SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 8
การถนอมผักผลไม้โดยการ
ใช้สารเคมีและการหมัก
ดอง
ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน
เนื้อหา
1. การใช้สารเคมี
1.1 น้าตาล
2. การหมักดอง (Fermentation)
2.1 ประเภทของผักผลไม้ดอง
2.2 จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการหมักดอง
2.3 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการหมัก
2.4 กระบวนการผลิตผักผลไม้ดอง
1.1.1 ผลของน้าตาลต่อเชื้อจุลินทรีย์
 น้าตาลสามารถต้านการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์เพราะไปลดปริมาณ
น้าอิสระ (water activity, aw) ในระบบ
จุลินทรีย์หลายชนิดทนต่อปริมาณน้าตาลสูงได้
 Aspergillus glaucus, Saccharomyces roaxii
 ยีสต์ในสกุล Torulopsis และZygosacharomyces
 ไม่เพียงแต่ทนต่อปริมาณน้าตาลความเข้มข้นสูง
 แต่ยังสามารถเจริญได้ดีในอาหารที่มีน้าตาลสูงด้วย
การใช้น้าตาลในการถนอมผักผลไม้
การแช่อิ่ม
 อาศัยหลักการออสโมซีส เกิดการแลกเปลี่ยนระหว่างน้าตาลเข้มข้นกับ
น้าในผลไม้
 ทาให้ผลไม้มีรสหวานขึ้น ปกติความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล
จะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
 ผลิตภัณฑ์สุดท้ายสูงกว่า 65% ซึ่งความเข้มข้นระดับนี้สามารถยับยั้งการ
เจริญของเชื้อจุลินทรีย์ได้
 แบ่งเป็น แช่อิ่มแบบเร็วและแบบช้า
1) การแช่อิ่มแบบเร็ว
การแช่อิ่มแบบเร็วคือการเชื่อมให้แห้ง
โดยการเคี่ยวผักหรือผลไม้ในน้าเชื่อมที่ใช้ไฟอ่อนๆ หรือ ความร้อน
ประมาณ 100 – 105 องศาเซลเซียส เคี่ยวจนน้าเชื่อมงวด จะใช้เวลา
ประมาณ 3-4 ชั่วโมง
 การใช้อุณหภูมิที่สูงเกินไปจะทาให้น้าเชื่อมมีสีคล้าและมีกลิ่นน้าตาลไหม้
และทาให้เนื้อผลไม้นิ่มเละ
ดังนั้นวิธีการนี้ไม่เหมาะกับผลไม้ที่เนื้อนิ่มและเละง่ายการแช่อิ่มแบบเร็วนี้
หลังจากเชื่อมผักผลไม้จะไม่ค่อยสวย
2) การแช่อิ่มแบบช้า
เป็นวิธีการแช่อิ่มที่มีการปรับความเข้มข้นของน้าเชื่อมเป็นลาดับ
เป็นวิธีที่ทาให้ผักผลไม้ที่แช่อิ่มมีคุณภาพดี เนื่องจากเกิดการหดตัวน้อย สี
สวย และเนื้อสัมผัสไม่นิ่มเละ
ทาได้โดยการเตรียมน้าเชื่อมเริ่มต้นที่ปริมาณน้าตาลร้อยละ 30-35 (ถ้าสูง
กว่านี้จะทาให้ผักและผลไม้เหี่ยวย่น) แช่ผักผลไม้ไว้24 ชั่วโมง
จากนั้นเพิ่มความเข้มข้นของน้าเชื่อมทุกวัน เป็นร้อยละ45 55 และ 65
วิธีการแช่อิ่มแบบนี้ใช้เวลานานจึงต้องปราศจากการปนเปื้อนของ
เชื้อจุลินทรีย์และให้ความร้อนแก่น้าเชื่อมทุกวัน
2. การเกิดเพกตินเจล
ผลิตภัณฑ์แยม และมาร์มาเลด
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีน้าตาลประมาณร้อยละ 55-65 หรือสูงกว่านี้
มีค่า aw ในช่วง 0.75-0.82 ซึ่งระดับนี้ยังไม่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ
ราหรือยีสต์ได้อย่างสมบูรณ์
ด้วยเหตุนี้จึงต้องใช้ร่วมกับวิธีพาสเจอร์ไรส์หรือการใช้สารกันบูดอื่นร่วม
ด้วย เช่น กรดซอร์บิก
เพกตินออกเป็น 2 ชนิด
1) เพกตินชนิดที่มีหมู่เมทอกซิลต่า(low methoxyl pectin, LM)
 มี DM ในช่วง 25-50%
 วิธีเกิดเจลจะเกิดจากการเชื่อมโยงของหมู่คาร์บอกซิลที่แตกตัวแล้วของ
เพกตินกับไอออนเวเลนซีสองของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมทาปฏิกิริยา
กับหมู่คาร์บอกซิลของโมเลกุลเพกติน และสร้างเป็นสะพานระหว่างชั้น
 การเกิดเจลไม่ต้องการน้าตาลในการเกิดเจล
 เพคตินชนิดนี้ใช้ในการเติมในผลไม้ก่อนการแช่เยือกแข็ง หรือใช้
เคลือบผลไม้และเนื้อสัตว์
2) เพกตินชนิดที่มีหมู่เมทอกซิลสูง (high methoxyl pectin, HM)
 ที่มี DM ในช่วง 50-80%
 การเกิดเจลของเพกตินเป็นระบบเพกติน –น้าตาล-กรด-น้า
 การเกิดร่างเหของเพกตินจะทาให้อุ้มของเหลวไว้ ความแข็งแรงของเจล
จะขึ้นกับความเข้มข้นของน้าตาลและสภาพความเป็นกรด
เจลเพกตินชนิด HM
แยม (jam)
เพกติน15% TSS 65-70
ระหว่างการให้ความร้อนสภาวะที่เป็นกรด น้าตาลจะเปลี่ยนไปเป็นน้าตาล
รีดิวซ์
ถ้าพีเอชมีค่าต่าหรือต้มที่อุณหภูมิสูง น้าตาลซูโครสจะเปลี่ยนไปเป็นน้าตาล
อินเวอร์ตได้มาก (Blanchfield, 1970)
น้าตาลอินเวอร์ตมีประโยชน์ต่อการทาเจลลี่ แยม เพราะช่วยลดการตกผลึก
ของซูโครส แต่หากมีน้าตาลอินเวอร์ตมากเกินไปก็อาจเกิดผลึกของน้าตาล
อินเวอร์ตคือน้าตาลเดกซ์โทรสได้
มามาเลด (marmalade)
ข้อกาหนดตามกฎหมายของผลิตภัณฑ์มามาเลด
 คือต้องประกอบด้วยส้มอย่างน้อยร้อยละ 20
 ผลไม้ที่ใช้อาจอยู่ในรูปเนื้อที่ตีป่น (pulp) น้าผลไม้(purée juice) สารสกัด
 มามาเลดส่วนใหญ่จะใสซึ่งอาจมีเนื้อหรือเปลือกของผลไม้ในส่วนประกอบ
หรือไม่มีก็ได้
 โดยทั่วไปเนื้อที่ใส่จะมีขนาดกว้าง1.5 มิลลิเมตร ยาว 25 มิลลิเมตรและหนา 1.5
มิลลิเมตร (Broomfield, 2001)
2. การหมักดอง (Fermentation)
การหมัก (fermentation)
 หมายถึง การถนอมอาหารโดยอาศัยจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์บางชนิดเป็น
ตัวช่วยในการย่อยสลาย หรือเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของ
วัตถุดิบ อาจเติมเหลือหรือไม่ก็ได้ นอกจากนี้อาจเติมองค์ประกอบอื่นๆ
เช่น คาร์โบไฮเดรต เพื่อเป็นแหล่งอาหารให้กับเชื้อจุลินทรีย์
การดอง (pickling)
 หมายถึง การถนอมอาหารในน้าเกลือและมีน้าส้มเล็กน้อย อาจมีการเติม
เครื่องเทศ น้าตาล หรือน้ามัน เช่น แตงกวาดอง กระเทียมดอง ขิงดอง
มะม่วงดอง เป็นต้น
การหมักดอง
 หมายถึง กระบวนการที่เกิดขึ้นเนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ย่อยสลายสาร
คาร์โบไฮเดรตหรือสารประกอบอื่นๆที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน เช่น
แอลกอฮอล์ คาร์โบไฮเดรต กรดอะซิตริก กรดแล็กติก ภายใต้สภาวะที่
มีอากาศหรือไม่มีอากาศก็ได้
2.2 ประโยชน์ของการหมักดอง
ทาให้อาหารมีรสและกลิ่นที่ดีขึ้น อาหารในกลุ่มชา กาแฟ โกโก้
ทาให้อาหารมีสี กลิ่น รสที่แตกต่างออกไป เช่น ผักและผลไม้ดอง
ทาให้เกิดอาหารชนิดใหม่ เช่น แอลกอฮอล์ น้าส้มสายชู
ผลของการหมักดองทาให้อาหารที่มีรสชาติขม หรือเปรี้ยวเกินกว่า
จะบริโภคได้ มีรสชาติที่ดีขึ้น
เสริมคุณค่าทางโภชนาการ เช่น การเต้าหู้ยี้ เต้าเจี้ยวจะมีคุณค่าทาง
โภชนาการสูงกว่าถั่วเหลือง
ประเภทของผักผลไม้ดอง
สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
 ผักที่ดองเกลือความเข้มข้นต่า (Processed pickles)
 การหมักดองโดยไม่มีเชื้อจุลินทรีย์มาเกี่ยวข้อง (Unfermented pickle)
 การดองในน้าส้มสายชู
 การดองในน้ามัน
1. ผักที่ดองเกลือความเข้มข้นต่า (Processed pickles)
การดองเกลือจะใช้ที่ความเข้มข้นต่ากว่า 12 เปอร์เซ็นต์
โดยส่วนใหญ่จะใช้ที่ 4-8 เปอร์เซ็นต์
ซึ่งความเข้มข้นในระดับนี้สูงพอที่จะยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์กลุ่มอื่น
และเป็นระดับที่ส่งเสริมเชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลกติก
ควรรักษาอุณหภูมิน้าเกลือให้อยู่ที่ 21 องศาเซลเซียสและให้ผักจมน้าเกลือ
ตลอดระหว่างระยะเวลาการหมักดอง
ผักที่ใช้การดองด้วยวิธีนี้ได้แก่ แตงกวา (pickles) กะหล่าปลี (sauerkraut)
ผักกาดดอง กิมจิ เป็นต้น ขั้นตอนการทากิมจิ
แตงกวา กะหล่าปลี แครอท
หั่นฝอยหรือตามขนาดที่ต้องการ
ผสมกับเกลือ เคล้าให้ทั่ว หมักไว้ 1 ชั่วโมง
บีบน้าออกจากผักและผสมกับหัวผักกาดหั่นฝอย กระเทียม
พริกชี้ฟ้ า ขิง ต้นหอม น้าตาล เกลือ เคล้าให้เข้ากัน
บรรจุในโถแก้วที่สะอาด มีถุงน้ากดทับ
หมักไว้ที่อุณหภูมิ 13-14 องศาเซลเซียส 2 สัปดาห์
กิมจิ
รูปที่ 8.3 ขั้นตอนการผลิตกิมจิ
2. การหมักดองโดยไม่มีเชื้อจุลินทรีย์มาเกี่ยวข้อง (Unfermented pickle)
 การหมักดองด้วยวิธีนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรักษาผักและผลไม้ใน
น้าเกลือเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา หรือกาจัดรสเปรี้ยว ขม ฝาด ที่ไม่เป็นที่
ต้องการ เช่น สมอ มะยม มะม่วงดอง
การเตรียมน้าดอง
น้าสะอาด เกลือ 2% น้าตาลทราย
25%แคลเซียมคลอไรด์ 0.5%และ
โซเดียมเบนโซเอต 0.1%โดยน้าหนัก
ให้ความร้อน
มะม่วงอ่อน ล้างทาความสะอาด
ผ่าประมาณ 6-8 เสี้ยวต่อผล
นาผลไม้ใส่ขวดโหล เติมน้า
ดองที่เย็นแล้ว และทาให้ผลไม้
จมในน้าดองตลอดเวลา ปิดฝา
ดองไว้ 7 วัน ได้มะม่วงดอง
รูปที่ 8.4 ขั้นตอนการทามะม่วงดอง
2. การหมักดองโดยไม่มีเชื้อจุลินทรีย์มาเกี่ยวข้อง (Unfermented pickle)
3.การดองในน้าส้มสายชู
วิธีการดองแบบนี้อาจใช้ร่วมกับการดองด้วยเกลือ
มีทั้งที่ใช้และไม่ใช้เชื้อจุลินทรีย์
การหมักจะเป็นการแช่ผักในน้าส้มสายชูที่ปรุงแต่งรสชาติด้วยเครื่องเทศ
น้าตาลและเกลือ นับเป็นการดองที่ง่ายที่สุด
สามารถทาให้เสร็จได้ภายใน 1-2 วัน
สิ่งที่สาคัญของการดองด้วยวิธีนี้คือ ต้องเลือกน้าส้มสายชูที่มีคุณภาพดี ใส
ไม่มีตะกอน และมีความเข้มข้นของกรดอะซิติก 5 เปอร์เซ็นต์
ผักผลไม้ที่ดองด้วยน้าส้มสายชู เช่น แตงกวา ขิง
การเตรียมน้าดอง
น้าสะอาด 66% เกลือ 1.97% น้าตาล
ทราย 22% น้าส้มสายชู 10%และ
โซเดียมเบนโซเอต 0.03%โดยน้าหนัก
ให้ความร้อน
ขิง ล้างทาความสะอาด
ฝานเป็นชิ้นบางๆ ขนาด 1มิลลิเมตร
นาผลไม้ใส่ขวดโหล เติมน้าดองที่
เย็นแล้วอัตราส่วน 1:1 และทาให้ผล
ไม้จมในน้าดองตลอดเวลา ปิดฝา
ดองไว้ 7 วัน ที่อุณหภูมิตู้เย็น
3. การดองในน้าส้มสายชู
4. การดองในน้ามัน
เป็นที่นิยมในบางประเทศ เช่น อินเดีย และอังกฤษ การดองต้องนาผักไป
คลุกกับเกลือและเครื่องเทศ บรรจุลงขวดและนาไปตากแดดประมาณ4-8
วัน จากนั้นเติมน้ามันลงไปจนผสมกันดี ตัวอย่างเช่น กะหล่าดอก มะกอก
จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการหมักดอง
ในกระบวนการหมักดองต้องมีจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องที่ทาหน้าที่เปลี่ยนน้าตาล
ในผักและผลไม้ให้เป็นกรดแลกติก
แบคทีเรียเหล่านี้อยู่ในวงศ์ Lactobacteriaceae ซึ่งในวงศ์นี้มี 5 จีนัส
 Streptococcus
 Pediococcus
 Diplococcus
 Leuconostoc
 Lactobacillus
การเก็บรักษา
ผักและผลไม้หลังจากสิ้นสุดการหมักจะต้องเก็บรักษาสภาพที่
ปลอดเชื้อรา เชื้อยีสต์ อาจทาได้ด้วยวิธีดังต่อไปนี้
 เติมน้ามันพืชลงไปเคลือบที่ผิวหน้าของน้าเกลือให้หนาประมาณ ¼ นิ้ว
เพื่อจากัดอากาศไม่ให้เข้าไปในผลิตภัณฑ์ ทาให้เชื้อยีสต์และเชื้อราไม่
สามารถเจริญได้
 เติมเทียนไขหรือขี้ผึ้งลงไปเคลือบที่ผิวหน้าของน้าเกลือ
 เติมน้าเกลือลงไปจนเต็มถัง แล้วปิดผนึกฝาภาชนะให้แน่นสนิทด้วยการ
ยาปูน

More Related Content

What's hot

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8Gawewat Dechaapinun
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติPostharvest Technology Innovation Center
 
สีผสมอาหาร
สีผสมอาหารสีผสมอาหาร
สีผสมอาหารsakikitty
 
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZoneอะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZonePipat Kittiwongsirikul
 

What's hot (8)

8
88
8
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
 
Plant extraction 4 04 2015
Plant extraction  4  04 2015Plant extraction  4  04 2015
Plant extraction 4 04 2015
 
สีผสมอาหาร
สีผสมอาหารสีผสมอาหาร
สีผสมอาหาร
 
สีในอาหาร
สีในอาหารสีในอาหาร
สีในอาหาร
 
สีในอาหาร
สีในอาหารสีในอาหาร
สีในอาหาร
 
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZoneอะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
อะมิโนโปรตีนสำหรับพืช FarmerZone
 

Viewers also liked

ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)Nanthakone RASPHONE
 
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...tbrc
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการlukhamhan school
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปGawewat Dechaapinun
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7Nokky Natti
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 

Viewers also liked (8)

Lecture 6 aft
Lecture 6 aftLecture 6 aft
Lecture 6 aft
 
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
ການຖະໜອມອາຫານ ແລະ ການເກັບຮັກສາ (ພາສາໄທ)
 
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
คู่มือวิธีการเก็บรักษาจุลินทรีย์โดยวิธีการระเหยแห้งใน สภาวะสุญญากาศ (Liquid d...
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาหารและโภชนาการ
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
ˆ 7
ˆ 7ˆ 7
ˆ 7
 

Similar to ˆ 8

สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptxสารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptxssusercf2bfa
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์Sathit Seethaphon
 
Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterialPpm Ssw
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 

Similar to ˆ 8 (15)

6
66
6
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptxสารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
สารเคมีในชีวิตประจำวัน.pptx
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterial
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
3
33
3
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
ตย.1
ตย.1ตย.1
ตย.1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

ˆ 8