอนไดออกไซด์ หรือซิลิกา (SiO2)
 โบรอนออกไซด์ (B2O3)
 ไดฟอสฟอรัสเพนตาออกไซด์ (P2O5)
 เจอร์มาเนียมไดออกไซด์ (GeO2)
ซึ่งออกไซด์เหล่านี้เมื่อหลอมตัวจะทาให้เกิดโครงสร้างของแก้วได้
ตารางแสดงการจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ โดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มหลัก
กลุ่มที่มีคุณสมบัติเป็ นด่าง
(RO/R2O)
กลุ่มที่มีคุณสมบัติเป็ นตัวกลาง
(R2O3)
กลุ่มที่มีคุณสมบัติเป็ นกรด
(RO2)
PbO, 2PbCO3
BaO, BaCO3
CaO, CaCO3
K2O
Na2O
Li2O, Li2CO3
MgO, MgCO3
SrO, SrCO3
ZnO
Al2O3
B2O3
SiO2
B2O3
P2O5
GeO2
การเกิดโครงสร้างของแก้วและเคลือบ
ทฤษฎีของ Zachariasen’s random network theory
ซึ่งเป็นหลักในการศึกษาปัจจัยที่มีผลในการทาให้
เกิดโครงสร้างของแก้วและเคลือบ เช่น
โครงสร้างผลึกของซิลิกา (Silica) และซิลิเกต (Silicate)
- รูปทรงสีหน้า (Tetrahedron)
- Unit Cell
http://wps.prenhall.com/wps/media /objects/3084/31
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของสารประกอบที่สามารถทาให้เกิดโครงสร้างของแก้ว
• ช่องว่าง (Space) ซึ่งมีความสมพันธ์กับความหนาแน่น (density) จากปริมาตรต่อมวล
ของสารประกอบ ซึ่งแปรผกผันกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาตร
• ประจุไฟฟ้ า หรือความแข็งแรงของพันธะวาเลนซี (Valency bonds) ซึ่งจะมีผลโดยตรงกับ
- ความแข็ง (Hardness)
- ความแกร่ง (Strength)
- ความทนไฟ (Refractoriness)
- มีผลต่อจุดหลอมตัว (melting point) หรือจุดอ่อนตัว (Softening point)
ความแตกต่างระหว่างผลึกของซิลิเกตและซิลิกา กับ vitreous silica และ glasses
• การจัดเรียงตัวของโครงสร้างผลึกจะเป็น
แบบสมมาตร (symmetrical) ในรูปแบบ
ของเททระฮีดรอนซึ่งจะซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ
• vitreous silica และ glasses
มีการจัดเรียงโครงสร้างที่ต่อเนื่องกันเป็น
โครงข่าย 3 มิติแบบสุ่ม (Random Network)
ซึ่งจะเรียงซ้อนทับกันเป็นลาดับชั้นไป
Singer และ German, 1960 : 2
ความแตกต่างระหว่างผลึกของซิลิเกตและซิลิกา กับ vitreous silica และ glasses
ผลึกของซิลิเกตและซิลิกา vitreous silica และ glasses
จุดหลอมตัวที่แน่นอน มีอุณหภูมิที่จุดอ่อนตัวมากกว่าช่วงอุณหภูมิของการหลอมตัว
เกิดรูปของผลึก ไม่มีผลึก
จัดเรียงรูปร่างได้อย่างเป็นระเบียบ จัดเรียงตัวแบบไร้ระเบียบ
โครงตาข่ายมีความสมดุล โครงตาข่ายไม่มีความสมดุล
การขยายตัวเชิงความร้อนต่า
มีความหนืดมากเมื่อหลอม
มีพันธะที่แข็งแรงมาก
ความแตกต่างระหว่างผลึกของซิลิเกตและซิลิกา กับ vitreous silica และ glasses
ข้อสรุป
• โครงสร้างของแก้วมีการจัดเรียงโครงตาข่าย 3 มิติแบบสุ่ม ซึ่งไม่ได้เกิดซ้ากันที่ระยะห่างเดิม
• มีหน่วยพื้นฐานเป็นแบบ Tetrahedral หรือ Triangular (ร่องสามเหลี่ยม) ที่ล้อมรอบ
ด้วยอะตอมของออกซิเจน 4 อะตอมโดยมีอะตอมของซิลิคอนอยู่ภายในตรงกลาง
• ช่องว่างเล็กๆ ระหว่างของหน่วยพื้นฐานในโครงตาข่ายนี้จะถูกเติมเต็มด้วยธาตุที่ทาให้เกิด
ความเสถียรซึ่งจะไปปรับเปลี่ยนคุณสมบัติทางกายภาพของแก้ว
• ไม่สามารถหาสูตรย่อยทางเคมีของแก้วได้เนื่องจากการจัดเรียงโครงสร้างแบบสุ่ม
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
1. สารตะกั่ว (PbO)
• มีจุดหลอมละลายที่ 770-1,120 องศาเซลเซียส
• ทาหน้าที่เป็นตัวหลอมละลายที่ให้แก้วในอุณหภูมิต่า 900-1,120 องศาเซลเซียส ถ้าเผาใน
อุณหภูมิสูงเกิน 1,180 องศาเซลเซียส สารตะกั่วจะระเหยกลายเป็นไอ ตะกั่วเป็นสารพิษไม่ควรใช้
ตะกั่วโดยตรงในการเตรียมเคลือบ
• ควรนาตะกั่วมาหลอมกับซิลิกา ให้เป็น ฟริตเสียก่อน เมื่อ Pb3O4 + 2SiO2 จะได้เป็นฟริตของ
ตะกั่ว (Lead bisicate frit) มีราคาแพง ยังไม่มีการผลิตในประเทศ ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ
• เคลือบตะกั่วทุกชนิดต้องเผาแบบสันดาปสมบูรณ์ ไม่มีควัน ถ้าหากเผาผิดพลาดเชื้อเพลิงสันดาป
ไม่สมบูรณ์ จะเกิดเป็นควันสีดาคล้า
• สารที่ให้ตะกั่วได้แก่ ตะกั่วแดง (Pb3O4) และตะกั่วขาว (2PbCO3)
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
2. บอแร็กซ์ (Borax) Na2O 2B2O3 10H2O
• มีจุดหลอมละลายที่ 741 องศาเซลเซียส
• ทาหน้าที่เป็นตัวหลอมละลายให้แก้วที่อุณหภูมิต่า 900-1,100 องศาเซลเซียส เป็นด่างที่ให้
โซเดียมและบอริกออกไซด์อยู่รวมกัน เป็นสารละลายน้าได้
• นิยมนามาหลอมเป็นฟริตก่อนใช้เคลือบผลิตภัณฑ์ Na2O 2B2O3 3SiO2 คือ โบโรซิลิเกตฟ
ริต สามารถใช้ทาเคลือบสีฟ้ าสดได้ โดยใส่สนิมทองแดง 3-4% ในฟริต แล้วเผาที่อุณหภูมิต่า
900-1,100 องศาเซลเซียส
• เคลือบที่เผาที่อุณหภูมิต่าทุกชนิด ไม่นิยมนามาใส่อาหาร เพราะกรดในอาหาร เช่น น้าส้มสายชู
และกรดมะนาว สามารถกัดเคลือบได้ และเกิดสารพิษละลายปนมากับอาหาร
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
3. ฟริต (Frit)
• ฟริต คือ วัตถุดิบที่ใช้เตรียมเคลือบอุณหภูมิต่า ซึ่งทามาจากวัตถุดิบที่เป็นพิษหรือวัตถุดิบที่ละลายน้าได้
นามาเผาหลอมรวมกับซิลิกาซึ่งเป็นแก้วทาให้วัตถุดิบที่หลอมตัวเป็นแก้วมีคุณสมบัติไม่ละลายน้าและไม่
ดูดซึมเข้าทางผิวหนังลดคุณสมบัติเป็นพิษลง ฟริตถูกนามาบดให้ละเอียดในรูปของผงเคลือบสาเร็จรูป
ก่อนนามาใช้เป็นเคลือบอุณหภูมิต่า นิยมเตรียมฟริตจากวัตถุดิบ ตะกั่ว และบอแร็กซ์ หรือจากส่วนผสม
ของทั้งสองอย่างรวมกัน เช่น
• Pb3O4 + 2SiO2
เผาที่ 1,130℃
บดเป็นผงละเอียด (Lead bisilicate frit)
• Na2O 2B2O3 + 3SiO2
เผาที่ 1,180℃
บดเป็นผงละเอียด (Borosilicate frit)
• Pb3O4 + Na2O 2B2O3 + 5SiO2
เผาที่ 1,180℃
บดเป็นผงละเอียด (Lead Borosilicate
frit)
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
• ฟริตนิยมนามาใช้ผสมในน้าเคลือบอุณหภูมิต่าประมาณ 80-100% โดยน้าหนัก เนื่องจาก
ในเคลือบฟริตมีส่วนผสมของซิลิกา และอะลูมินาอยู่บ้างจึงใช้เป็นเคลือบสาเร็จรูปที่อุณหภูมิ
ต่าได้
• เคลือบอุณหภูมิปานกลาง 1,150-1,200 องศาเซลเซียส ใช้ฟริตในปริมาณน้อยลง เพื่อลด
อุณหภูมิการหลอมละลายของเคลือบโดยใช้ในปริมาณ 20-40% ร่วมกับวัตถุดิบตัวหลอม
ละลายอื่นๆ ในสูตรเคลือบ
• เคลือบอุณหภูมิสูง โดยปกติไม่ใช้ฟริตเป็นส่วนประกอบ ใช้วัตถุดิบทั้งหมด (Raw
material) แต่ในเคลือบอุณหภูมิสูงบางชนิดที่ต้องการสีพิเศษหรือมีปฏิกิริยาแปลกจาก
ธรรมชาติ (special effect) จะใช้ฟริตในสูตรเคลือบด้วยในปริมาณไม่เกิน 5%
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
4. ซิงค์ออกไซด์ (ZnO)
• เป็นวัตถุดิบมีจุดหลอมละลายสูง หลอมละลายได้แก้วที่ 1,800 องศาเซลเซียส
• สังกะสี (Zinc) เป็นด่างที่นิยมใช้ในเคลือบอุณหภูมิปานกลางถึงอุณหภูมิสูง 1,150-1,250
องศาเซลเซียส
• ใช้รวมกับด่างตัวอื่นๆ เช่น หินปูน โซดาเฟลด์สปาร์ เป็นต้น หากใช้เฉพาะด่างจากสังกะสีเพียง
อย่างเดียวอาจจะทาให้เคลือบไม่ยอมละลาย เคลือบใสที่มีสังกะสี ถ้าหากนามาเขียนสีใต้
เคลือบ สีเขียว สีเหลือง สีน้าตาล จะซีดลงและสีเขียวจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล แต่เคลือบสังกะสี
จะทาให้สีน้าเงินมีสีสดยิ่งขึ้น
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
5. แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO)
• เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายสูงมาก 2,800 องศาเซลเซียส
• จัดเป็นวัตถุดิบทนไฟแต่มีคุณสมบัติเป็นด่างหรือตัวหลอมละลายในเคลือบอุณหภูมิสูง 1,250
องศาเซลเซียส ขึ้นไปถึง 1,300 องศาเซลเซียส
• แมกนีเซียมไม่ได้เป็นตัวหลอมละลายหลักในสูตรเคลือบแต่ใช้ในปริมาณน้อยมาก จาก 1-10%
ถ้าใช้ปริมาณมากเคลือบจะทนไฟสูง และเกิดเป็นเคลือบกึ่งด้าน (Semi Matt) วัตถุดิบที่ใช้
แมกนีเซีย ได้แก่
• ทัลคัม (Talcum) 3MgO 4SiO2 H2O แมกนีเซียมซิลิเกต
• โดโลไมต์ (Dolomite) CaCO3 MgCO3 แคลเซียมแมกนีเซียมคาร์บอเนต
• แมกนีเซียมคาร์บอเนต (Magnesium Carbonate) MgCO3
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
6. ลิเทียมออกไซด์ (Li2O)
• วัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายให้แก้วในอุณหภูมิ 1,150 องศาเซลเซียส
• มีคุณสมบัติเป็นตัวหลอมละลายที่ดีในเคลือบอุณหภูมิปานกลาง และอุณหภูมิสูง 1,150-1,230
องศาเซลเซียส ลิเทียมมีราคาแพงจึงไม่นิยมใช้ในเคลือบอุตสาหกรรม เหมาะสาหรับทาเคลือบใน
ปริมาณไม่มาก ลิเทียมมีคุณสมบัติเป็นตัวเร่งสีเคลือบด้วย เคลือบที่มีสีพิเศษต่างๆ เช่น สีฟ้ าเทอร์
คอยช์ หรือสีชมพู จะต้องใส่ลิเทียมในปริมาณ 5-10% ในสูตร วัตถุดิบที่ให้ลิเทียมได้แก่
• Li2CO3 ลิเทียมคาร์บอเนต
• Li2F2 Al2O3 3SiO2 ลิเทียมเฟลด์สปาร์ หรือเลปปิโดไลต์
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
7. สตรอนเซียมออกไซด์ (SrO2)
• เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายที่ 2,430 องศาเซลเซียส
• มีคุณสมบัติเป็นด่างใช้ในเคลือบอุณหภูมิปานกลาง 1,150-1,200 องศาเซลเซียส ซึ่งโดย
ปกติจะใช้ไม่เกิน 3% ในสูตรเคลือบ อุณหภูมิการเผาปานกลางโดยใช้รวมกับด่างตัวอื่นๆ เช่น
โซดาเฟลด์สปาร์ ซิงค์ออกไซด์ แบเรียมคาร์บอเนต
• ใช้ร่วมกันหลายๆ อย่าง เพื่อลดอุณหภูมิในการหลอมละลายได้ดีกว่าการใช้เพียงลาพังตัวเดียว
สตรอนเซียม มีราคาแพงจึงไม่นิยมใช้ทาเคลือบในอุตสาหกรรมที่ใช้เคลือบปริมาณมาก
วัตถุดิบที่ให้สตรอนเซียม ได้แก่
• SrCO3 สตรอนเซียมคาร์บอเนต
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
8. แบเรียมคาร์บอเนต (BaCO3)
• เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายที่ 1,923 องศาเซลเซียส
• มีคุณสมบัติเป็นตัวหลอมละลายที่อุณหภูมิปานกลางถึงอุณหภูมิสูง 1,180-1,250 องศาเซลเซียส
โดยปกติแล้วแบเรียมไม่ใช่ตัวหลอมละลายหลัก
• จึงใช้เป็นตัวเร่งตัวหนึ่งในการหลอมละลายของเคลือบ เต่ใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อย 5-8% ถ้าใช้
มากกว่านั้นจะไม่ช่วยให้เคลือบหลอมละลายได้เร็วขึ้น ถ้าหากใช้มากกว่า 20% ขึ้นไปในเคลือบ
มักจะให้สีด้านแทนเคลือบที่มีปริมาณของแบเรียมสูงถ้าเผาเกินอุณหภูมิไปเล็กน้อย 20-30
องศาเซลเซียส จะเกิดตาหนิเป็นฟองบนผิวเคลือบ หรือเคลือบเดือดพองปุดๆ จึงต้องระวังในการเผา
เป็นพิเศษโดยเผาต่ากว่าอุณหภูมิเดิมสัก 20-30 องศาเซลเซียส และแช่เวลาไว้ที่อุณหภูมิสูงสุดไว้
10 นาที เคลือบจะมีคุณภาพดี ไม่เกิดตาหนิเป็นฟอง
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
9. แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)
• แคลเซียมคาร์บอเนต หรือหินปูน เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายสูง 2,500 องศาเซลเซียส
• มีคุณสมบัติเป็นตัวหลอมละลายหลักในเคลือบอุณหภูมิสูง 1,250-1,300 องศาเซลเซียส
สามารถใช้เพียงอย่างตัวเดียวในสูตรเคลือบได้ เพื่อเป็นตัวหลอมละลายแต่โดยปกตินิยมใช้คู่
กับโซดาหรือโพแทสในเฟลด์สปาร์ ด้วยปริมาณที่ใช้ 15-25% ในเคลือบอุณหภูมิสูง
• ช่วยให้เคลือบมีความแข็งแกร่ง วัตถุดิบที่ให้แคลเซียมได้แก่
• หินปูนสีขาว Whiting
• แคลไซด์ CaCO3
• หินปูนสีเทา Gray limestone
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
10. เฟลด์สปาร์ (KNaO Al2O3 6SiO2)
• เฟลด์สปาร์หรือหินฟันม้า เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลาย 1,180-1,200 องศาเซลเซียส
มีคุณสมบัติเป็นเคลือบได้ตามธรรมชาติ มีด่าง กลาง และกรด อยู่ครบในส่วนประกอบของเคลือบ
• เคลือบเคมีหรือเคลือบหินที่เราใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งก็คือเคลือบหินฟันม้านี้เอง ที่เป็นวัตถุดิบหลักในสูตร
เคลือบ มีตั้งแต่ 40-60% ในสูตรเคลือบอุณหภูมิสูงทุกชนิด ถ้าใช้โพแทสเฟลด์สปาร์เพียงอย่างเดียว
เพื่อทาเคลือบจะต้องเผาถึงอุณณภูมิ 1,400 องศาเซลเซียส จึงจะได้เคลือบใส แต่ถ้าหากเราต้องการ
ลดอุณหภูมิในการหลอมละลายและได้เคลือบใสที่ดี จะต้องใช้เฟลด์สปาร์ร่วมกับตัวหลอมละลายตัว
อื่นๆ เฟลด์สปาร์ ที่นิยมใช้ในสูตรเคลือบมีอยู่ 2 ชนิด คือ
• K2O Al2O3 6SiO2 โพแทสเฟลด์สปาร์
• Na2O Al2O3 6SiO2 โซดาเฟลด์สปาร์
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
11. เนฟเฟลีนไซยาไนด์ (K2O 3Na2O 4Al2O3 9SiO2)
• เป็นเฟลด์สปาร์ที่มีตัวหลอมละลายในปริมาณมากกว่าเฟลด์สปาร์ในธรรมชาติ
• จึงมีจุดหลอมละลายต่า 1,100-1,200 องศาเซลเซียส แล้วแต่แหล่งที่ขุดได้
• เหมาะสาหรับทาเคลือบหิน เพราะสามารถใช้เป็นวัตถุดิบหลักได้ทันที 70-80% ในสูตร
เคลือบ ไม่มีจาหน่ายในประเทศ ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
12. อะลูมินาออกไซด์ (Al2O3)
• มีจุดหลอมละลายที่ 2,050 องศาเซลเซียส
• มีคุณสมบัติเป็นตัวกลาง ทาให้เคลือบหนืดเกาะติดผิวดินได้ดี ไม่ไหลจากตัวผลิตภัณฑ์ขณะเผาถึง
จุดหลอมละลาย ช่วยให้เคลือบดิบที่ยังไม่ได้เผามีความแข็งสามารถเกาะติดผิวผลิตภัณฑ์ได้แน่นไม่
หลุดเป็นฝุ่นติดมือขณะจับ หรือทาให้เคลือบมีตาหนิง่าย
• ปกติเราใช้ดินขาวเป็นวัตถุดิบที่ให้อะลูมินาในเคลือบ เคลือบเกือบทุกชนิด มีดินขาวอยู่ประมาณ
10% ในสูตร เพื่อช่วยให้เคลือบลอยตัวไม่ตกตะกอนก้นถัง และช่วยให้เคลือบไม่หลุดเป็นฝุ่นและมี
คุณสมบัติเป็นตัวหนืดในขณะที่เคลือบหลอมละลาย วัตถุดิบที่ให้อะลูมินา ได้แก่
• ดินขาว Al2O3 2SiO2 2H2O
• อะลูมินาไฮเดรท Al2O3 3H2O
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
13. ซิลิกา (SiO2)
• มีจุดหลอมละลายที่ 1,750 องศาเซลเซียส เป็นทรายแก้ว หรือหินแก้วผลึกของแร่ควอทซ์ มีค่า
ความแข็ง ระดับ 7 ทาให้บดละเอียดได้ยาก มีคุณสมบัติเป็นกรด ทาหน้าที่เป็นตัวทนไฟ ลดการ
ไหลตัวของน้าเคลือบ ทาให้ผิวเคลือบมีความแข็งแกร่งทนต่อรอยขีดข่วน ทนแรงกระแทง ทนฤทธิ์
กรด และด่างได้ดี ในเคลือบอุณหภูมิสูงทุกชนิดมีปริมาณของซิลิกาในสูตร 25-30% วัตถุดิบที่ให้
ซิลิกาได้แก่
• ควอทซ์ (Quartz)
• ฟลินท์ (Flint)
• ซิลิกา
• ทรายแก้วบริสุทธิ์
• เฟลด์สปาร์ทุกชนิด
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
13. วัตถุดิบที่ให้สีขาวทึบและสีต่างๆ ในเคลือบ
สีขาวทึบ
• SnO2 สแตนนิกออกไซด์ (ดีบุก) 3-7%
• ZrSiO4 เซอร์โคเนียมซิลิเกต หรือชื่อการค้า เซอร์โคแพก 8-12%
สีขาวครีม
• TiO2 ไทเทเนียมไดออกไซด์ 8-12%
สีเขียว
Oxidation Firing (OF) Reduction Firing
(RF)
Cr2O3 โครมิกออกไซด์ 0.5-
1%
0.5-1% สีน้าตาล
0.5-1% สีแดง
วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ
Oxidation Firing (OF) Reduction Firing (RF)
MnO2 แมงกานีสไดออกไซด์ 4-6%
Fe2O3 เฟอร์ริกออกไซด์ 4% = สีเหลือง
8% = สีน้าตาล
12-15% = สีดา
FeO, Fe3O4 เฟอร์รัสออกไซด์ เหล็กดา 4-8%
3-6% สีน้าตาล
1-2% สีเขียวศิลาดล
1-2% สีเขียวศิลาดล
• สีน้าตาล
• สีฟ้ า-น้าเงิน
Oxidation Firing (OF) Reduction Firing
(RF)
CoO โครบอลต์ออกไซด์ 0.5-3% 1-2% สีน้าเงินสด
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
1. ผลของ K2O และ Na2O ที่มีต่อเคลือบ
• มีคุณสมบัติที่มีความเป็นฟลักซ์ (Flux) ที่รุนแรง
• ช่วยลดความหนืดของน้าเคลือบได้เป็นอย่างดี
• ช่วยเพิ่มการขยายตัวเชิงความร้อน (Thermal Expansion) ให้กับเคลือบ
• ทาให้เคลือบมีโอกาสเกิดการหลอมละลาย (Dissolution) หรือไหลตัวได้ดี
• เคลือบมีความทนต่อสารเคมีน้อยลง โดยเฉาะความสามารถในการทนต่อกรดจะลดลง
• ความแข็ง (Hardness) และการทนต่อการขัดสีของเคลือบจะลดลง
• ทาให้ช่วงอุณหภูมิในการอ่อนตัว (Softening range) แคบลง
• มีผลต่อการเกิดสีบางสีหลังเผา
• ราคาไม่แพง
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
2. ผลของ CaO ที่มีต่อเคลือบ
• มีความเป็นฟลักซ์ที่อุณหภูมิสูง (1,040 องศาเซลเซียส)
• ช่วยให้ชั้นระหว่างเคลือบและเนื้อดิน (Interface Layer) มีความหนาและแข็งแรงขึ้น
• ช่วยให้ความแข็ง และความแข็งแรง (Strength) ของเคลือบดีขึ้น ถ้าหากใช้ร่วมกับ
B2O3 (บอร์ริกออกไซด์)
• เคลือบมีความทนต่อกรดมากขึ้น
• หากใช้ในปริมาณน้อยจะทาให้เคลือบเกิดการแยกตัวออก (Segregation) แต่ถ้าหาก
ใส่ในปริมาณมากจะทาให้ผิวของเคลือบทึบแสง
• ช่วยเพิ่มแรงดึงที่ผิว (Surface Tension) ให้กับเคลือบ
• ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนสีบางสีหลังเผา ยกเว้นกับ Fe2O3 โดย CaO จะเปลี่ยน Fe2O3
จากสีเหลืองให้เป็นสีเขียวปนเหลือง (Olive Green)
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
3. ผลของ MgO ที่มีต่อเคลือบ
• ช่วยให้ผิวเคลือบสุกใส (Brilliance) เป็นประกาย
• หากใส่ในปริมาณน้อยจะช่วยลดจุดหลอม และลดอุณหภูมิในการหลอมเคลือบ แต่ถ้าหาก
ใส่ในปริมาณมากจะทาให้ผิวของเคลือบทึบแสง และช่วยให้เคลือบเกิดผลึก นอกจากนี้ยัง
ช่วยเพิ่มจุดหลอมตัวให้กับเคลือบอีกด้วย
• ช่วยลดการขยายตัวเชิงความร้อนหากใช้ในปริมาณน้อย
• ช่วยเพิ่มแรงดึงที่ผิว (Surface Tension) ให้กับเคลือบ
• ช่วยเพิ่มความแข็งและการทนต่อการขัดสีให้กับเคลือบ
• มีความทนต่อสารเคมีเพิ่มขึ้น
• อาจทาให้เคลือบเปลี่ยนสีได้
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
4. ผลของ PbO ที่มีน้าเคลือบ
• ช่วยลดความหนืดให้กับเคลือบ ทาให้เคลือบมีการไหลตัวที่ดีขึ้น
• ช่วยลดจุดหลอมตัวให้กับเคลือบ (ลดอุณหภูมิการหลอม)
• ช่วยลดแรงดึงที่ผิว (Surface Tension) ให้กับเคลือบ
• ความแข็งลดลง
• เกิดการระเหย (Evaporation) ได้ง่ายขณะเผา
• ความแข็งแรงและความทนต่อสารเคมีลดลง
• ช่วยเพิ่มการหลอมละลายของแก้ว
• ช่วยให้เคลือบมีผิวเรียบปราศจากฟองอากาศ (Bubbles)
• สามารถทาให้เคลือบมีสีสดใสได้ที่อุณหภูมิต่า เช่น สีเหลืองสด สีแดงสด เป็นต้น
• อาจทาให้เคลือบใสมีสีเหลืองได้
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
5. ผลของ B2O3 ที่มีน้าเคลือบ
• ลดอุณหภูมิหลอมตัวให้กับเคลือบได้เป็นอย่างดี
• ช่วยเพิ่มการเกิดเป็นเนื้อแก้ว
• ช่วยให้เคลือบมีความหนืดลดลง และช่วยลดแรงดึงที่ผิว
• ช่วยให้ผิวเคลือบเรียบและสุกใสเป็นประกาย
• ทนต่อสารเคมี และมีความแข็งแรงมากกว่าเดิม
• มีช่วงอุณหภมิในการอ่อนตัวกว้างขึ้น
• ทาให้เคลือบเกิดการแยกตัว จึงทาให้ใช้วัตถุดิบที่เป็นตัวทึบ (Opacifier) น้อยลง
• ช่วยลดการขยายตัวเชิงความร้อน
• ช่วยเพิ่มความสามารถในการหลอมละลาย
• อาจจะทาให้เคลือบมีสีที่จางลงได้
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
6. ผลของ Al2O3 ที่มีน้าเคลือบ
• ช่วยเพิ่มอุณหภูมิในการหลอมตัวให้กับเคลือบ
• เคลือบมีความหนืดเพิ่มขึ้น
• เคลือบมีความทนต่อสารเคมีเพิ่มขึ้น
• ช่วยทาให้มีช่วงอุณหภมิในการอ่อนตัวกว้างขึ้น
• ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนต่อสารเคมี
• ช่วยเพิ่มแรงดึงที่ผิวให้กับเคลือบ
• ช่วยลดการขยายตัวของ PbO, ZnO และ Alkali ให้กับเคลือบ
• ทาให้ออกไซด์เกิดการเปลี่ยนสีได้ เช่น ช่วยทาให้สีดาเข้มดีขึ้น
• ช่วยทาให้พันธะความแข็งแรงของวัตถุดิบสาหรับทาเคลือบดีขึ้น
การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ
7. ผลของ SiO2 ที่มีน้าเคลือบ
• ช่วยเพิ่มอุณหภูมิในการหลอมตัว
• เคลือบมีความหนืดเพิ่มขึ้น และช่วยให้ช่วงอุณหภูมิในการหลอม (Melting point) กว้างขึ้น
• สามารถลดการขยายตัวเชิงความร้อนของเคลือบได้
• ช่วยลดความสามารถในการหลอมละลาย (Solubility) ของ PbO ได้
• ช่วยเพิ่มความแข็งแรงอัด (Compressive Strength)
• ช่วยเพิ่มความทนต่อสารเคมี และกรด
• มีผลต่อการเปลี่ยนของเคลือบน้อยมาก (ยกเว้น Chromium Red, Nickel Red และ
Chromium Yellow)
• ถ้ามี B2O3 และ ZnO จะทาให้เคลือบมีความทึบแสงเพิ่มขึ้น
• ช่วยทาให้เคลือบด้านมีสีสดใส

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จNoot Ting Tong
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานNoonnu Ka-noon
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)Pear Pimnipa
 
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่Naphat Noey
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninakhanidthakpt
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชLUXSI111
 

What's hot (20)

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จโครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เสร็จ
 
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7 ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิริยาเคมี เล่ม7
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
 
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
เปรียบเทียบประสิทธิภาพแอลกอฮอล์แข็งจากสบู่
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna kareninaสรุปนิทาน Anna karenina
สรุปนิทาน Anna karenina
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
ส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืชส่วนประกอบของพืช
ส่วนประกอบของพืช
 

Viewers also liked

Desbridamiento belfast
Desbridamiento belfastDesbridamiento belfast
Desbridamiento belfastMaripaz Lara
 
Unrein,Shannon.Resume (2) final template
Unrein,Shannon.Resume (2) final templateUnrein,Shannon.Resume (2) final template
Unrein,Shannon.Resume (2) final templateShannon Unrein
 
Sofagr presentation
Sofagr presentationSofagr presentation
Sofagr presentationSofaGr
 
Crispy Bacon Srl - Digital Company
Crispy Bacon Srl - Digital CompanyCrispy Bacon Srl - Digital Company
Crispy Bacon Srl - Digital CompanyMarco Volpe
 
Tecnologías de la Información y la Comunicación
Tecnologías de la Información y la ComunicaciónTecnologías de la Información y la Comunicación
Tecnologías de la Información y la ComunicaciónJairGino
 
我coauther第一篇paper
我coauther第一篇paper我coauther第一篇paper
我coauther第一篇paperYiming Chai
 
Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2
Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2
Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2Jhon Maldonado Quintero
 

Viewers also liked (15)

Chapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basicsChapter 1.1 glaze basics
Chapter 1.1 glaze basics
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
EXPLORACION DE GOOGLE DIAPOSITIVAS
 
Dymmo presentation 2
Dymmo presentation 2Dymmo presentation 2
Dymmo presentation 2
 
Desbridamiento belfast
Desbridamiento belfastDesbridamiento belfast
Desbridamiento belfast
 
Constitutional provision on RTI
Constitutional provision on RTIConstitutional provision on RTI
Constitutional provision on RTI
 
final cv786
final cv786final cv786
final cv786
 
Unrein,Shannon.Resume (2) final template
Unrein,Shannon.Resume (2) final templateUnrein,Shannon.Resume (2) final template
Unrein,Shannon.Resume (2) final template
 
Sofagr presentation
Sofagr presentationSofagr presentation
Sofagr presentation
 
Crispy Bacon Srl - Digital Company
Crispy Bacon Srl - Digital CompanyCrispy Bacon Srl - Digital Company
Crispy Bacon Srl - Digital Company
 
Tecnologías de la Información y la Comunicación
Tecnologías de la Información y la ComunicaciónTecnologías de la Información y la Comunicación
Tecnologías de la Información y la Comunicación
 
我coauther第一篇paper
我coauther第一篇paper我coauther第一篇paper
我coauther第一篇paper
 
Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2
Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2
Plan de trabajo hogar bohío de maría 2016 2
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
Diagnostico matematica 3°
Diagnostico matematica 3°Diagnostico matematica 3°
Diagnostico matematica 3°
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 

Chapter 4 properties of glazes and control

  • 1. บทที่ 4 คุณสมบัติของเคลือบและการควบคุม (Properties of Glazes and Control) ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเซรามิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
  • 3. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ เซเกอร์ นักเคมีชาวเยอรมันผู้ที่จาแนกวัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบออกเป็ น 3 กลุ่มหลัก ดังนี้ 1) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นด่าง (Alkali หรือ Basic Oxide) 2) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง (Intermediate Oxide) 3) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นกรด (Acid Oxide)
  • 4. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ 1) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นด่าง (Alkali หรือ Basic Oxide) หรือที่นิยมเรียกว่าฟลักซ์ (Flux) ซึ่งเป็นวัตถุดิบในกลุ่มที่มีคุณสมบัติ  เป็นตัวปรับโครงสร้างแก้ว (Network Modifier)  ช่วยลดจุดหลอมตัวและความหนืดให้กับเคลือบ  ทาให้อุณหภูมิในการเผาเคลือบลดลง  ได้เคลือบหลอมละลายเร็วขึ้น  เพิ่มการไหลตัวให้กับเคลือบทา
  • 5. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ 1) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นด่าง (Alkali หรือ Basic Oxide) ได้แก่  โซเดียมออกไซด์ (Na2O) ซึ่งอยู่ในรูปของโซเดียมเฟลด์สปาร์ หรือโซเดียมคาร์บอเนต  โพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) ซึ่งอยู่ในรูปของโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ หรือโพแทสเซียมคาร์บอเนต  แคลเซียมออกไซด์ (CaO) ซึ่งอยู่ในรูปของหินปูน หรือแคลเซียมคาร์บอเนต และซิงค์ออกไซด์
  • 6. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ 2) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง (Intermediate Oxide) เป็นวัตถุดิบในกลุ่มที่มี คุณสมบัติ  เป็นตัวทาให้เกิดความเสถียร (Network Co-Former)  ช่วยให้เคลือบมีความหนืด เมื่อหลอมตัวเป็นแก้วจะไม่ไหลตัวมากเกินไป  ช่วยลดการแตกรานของเคลือบได้  วัตถุดิบที่มีคุณสมบัติเป็นตัวทาให้เกิดความเสถียร
  • 7. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ 2) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นตัวกลาง (Intermediate Oxide) ได้แก่ อะลูมินา (Al2O3) ซึ่งมีอยู่ในแร่เคโอลิไนต์ในดินให้เคลือบมีผิวเรียบ
  • 8. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ 3) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นกรด (Acid Oxide) เป็นวัตถุดิบในกลุ่มที่มีคุณสมบัติ  เป็นตัวทาให้เกิดโครงสร้างของแก้ว (Glass Former) หรือโครงสร้างตาข่าย (Network Former)  เป็นสารประกอบที่สามารถเกิดเป็นแก้วได้เมื่อหลอมตัว  มีคุณสมบัติเป็นตัวทนไฟในน้าเคลือบ เนื่องจากจุดหลอมตัวสูงทาให้น้าเคลือบมี ความแข็งแกร่งทนทานต่อการขีดข่วนและแรงกระแทก  สามารถทนต่อฤทธิ์กรดหรือด่างได้ดี
  • 9. การจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ 3) วัตถุดิบที่ทาหน้าที่เป็ นกรด (Acid Oxide) ได้แก่  ซิลิคอนไดออกไซด์ หรือซิลิกา (SiO2)  โบรอนออกไซด์ (B2O3)  ไดฟอสฟอรัสเพนตาออกไซด์ (P2O5)  เจอร์มาเนียมไดออกไซด์ (GeO2) ซึ่งออกไซด์เหล่านี้เมื่อหลอมตัวจะทาให้เกิดโครงสร้างของแก้วได้
  • 10. ตารางแสดงการจัดกลุ่มวัตถุดิบที่ใช้ในการเตรียมน้าเคลือบ โดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มหลัก กลุ่มที่มีคุณสมบัติเป็ นด่าง (RO/R2O) กลุ่มที่มีคุณสมบัติเป็ นตัวกลาง (R2O3) กลุ่มที่มีคุณสมบัติเป็ นกรด (RO2) PbO, 2PbCO3 BaO, BaCO3 CaO, CaCO3 K2O Na2O Li2O, Li2CO3 MgO, MgCO3 SrO, SrCO3 ZnO Al2O3 B2O3 SiO2 B2O3 P2O5 GeO2
  • 11. การเกิดโครงสร้างของแก้วและเคลือบ ทฤษฎีของ Zachariasen’s random network theory ซึ่งเป็นหลักในการศึกษาปัจจัยที่มีผลในการทาให้ เกิดโครงสร้างของแก้วและเคลือบ เช่น โครงสร้างผลึกของซิลิกา (Silica) และซิลิเกต (Silicate) - รูปทรงสีหน้า (Tetrahedron) - Unit Cell http://wps.prenhall.com/wps/media /objects/3084/31
  • 12. ปัจจัยที่มีผลต่อคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของสารประกอบที่สามารถทาให้เกิดโครงสร้างของแก้ว • ช่องว่าง (Space) ซึ่งมีความสมพันธ์กับความหนาแน่น (density) จากปริมาตรต่อมวล ของสารประกอบ ซึ่งแปรผกผันกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาตร • ประจุไฟฟ้ า หรือความแข็งแรงของพันธะวาเลนซี (Valency bonds) ซึ่งจะมีผลโดยตรงกับ - ความแข็ง (Hardness) - ความแกร่ง (Strength) - ความทนไฟ (Refractoriness) - มีผลต่อจุดหลอมตัว (melting point) หรือจุดอ่อนตัว (Softening point)
  • 13. ความแตกต่างระหว่างผลึกของซิลิเกตและซิลิกา กับ vitreous silica และ glasses • การจัดเรียงตัวของโครงสร้างผลึกจะเป็น แบบสมมาตร (symmetrical) ในรูปแบบ ของเททระฮีดรอนซึ่งจะซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ • vitreous silica และ glasses มีการจัดเรียงโครงสร้างที่ต่อเนื่องกันเป็น โครงข่าย 3 มิติแบบสุ่ม (Random Network) ซึ่งจะเรียงซ้อนทับกันเป็นลาดับชั้นไป Singer และ German, 1960 : 2
  • 14. ความแตกต่างระหว่างผลึกของซิลิเกตและซิลิกา กับ vitreous silica และ glasses ผลึกของซิลิเกตและซิลิกา vitreous silica และ glasses จุดหลอมตัวที่แน่นอน มีอุณหภูมิที่จุดอ่อนตัวมากกว่าช่วงอุณหภูมิของการหลอมตัว เกิดรูปของผลึก ไม่มีผลึก จัดเรียงรูปร่างได้อย่างเป็นระเบียบ จัดเรียงตัวแบบไร้ระเบียบ โครงตาข่ายมีความสมดุล โครงตาข่ายไม่มีความสมดุล การขยายตัวเชิงความร้อนต่า มีความหนืดมากเมื่อหลอม มีพันธะที่แข็งแรงมาก
  • 15. ความแตกต่างระหว่างผลึกของซิลิเกตและซิลิกา กับ vitreous silica และ glasses ข้อสรุป • โครงสร้างของแก้วมีการจัดเรียงโครงตาข่าย 3 มิติแบบสุ่ม ซึ่งไม่ได้เกิดซ้ากันที่ระยะห่างเดิม • มีหน่วยพื้นฐานเป็นแบบ Tetrahedral หรือ Triangular (ร่องสามเหลี่ยม) ที่ล้อมรอบ ด้วยอะตอมของออกซิเจน 4 อะตอมโดยมีอะตอมของซิลิคอนอยู่ภายในตรงกลาง • ช่องว่างเล็กๆ ระหว่างของหน่วยพื้นฐานในโครงตาข่ายนี้จะถูกเติมเต็มด้วยธาตุที่ทาให้เกิด ความเสถียรซึ่งจะไปปรับเปลี่ยนคุณสมบัติทางกายภาพของแก้ว • ไม่สามารถหาสูตรย่อยทางเคมีของแก้วได้เนื่องจากการจัดเรียงโครงสร้างแบบสุ่ม
  • 16. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 1. สารตะกั่ว (PbO) • มีจุดหลอมละลายที่ 770-1,120 องศาเซลเซียส • ทาหน้าที่เป็นตัวหลอมละลายที่ให้แก้วในอุณหภูมิต่า 900-1,120 องศาเซลเซียส ถ้าเผาใน อุณหภูมิสูงเกิน 1,180 องศาเซลเซียส สารตะกั่วจะระเหยกลายเป็นไอ ตะกั่วเป็นสารพิษไม่ควรใช้ ตะกั่วโดยตรงในการเตรียมเคลือบ • ควรนาตะกั่วมาหลอมกับซิลิกา ให้เป็น ฟริตเสียก่อน เมื่อ Pb3O4 + 2SiO2 จะได้เป็นฟริตของ ตะกั่ว (Lead bisicate frit) มีราคาแพง ยังไม่มีการผลิตในประเทศ ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ • เคลือบตะกั่วทุกชนิดต้องเผาแบบสันดาปสมบูรณ์ ไม่มีควัน ถ้าหากเผาผิดพลาดเชื้อเพลิงสันดาป ไม่สมบูรณ์ จะเกิดเป็นควันสีดาคล้า • สารที่ให้ตะกั่วได้แก่ ตะกั่วแดง (Pb3O4) และตะกั่วขาว (2PbCO3)
  • 17. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 2. บอแร็กซ์ (Borax) Na2O 2B2O3 10H2O • มีจุดหลอมละลายที่ 741 องศาเซลเซียส • ทาหน้าที่เป็นตัวหลอมละลายให้แก้วที่อุณหภูมิต่า 900-1,100 องศาเซลเซียส เป็นด่างที่ให้ โซเดียมและบอริกออกไซด์อยู่รวมกัน เป็นสารละลายน้าได้ • นิยมนามาหลอมเป็นฟริตก่อนใช้เคลือบผลิตภัณฑ์ Na2O 2B2O3 3SiO2 คือ โบโรซิลิเกตฟ ริต สามารถใช้ทาเคลือบสีฟ้ าสดได้ โดยใส่สนิมทองแดง 3-4% ในฟริต แล้วเผาที่อุณหภูมิต่า 900-1,100 องศาเซลเซียส • เคลือบที่เผาที่อุณหภูมิต่าทุกชนิด ไม่นิยมนามาใส่อาหาร เพราะกรดในอาหาร เช่น น้าส้มสายชู และกรดมะนาว สามารถกัดเคลือบได้ และเกิดสารพิษละลายปนมากับอาหาร
  • 18. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 3. ฟริต (Frit) • ฟริต คือ วัตถุดิบที่ใช้เตรียมเคลือบอุณหภูมิต่า ซึ่งทามาจากวัตถุดิบที่เป็นพิษหรือวัตถุดิบที่ละลายน้าได้ นามาเผาหลอมรวมกับซิลิกาซึ่งเป็นแก้วทาให้วัตถุดิบที่หลอมตัวเป็นแก้วมีคุณสมบัติไม่ละลายน้าและไม่ ดูดซึมเข้าทางผิวหนังลดคุณสมบัติเป็นพิษลง ฟริตถูกนามาบดให้ละเอียดในรูปของผงเคลือบสาเร็จรูป ก่อนนามาใช้เป็นเคลือบอุณหภูมิต่า นิยมเตรียมฟริตจากวัตถุดิบ ตะกั่ว และบอแร็กซ์ หรือจากส่วนผสม ของทั้งสองอย่างรวมกัน เช่น • Pb3O4 + 2SiO2 เผาที่ 1,130℃ บดเป็นผงละเอียด (Lead bisilicate frit) • Na2O 2B2O3 + 3SiO2 เผาที่ 1,180℃ บดเป็นผงละเอียด (Borosilicate frit) • Pb3O4 + Na2O 2B2O3 + 5SiO2 เผาที่ 1,180℃ บดเป็นผงละเอียด (Lead Borosilicate frit)
  • 19. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ • ฟริตนิยมนามาใช้ผสมในน้าเคลือบอุณหภูมิต่าประมาณ 80-100% โดยน้าหนัก เนื่องจาก ในเคลือบฟริตมีส่วนผสมของซิลิกา และอะลูมินาอยู่บ้างจึงใช้เป็นเคลือบสาเร็จรูปที่อุณหภูมิ ต่าได้ • เคลือบอุณหภูมิปานกลาง 1,150-1,200 องศาเซลเซียส ใช้ฟริตในปริมาณน้อยลง เพื่อลด อุณหภูมิการหลอมละลายของเคลือบโดยใช้ในปริมาณ 20-40% ร่วมกับวัตถุดิบตัวหลอม ละลายอื่นๆ ในสูตรเคลือบ • เคลือบอุณหภูมิสูง โดยปกติไม่ใช้ฟริตเป็นส่วนประกอบ ใช้วัตถุดิบทั้งหมด (Raw material) แต่ในเคลือบอุณหภูมิสูงบางชนิดที่ต้องการสีพิเศษหรือมีปฏิกิริยาแปลกจาก ธรรมชาติ (special effect) จะใช้ฟริตในสูตรเคลือบด้วยในปริมาณไม่เกิน 5%
  • 20. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 4. ซิงค์ออกไซด์ (ZnO) • เป็นวัตถุดิบมีจุดหลอมละลายสูง หลอมละลายได้แก้วที่ 1,800 องศาเซลเซียส • สังกะสี (Zinc) เป็นด่างที่นิยมใช้ในเคลือบอุณหภูมิปานกลางถึงอุณหภูมิสูง 1,150-1,250 องศาเซลเซียส • ใช้รวมกับด่างตัวอื่นๆ เช่น หินปูน โซดาเฟลด์สปาร์ เป็นต้น หากใช้เฉพาะด่างจากสังกะสีเพียง อย่างเดียวอาจจะทาให้เคลือบไม่ยอมละลาย เคลือบใสที่มีสังกะสี ถ้าหากนามาเขียนสีใต้ เคลือบ สีเขียว สีเหลือง สีน้าตาล จะซีดลงและสีเขียวจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล แต่เคลือบสังกะสี จะทาให้สีน้าเงินมีสีสดยิ่งขึ้น
  • 21. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 5. แมกนีเซียมออกไซด์ (MgO) • เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายสูงมาก 2,800 องศาเซลเซียส • จัดเป็นวัตถุดิบทนไฟแต่มีคุณสมบัติเป็นด่างหรือตัวหลอมละลายในเคลือบอุณหภูมิสูง 1,250 องศาเซลเซียส ขึ้นไปถึง 1,300 องศาเซลเซียส • แมกนีเซียมไม่ได้เป็นตัวหลอมละลายหลักในสูตรเคลือบแต่ใช้ในปริมาณน้อยมาก จาก 1-10% ถ้าใช้ปริมาณมากเคลือบจะทนไฟสูง และเกิดเป็นเคลือบกึ่งด้าน (Semi Matt) วัตถุดิบที่ใช้ แมกนีเซีย ได้แก่ • ทัลคัม (Talcum) 3MgO 4SiO2 H2O แมกนีเซียมซิลิเกต • โดโลไมต์ (Dolomite) CaCO3 MgCO3 แคลเซียมแมกนีเซียมคาร์บอเนต • แมกนีเซียมคาร์บอเนต (Magnesium Carbonate) MgCO3
  • 22. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 6. ลิเทียมออกไซด์ (Li2O) • วัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายให้แก้วในอุณหภูมิ 1,150 องศาเซลเซียส • มีคุณสมบัติเป็นตัวหลอมละลายที่ดีในเคลือบอุณหภูมิปานกลาง และอุณหภูมิสูง 1,150-1,230 องศาเซลเซียส ลิเทียมมีราคาแพงจึงไม่นิยมใช้ในเคลือบอุตสาหกรรม เหมาะสาหรับทาเคลือบใน ปริมาณไม่มาก ลิเทียมมีคุณสมบัติเป็นตัวเร่งสีเคลือบด้วย เคลือบที่มีสีพิเศษต่างๆ เช่น สีฟ้ าเทอร์ คอยช์ หรือสีชมพู จะต้องใส่ลิเทียมในปริมาณ 5-10% ในสูตร วัตถุดิบที่ให้ลิเทียมได้แก่ • Li2CO3 ลิเทียมคาร์บอเนต • Li2F2 Al2O3 3SiO2 ลิเทียมเฟลด์สปาร์ หรือเลปปิโดไลต์
  • 23. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 7. สตรอนเซียมออกไซด์ (SrO2) • เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายที่ 2,430 องศาเซลเซียส • มีคุณสมบัติเป็นด่างใช้ในเคลือบอุณหภูมิปานกลาง 1,150-1,200 องศาเซลเซียส ซึ่งโดย ปกติจะใช้ไม่เกิน 3% ในสูตรเคลือบ อุณหภูมิการเผาปานกลางโดยใช้รวมกับด่างตัวอื่นๆ เช่น โซดาเฟลด์สปาร์ ซิงค์ออกไซด์ แบเรียมคาร์บอเนต • ใช้ร่วมกันหลายๆ อย่าง เพื่อลดอุณหภูมิในการหลอมละลายได้ดีกว่าการใช้เพียงลาพังตัวเดียว สตรอนเซียม มีราคาแพงจึงไม่นิยมใช้ทาเคลือบในอุตสาหกรรมที่ใช้เคลือบปริมาณมาก วัตถุดิบที่ให้สตรอนเซียม ได้แก่ • SrCO3 สตรอนเซียมคาร์บอเนต
  • 24. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 8. แบเรียมคาร์บอเนต (BaCO3) • เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายที่ 1,923 องศาเซลเซียส • มีคุณสมบัติเป็นตัวหลอมละลายที่อุณหภูมิปานกลางถึงอุณหภูมิสูง 1,180-1,250 องศาเซลเซียส โดยปกติแล้วแบเรียมไม่ใช่ตัวหลอมละลายหลัก • จึงใช้เป็นตัวเร่งตัวหนึ่งในการหลอมละลายของเคลือบ เต่ใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อย 5-8% ถ้าใช้ มากกว่านั้นจะไม่ช่วยให้เคลือบหลอมละลายได้เร็วขึ้น ถ้าหากใช้มากกว่า 20% ขึ้นไปในเคลือบ มักจะให้สีด้านแทนเคลือบที่มีปริมาณของแบเรียมสูงถ้าเผาเกินอุณหภูมิไปเล็กน้อย 20-30 องศาเซลเซียส จะเกิดตาหนิเป็นฟองบนผิวเคลือบ หรือเคลือบเดือดพองปุดๆ จึงต้องระวังในการเผา เป็นพิเศษโดยเผาต่ากว่าอุณหภูมิเดิมสัก 20-30 องศาเซลเซียส และแช่เวลาไว้ที่อุณหภูมิสูงสุดไว้ 10 นาที เคลือบจะมีคุณภาพดี ไม่เกิดตาหนิเป็นฟอง
  • 25. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 9. แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) • แคลเซียมคาร์บอเนต หรือหินปูน เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลายสูง 2,500 องศาเซลเซียส • มีคุณสมบัติเป็นตัวหลอมละลายหลักในเคลือบอุณหภูมิสูง 1,250-1,300 องศาเซลเซียส สามารถใช้เพียงอย่างตัวเดียวในสูตรเคลือบได้ เพื่อเป็นตัวหลอมละลายแต่โดยปกตินิยมใช้คู่ กับโซดาหรือโพแทสในเฟลด์สปาร์ ด้วยปริมาณที่ใช้ 15-25% ในเคลือบอุณหภูมิสูง • ช่วยให้เคลือบมีความแข็งแกร่ง วัตถุดิบที่ให้แคลเซียมได้แก่ • หินปูนสีขาว Whiting • แคลไซด์ CaCO3 • หินปูนสีเทา Gray limestone
  • 26. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 10. เฟลด์สปาร์ (KNaO Al2O3 6SiO2) • เฟลด์สปาร์หรือหินฟันม้า เป็นวัตถุดิบที่มีจุดหลอมละลาย 1,180-1,200 องศาเซลเซียส มีคุณสมบัติเป็นเคลือบได้ตามธรรมชาติ มีด่าง กลาง และกรด อยู่ครบในส่วนประกอบของเคลือบ • เคลือบเคมีหรือเคลือบหินที่เราใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งก็คือเคลือบหินฟันม้านี้เอง ที่เป็นวัตถุดิบหลักในสูตร เคลือบ มีตั้งแต่ 40-60% ในสูตรเคลือบอุณหภูมิสูงทุกชนิด ถ้าใช้โพแทสเฟลด์สปาร์เพียงอย่างเดียว เพื่อทาเคลือบจะต้องเผาถึงอุณณภูมิ 1,400 องศาเซลเซียส จึงจะได้เคลือบใส แต่ถ้าหากเราต้องการ ลดอุณหภูมิในการหลอมละลายและได้เคลือบใสที่ดี จะต้องใช้เฟลด์สปาร์ร่วมกับตัวหลอมละลายตัว อื่นๆ เฟลด์สปาร์ ที่นิยมใช้ในสูตรเคลือบมีอยู่ 2 ชนิด คือ • K2O Al2O3 6SiO2 โพแทสเฟลด์สปาร์ • Na2O Al2O3 6SiO2 โซดาเฟลด์สปาร์
  • 27. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 11. เนฟเฟลีนไซยาไนด์ (K2O 3Na2O 4Al2O3 9SiO2) • เป็นเฟลด์สปาร์ที่มีตัวหลอมละลายในปริมาณมากกว่าเฟลด์สปาร์ในธรรมชาติ • จึงมีจุดหลอมละลายต่า 1,100-1,200 องศาเซลเซียส แล้วแต่แหล่งที่ขุดได้ • เหมาะสาหรับทาเคลือบหิน เพราะสามารถใช้เป็นวัตถุดิบหลักได้ทันที 70-80% ในสูตร เคลือบ ไม่มีจาหน่ายในประเทศ ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ
  • 28. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 12. อะลูมินาออกไซด์ (Al2O3) • มีจุดหลอมละลายที่ 2,050 องศาเซลเซียส • มีคุณสมบัติเป็นตัวกลาง ทาให้เคลือบหนืดเกาะติดผิวดินได้ดี ไม่ไหลจากตัวผลิตภัณฑ์ขณะเผาถึง จุดหลอมละลาย ช่วยให้เคลือบดิบที่ยังไม่ได้เผามีความแข็งสามารถเกาะติดผิวผลิตภัณฑ์ได้แน่นไม่ หลุดเป็นฝุ่นติดมือขณะจับ หรือทาให้เคลือบมีตาหนิง่าย • ปกติเราใช้ดินขาวเป็นวัตถุดิบที่ให้อะลูมินาในเคลือบ เคลือบเกือบทุกชนิด มีดินขาวอยู่ประมาณ 10% ในสูตร เพื่อช่วยให้เคลือบลอยตัวไม่ตกตะกอนก้นถัง และช่วยให้เคลือบไม่หลุดเป็นฝุ่นและมี คุณสมบัติเป็นตัวหนืดในขณะที่เคลือบหลอมละลาย วัตถุดิบที่ให้อะลูมินา ได้แก่ • ดินขาว Al2O3 2SiO2 2H2O • อะลูมินาไฮเดรท Al2O3 3H2O
  • 29. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 13. ซิลิกา (SiO2) • มีจุดหลอมละลายที่ 1,750 องศาเซลเซียส เป็นทรายแก้ว หรือหินแก้วผลึกของแร่ควอทซ์ มีค่า ความแข็ง ระดับ 7 ทาให้บดละเอียดได้ยาก มีคุณสมบัติเป็นกรด ทาหน้าที่เป็นตัวทนไฟ ลดการ ไหลตัวของน้าเคลือบ ทาให้ผิวเคลือบมีความแข็งแกร่งทนต่อรอยขีดข่วน ทนแรงกระแทง ทนฤทธิ์ กรด และด่างได้ดี ในเคลือบอุณหภูมิสูงทุกชนิดมีปริมาณของซิลิกาในสูตร 25-30% วัตถุดิบที่ให้ ซิลิกาได้แก่ • ควอทซ์ (Quartz) • ฟลินท์ (Flint) • ซิลิกา • ทรายแก้วบริสุทธิ์ • เฟลด์สปาร์ทุกชนิด
  • 30. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ 13. วัตถุดิบที่ให้สีขาวทึบและสีต่างๆ ในเคลือบ สีขาวทึบ • SnO2 สแตนนิกออกไซด์ (ดีบุก) 3-7% • ZrSiO4 เซอร์โคเนียมซิลิเกต หรือชื่อการค้า เซอร์โคแพก 8-12% สีขาวครีม • TiO2 ไทเทเนียมไดออกไซด์ 8-12% สีเขียว Oxidation Firing (OF) Reduction Firing (RF) Cr2O3 โครมิกออกไซด์ 0.5- 1% 0.5-1% สีน้าตาล 0.5-1% สีแดง
  • 31. วัตถุดิบในการเตรียมน้าเคลือบ Oxidation Firing (OF) Reduction Firing (RF) MnO2 แมงกานีสไดออกไซด์ 4-6% Fe2O3 เฟอร์ริกออกไซด์ 4% = สีเหลือง 8% = สีน้าตาล 12-15% = สีดา FeO, Fe3O4 เฟอร์รัสออกไซด์ เหล็กดา 4-8% 3-6% สีน้าตาล 1-2% สีเขียวศิลาดล 1-2% สีเขียวศิลาดล • สีน้าตาล • สีฟ้ า-น้าเงิน Oxidation Firing (OF) Reduction Firing (RF) CoO โครบอลต์ออกไซด์ 0.5-3% 1-2% สีน้าเงินสด
  • 32. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 1. ผลของ K2O และ Na2O ที่มีต่อเคลือบ • มีคุณสมบัติที่มีความเป็นฟลักซ์ (Flux) ที่รุนแรง • ช่วยลดความหนืดของน้าเคลือบได้เป็นอย่างดี • ช่วยเพิ่มการขยายตัวเชิงความร้อน (Thermal Expansion) ให้กับเคลือบ • ทาให้เคลือบมีโอกาสเกิดการหลอมละลาย (Dissolution) หรือไหลตัวได้ดี • เคลือบมีความทนต่อสารเคมีน้อยลง โดยเฉาะความสามารถในการทนต่อกรดจะลดลง • ความแข็ง (Hardness) และการทนต่อการขัดสีของเคลือบจะลดลง • ทาให้ช่วงอุณหภูมิในการอ่อนตัว (Softening range) แคบลง • มีผลต่อการเกิดสีบางสีหลังเผา • ราคาไม่แพง
  • 33. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 2. ผลของ CaO ที่มีต่อเคลือบ • มีความเป็นฟลักซ์ที่อุณหภูมิสูง (1,040 องศาเซลเซียส) • ช่วยให้ชั้นระหว่างเคลือบและเนื้อดิน (Interface Layer) มีความหนาและแข็งแรงขึ้น • ช่วยให้ความแข็ง และความแข็งแรง (Strength) ของเคลือบดีขึ้น ถ้าหากใช้ร่วมกับ B2O3 (บอร์ริกออกไซด์) • เคลือบมีความทนต่อกรดมากขึ้น • หากใช้ในปริมาณน้อยจะทาให้เคลือบเกิดการแยกตัวออก (Segregation) แต่ถ้าหาก ใส่ในปริมาณมากจะทาให้ผิวของเคลือบทึบแสง • ช่วยเพิ่มแรงดึงที่ผิว (Surface Tension) ให้กับเคลือบ • ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนสีบางสีหลังเผา ยกเว้นกับ Fe2O3 โดย CaO จะเปลี่ยน Fe2O3 จากสีเหลืองให้เป็นสีเขียวปนเหลือง (Olive Green)
  • 34. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 3. ผลของ MgO ที่มีต่อเคลือบ • ช่วยให้ผิวเคลือบสุกใส (Brilliance) เป็นประกาย • หากใส่ในปริมาณน้อยจะช่วยลดจุดหลอม และลดอุณหภูมิในการหลอมเคลือบ แต่ถ้าหาก ใส่ในปริมาณมากจะทาให้ผิวของเคลือบทึบแสง และช่วยให้เคลือบเกิดผลึก นอกจากนี้ยัง ช่วยเพิ่มจุดหลอมตัวให้กับเคลือบอีกด้วย • ช่วยลดการขยายตัวเชิงความร้อนหากใช้ในปริมาณน้อย • ช่วยเพิ่มแรงดึงที่ผิว (Surface Tension) ให้กับเคลือบ • ช่วยเพิ่มความแข็งและการทนต่อการขัดสีให้กับเคลือบ • มีความทนต่อสารเคมีเพิ่มขึ้น • อาจทาให้เคลือบเปลี่ยนสีได้
  • 35. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 4. ผลของ PbO ที่มีน้าเคลือบ • ช่วยลดความหนืดให้กับเคลือบ ทาให้เคลือบมีการไหลตัวที่ดีขึ้น • ช่วยลดจุดหลอมตัวให้กับเคลือบ (ลดอุณหภูมิการหลอม) • ช่วยลดแรงดึงที่ผิว (Surface Tension) ให้กับเคลือบ • ความแข็งลดลง • เกิดการระเหย (Evaporation) ได้ง่ายขณะเผา • ความแข็งแรงและความทนต่อสารเคมีลดลง • ช่วยเพิ่มการหลอมละลายของแก้ว • ช่วยให้เคลือบมีผิวเรียบปราศจากฟองอากาศ (Bubbles) • สามารถทาให้เคลือบมีสีสดใสได้ที่อุณหภูมิต่า เช่น สีเหลืองสด สีแดงสด เป็นต้น • อาจทาให้เคลือบใสมีสีเหลืองได้
  • 36. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 5. ผลของ B2O3 ที่มีน้าเคลือบ • ลดอุณหภูมิหลอมตัวให้กับเคลือบได้เป็นอย่างดี • ช่วยเพิ่มการเกิดเป็นเนื้อแก้ว • ช่วยให้เคลือบมีความหนืดลดลง และช่วยลดแรงดึงที่ผิว • ช่วยให้ผิวเคลือบเรียบและสุกใสเป็นประกาย • ทนต่อสารเคมี และมีความแข็งแรงมากกว่าเดิม • มีช่วงอุณหภมิในการอ่อนตัวกว้างขึ้น • ทาให้เคลือบเกิดการแยกตัว จึงทาให้ใช้วัตถุดิบที่เป็นตัวทึบ (Opacifier) น้อยลง • ช่วยลดการขยายตัวเชิงความร้อน • ช่วยเพิ่มความสามารถในการหลอมละลาย • อาจจะทาให้เคลือบมีสีที่จางลงได้
  • 37. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 6. ผลของ Al2O3 ที่มีน้าเคลือบ • ช่วยเพิ่มอุณหภูมิในการหลอมตัวให้กับเคลือบ • เคลือบมีความหนืดเพิ่มขึ้น • เคลือบมีความทนต่อสารเคมีเพิ่มขึ้น • ช่วยทาให้มีช่วงอุณหภมิในการอ่อนตัวกว้างขึ้น • ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและความทนต่อสารเคมี • ช่วยเพิ่มแรงดึงที่ผิวให้กับเคลือบ • ช่วยลดการขยายตัวของ PbO, ZnO และ Alkali ให้กับเคลือบ • ทาให้ออกไซด์เกิดการเปลี่ยนสีได้ เช่น ช่วยทาให้สีดาเข้มดีขึ้น • ช่วยทาให้พันธะความแข็งแรงของวัตถุดิบสาหรับทาเคลือบดีขึ้น
  • 38. การศึกษาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่มีผลต่อเคลือบ 7. ผลของ SiO2 ที่มีน้าเคลือบ • ช่วยเพิ่มอุณหภูมิในการหลอมตัว • เคลือบมีความหนืดเพิ่มขึ้น และช่วยให้ช่วงอุณหภูมิในการหลอม (Melting point) กว้างขึ้น • สามารถลดการขยายตัวเชิงความร้อนของเคลือบได้ • ช่วยลดความสามารถในการหลอมละลาย (Solubility) ของ PbO ได้ • ช่วยเพิ่มความแข็งแรงอัด (Compressive Strength) • ช่วยเพิ่มความทนต่อสารเคมี และกรด • มีผลต่อการเปลี่ยนของเคลือบน้อยมาก (ยกเว้น Chromium Red, Nickel Red และ Chromium Yellow) • ถ้ามี B2O3 และ ZnO จะทาให้เคลือบมีความทึบแสงเพิ่มขึ้น • ช่วยทาให้เคลือบด้านมีสีสดใส