SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินท
ผาลัม
โดย
นายรอมลี เจะดอเลาะ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยฟาฎอนี
บทนา
ปัจจุบันไอศกรีมเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภค
อย่างหลากหลาย
ไอศกรีมเป็นของผสมแช่เยือกแข็งที่ประกอบไปด้วย นม สารให้
ความคงตัว (stabilizer) สารให้ความหวาน อิมัยซิไฟเออร์
(emulsifier) และอาจเติมส่วนผสมอื่นๆ
2
สารเพิ่มความคงตัวมีคุณสมบัติในการอุ้มน้าโดยจะสร้างโครงข่ายสาม
มิติของโมเลกุลน้าซึ่งจะชะลอการเกิดผลึกน้าแข็งเพิ่มความหนืดของ
ส่วนผสมปรับปรุงขนาดของฟองอากาศปรับปรุงเนื้อสัมผัสและคุณภาพ
การละลาย
อินทผาลัมมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายมาก เช่น ซัลเฟอร์
เหล็ก โพแตสเซียม ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม แมงกานีส และน้ามันโวลา
ไดท์
สามารถบารุงกล้ามเนื้อมดลูกและสร้างน้านมแม่ช่วยบารุงร่างกาย
บารุงสายตา ลดความหิว แก้กระหาย แก้โรควิงเวียนศีรษะช่วยลด
เสมหะ ทาให้กระดูกแข็งแรง ลดระดับน้าตาลในเลือดและความดัน
บทนำ
3
ความสาคัญและที่มาของปัญหา
4
1. ศึกษาสูตรพื้นฐานต่อสมบัติและความยอมรับของ
ผู้บริโภคในไอศกรีมเบื้องต้น
2. ศึกษาปริมาณเนื้ออินทผาลัมต่อสมบัติและการยอมรับ
ของผู้บริโภคไอศกรีมอินทผาลัมในระดับห้องปฏิบัติการ
3. ศึกษากระบวนการผลิตไอศกรีมอินทผาลัมในระดับขยาย
สเกลต่อการยอมรับของผู้บริโภค
วัตถุประสงค์กำรวิจัย
5
เตรียมส่วนผสม
ผสมส่วนผสมให้ความร้อนให้มีอุณหภูมิ
ประมาณ 60 องศาเซลเซียส
ทาให้เย็นลงทันทีที่อุณหภูมิน้อยกว่า 5
องศาเซลเซียส
ปั่นให้เป็นไอศกรีม
แช่แข็งที่อุณหภูมิ –18 ถึง -20 องศา
เซลเซียส ประมาณ 12 ชั่วโมง
วิธีดำเนินกำรวิจัย
1. ศึกษาสูตรพื้นฐานต่อสมบัติและความยอมรับของผู้บริโภคในไอศกรีมเบื้องต้น
6
วิธีดาเนินการวิจัย
วิเคราะห์สมบัติของไอศกรีม
วิเคราะห์ทางสถิติ
คัดเลือกสูตรที่เหมาะสม
ทดสอบทางประสาทสัมผัส
7
ตารางที่ 1 ส่วนผสมของไอศกรีมตามสูตรแต่ละชนิดที่มีปริมาณของแป้ งมัน
สาปะหลังแตกต่างกัน
วิธีดาเนินการวิจัย
ที่มา: ดัดแปลง (Marshall and Arbuckle, 1996)
ส่วนผสม
ปริมาณส่วนผสมของไอศกรีม (ร้อยละ)
สูตรที่ 1 สูตรที่ 2 สูตรที่ 3
แป้ งไอศกรีม
นม
น้าตาล
เกลือเม็ด
แป้ งมัน
น้า
0.85
6.25
5.63
0.81
2.50
100
0.85
6.25
5.63
0.81
3.13
100
0.85
6.25
5.63
0.81
3.75
100
8
นาสูตรไอศกรีมพื้นฐานจากข้อ 1 ศึกษาปัจจัยที่ศึกษาคืออัตราอินท
ผาลัมกับน้า 3 ระดับคือ 3 : 1 , 4 : 1 และ 5 : 1 กรัม
แล้วเติมในสูตรพื้นฐาน 250 กรัม (ร้อยละ 25) (ควบคุมปริมาตรสุดท้าย
ที่ 1,500 มิลลิลิตร)
วิธีดำเนินกำรวิจัย
2. ศึกษาปริมาณเนื้ออินทผาลัมต่อสมบัติและการยอมรับของผู้บริโภค
ไอศกรีมอินทผาลัมในระดับห้องปฏิบัติการ
9
เตรียมอินทผาลัมโดยนาเมล็ดออก
หั่นผลอินทผาลัมเป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อง่าย
ต่อการปั่น
นาเนื้ออินทผาลัมกับน้าอัตราส่วน 3:1,
4:1 และ 5:1 กรัม
ปั่นให้ละเอียดด้วยเครื่องปั่น นาน 2 นาที
การเตรียมเนื้ออินทผาลัมเพื่อใช้ในการผลิตไอศกรีม
ที่มา: ดัดแปลงจาก (สุขสันต์, 2554)
วิธีดำเนินกำรวิจัย
10
เตรียมส่วนผสมสูตรข้อที่ 1
ผสมส่วนผสมให้ความร้อนให้มีอุณหภูมิ
ประมาณ 60 องศาเซลเซียส
ทาให้เย็นลงทันทีที่อุณหภูมิน้อยกว่า 5
องศาเซลเซียส
ปั่นให้เป็นไอศกรีม
แช่แข็งที่อุณหภูมิ –18 ถึง -20 องศา
เซลเซียส ประมาณ 12 ชั่วโมง
วิธีดำเนินกำรวิจัย
11
วิธีดาเนินการวิจัย
วิเคราะห์สมบัติของไอศกรีม
วิเคราะห์ทางสถิติ
คัดเลือกสูตรที่เหมาะสม
ทดสอบทางประสาทสัมผัส
12
3. ศึกษากระบวนการผลิตไอศกรีมอินทผาลัมในระดับขยายสเกลต่อการ
ยอมรับของผู้บริโภค
ศึกษาการขยายสเกลของเครื่องทาไอศกรีมขนาดใหญ่โดยใช้
อัตราส่วนของข้อ 2 ดีที่สุด
ทาการผลิตและทดสอบทางประสาทสัมผัส
วิเคราะห์ทางสถิติความแตกต่างของการผลิตไอศกรีมคือระดับ
โฮมเมตและระดับขยายสเกลที่มีผลต่อคุณภาพเนื้อสัมผัส
วิธีดำเนินกำรวิจัย
13
วิธีดาเนินการวิจัย
14
เตรียมส่วนผสมสูตรข้อที่ 2
ผสมส่วนผสมให้ความร้อนให้มีอุณหภูมิ
ประมาณ 60 องศาเซลเซียส
ทาให้เย็นลงทันทีที่อุณหภูมิน้อยกว่า 5
องศาเซลเซียส
ปั่นให้เป็นไอศกรีม
แช่แข็งที่อุณหภูมิ –18 ถึง -20 องศา
เซลเซียส ประมาณ 12 ชั่วโมง
วิธีดำเนินกำรวิจัย
15
วิธีดาเนินการวิจัย
วิเคราะห์ทางสถิติ
ทดสอบทางประสาทสัมผัส
16
ปริมาณแป้ ง
(ร้อยละ)
โอเวอร์รัน
(ร้อยละ)
อัตราการละลาย
(กรัม/นาที)
ความเป็ นกรด-
เบส
2.50 21.04±1.43b 5.42±0.03a 6.75±0.04a
3.13 22.45±2.39ab 5.33±0.15b 6.93±0.02a
3.75 22.76±1.27a 4.60±0.15c 6.69±0.02a
ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยของโอเวอร์รัน อัตราการละลาย และความเป็นกรด-เบสของไอศกรีม
ที่ได้จากการแปรปริมาณแป้ ง
1. ศึกษาสูตรพื้นฐานต่อสมบัติและความยอมรับของผู้บริโภคของไอศกรีม
เบื้องต้น
ผลการวิจัยและอภิปรายผล
หมายเหตุ: a, b, c ตัวอักษรต่างกันในแนวตั้งเดียวกันหมายถึงมีความแตกต่างกันอย่างมี
นัยสาคัญทาง สถิติ (p≤0.05)
17
ลักษณะการประเมิน ปริมาณแป้ ง (ร้อยละ)
2.50 3.13 3.75
สี 5.86±1.71b 6.46±1.61a 6.73±1.65a
ความหนืด 6.60±183b 6.16±1.26b 7.23±1.65a
ความละเอียด 5.90±1.84c 6.33±1.42b 6.96±1.80a
การละลายในปาก 5.70±1.96c 6.83±1.17b 7.13±1.61a
ความหวาน 5.20±2.20b 5.20±1.91b 6.86±1.73a
กลิ่นns 6.10±1.53 6.40±1.49 6.83±1.76
ความชอบโดยรวม 6.60±1.35b 6.53±1.19b 7.73±1.32a
ตารางที่ 3 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางด้านประสาทสัมผัสด้าน สี ความหนืด ความ
ละเอียด การละลายในปาก ความหวาน กลิ่น และความชอบโดยรวมของไอศกรีมที่ได้จาก
ได้จากการเติมปริมาณแป้ ง
ผลกำรวิจัยและอภิปรำยผล
18
ผลการวิจัยและอภิปรายผล
2. ศึกษาปริมาณเนื้อของอินทผาลัมต่อสมบัติและการยอมรับของผู้บริโภค
ไอศกรีมอินทผาลัมในระดับห้องปฏิบัติการ
19
อัตราส่วนอินท
ผาลัม:น้า (กรัม)
โอเวอร์รัน
(%)
อัตราการละลาย
(กรัม/นาที)
ความเป็นกรด-เบส
3:1 27.43±0.64ns 4.82±0.01ns 5.88±0.01ns
4:1 27.78±0.68ns 4.83±0.11ns 5.89±0.02ns
5:1 26.72±0.35ns 4.83±0.08ns 5.99±0.02ns
ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยของโอเวอร์รัน อัตราการละลาย และความเป็นกรด-เบส
ของไอศกรีมที่ได้จากการแปรปริมาณอัตราส่วนน้าต่ออินทผาลัมในเนื้ออินท
อินทผาลัม
ผลกำรวิจัยและอภิปรำยผล
20
ลักษณะการประเมิน
อัตราส่วนอินทผาลัม:น้า (กรัม)
3:1 4:1 5:1
สี 7.30±1.02a 7.23±0.89ab 6.93±1.04b
การกระจายตัวของเนื้ออินทผาลัม 7.36±1.21a 7.20±1.09ab 6.60±1.30b
ความหนืด 6.86±1.25b 7.23±1.25a 7.26±1.14a
ความละเอียด 7.76±0.81a 7.43±1.30b 6.63±1.51c
การละลายในปากns 7.80±0.99 7.23±1.13 7.10±1.37
ความหวานns 7.53±1.16 7.03±1.54 7.16±1.46
กลิ่นอินทผาลัมns 6.76±1.19 6.23±1.38 6.63±1.40
ความชอบโดยรวมns 7.76±1.69 7.20±1.44 7.06±1.31
ตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางด้านประสาทสัมผัสของไอศกรีมที่ได้จากการแปร
ปริมาณอัตราส่วนน้าต่ออินทผลัมในเนื้ออินทผาลัม
หมายเหตุ: ns หมายถึงไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05)
ผลกำรวิจัยและอภิปรำยผล
21
3. ศึกษากระบวนการผลิตไอศกรีมอินทผาลัมในระดับขยายสเกลต่อและ
การยอมรับของผู้บริโภค
ผลกำรวิจัยและอภิปรำยผล
22
ลักษณะการประเมิน เครื่องทาไอศกรีมโฮ
มเมด
เครื่องทาไอศกรีมแบบ
ถังไม้
สี 6.80±0.84b
7.26±1.08a
การกระจายตัวของเนื้ออินทผาลัม 6.60±1.06b
7.10±1.13a
ความหนืด ns 6.93±1.17 7.18±1.23
ความละเอียด 7.10±1.02b
7.68±0.92a
การละลายในปาก 6.63±1.03b
7.83±0.84a
ความหวานns 7.40±0.93 7.56±1.25
กลิ่นอินทผาลัมns 6.03±0.92 6.27±1.07
ความชอบโดยรวม 6.80±1.06b
7.85±1.52a
ตารางที่ 7 คะแนนการทดสอบทางประสาทสัมผัส
ผลกำรวิจัยและอภิปรำยผล
23
การผลิตไอศกรีมโดยใช้อัตราส่วนของปริมาณแป้ งมันสาปะหลังร้อยละ
3.75 มีสมบัติของไอศกรีมและผู้ทดสอบให้คะแนนดีที่สุด
อัตราส่วนของอินทผาลัมต่อน้า 3:1 กรัม ทาให้ผู้ทดสอบเป็นที่ยอมรับ
และใช้เป็นต้นแบบการนาไปใช้ในการผลิตไอศกรีมระดับวิสาหกิจชุมชน
ได้
แต่อย่างไรก็ตามต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมการใช้สารให้ความคงตัวที่ช่วย
ให้มีค่าการฟูของไอศกรีมและสูตรอื่นเพิ่มเติม
สรุปและข้อเสนอแนะ
24
จบการนาเสนอ
25

More Related Content

Viewers also liked

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6Gawewat Dechaapinun
 

Viewers also liked (8)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
7
77
7
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
 
4
44
4
 
4
44
4
 
ˆ 7
ˆ 7ˆ 7
ˆ 7
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม