SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
บทที่ 7
การแปรรูปผักและผลไม้
โดยใช้ความเย็นและทาแห้ง
ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตร
โยธิน
 การเปลี่ยนแปลงของผักผลไม้ที่เกิดจากการเก็บรักษาในอุณหภูมิที่
ต่ากว่าอุณหภูมิเฉพาะของแต่ละผลผลิตจะทาให้เกิดอาการสะท้าน
หนาว (chilling injury)
เพราะกระบวนการเมตาบอลิซึมไม่เหมาะสม มีการเร่งการผลิตสาร
ต่างๆในเซลล์จนทาให้เกินระดับ (over production) จนเกิดการสะสม
ของสารพิษ
การให้ความเย็น (Refrigeration)
กรรมวิธีการกาจัดความร้อนออกจากสิ่งของหรือพื้นที่ที่ต้องการทาให้เย็นหรือ
ต้องการให้มีอุณหภูมิลดลง
การแช่เย็น (Chilling) การทาให้อุณหภูมิของสิ่งของนั้นลดลง แต่
อยู่เหนือจุดเยือกแข็งของสิ่งนั้น โดยของสิ่งนั้นยังคงสภาพเดิมอยู่ เช่น การ
แช่เย็นอาหารจะเป็นการลดอุณหภูมิของอาหารต่าลงแม้ที่-1o ซ. แต่ต้อง
ไม่ทาให้น้าหรือองค์ประกอบในอาหารนั้นแปรสภาพหรือแข็งเป็นน้าแข็ง
การแช่แข็ง(Freezing) การทาให้อุณหภูมิของสิ่งของนั้นลดต่าลง
ว่าจุดเยือกแข็งของสิ่งนั้น (-1 ถึง -40o ซ.) เป็นน้าแข็ง
1. การใช้ความเย็น
 ปัจจัยที่ต้องคานึงถึง
 ชนิด ประเภท และสายพันธุ์
 ส่วนของพืช เช่นยอดและผลอ่อนจะมีกระบวนการเมตาบอลิ
ซึมสูงสูงทาให้สูญเสียได้เร็ว
 สภาวะของการเก็บเกี่ยว การปนเปื้อนจากเชื้อจุลินทรีย์โรค
บาดแผล และแมลง
 อุณหภูมิการเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา การขนส่งและการกระจาย
ของสินค้า
 ความชื้นของบรรยากาศ มีผลต่อการสูญเสียน้าหนัก
ช่วงอุณหภูมิของการแช่เย็นและแช่แข็ง
ลักษณะการเจริญของจุลินทรีย์ในช่วงอุณหภูมิของการแช่เย็นและแช่แข็ง
ช่วงอุณหภูมิ
(องศาเซลเซียส)
จุลินทรีย์ในอาหาร จุลินทรีย์ที่ทนความเย็นได้
15 – 27 เจริญได้อย่างรวดเร็ว เจริญได้อย่างรวดเร็ว
0 – 15 เจริญได้ช้าลง
-18 ถึง 0 ไม่มีการเจริญเติบโต เจริญได้ช้าลงมาก
ต่ากว่า -18 ไม่มีการเจริญเติบโต เริ่มตายลงอย่างช้าๆ
การใช้น้าแข็ง
การใช้สารผสมแช่แข็ง การใช้น้าแข็งผสมเกลือแกงหรือเกลือ
อนินทรีย์อื่น ๆ ทาให้ได้สารผสมที่มีอุณหภูมิต่ากว่า 0o ซ.
การใช้น้าแข็งแห้ง น้าแข็งแห้งคือ คาร์บอนไดออกไซด์ที่เย็นจน
แข็ง มีอุณหภูมิประมาณ – 80o ซ.
การถนอมอาหารด้วยความเย็น
การใช้ไนโตรเจนเหลว ไนโตรเจนเหลวที่ความดันปกติจะระเหย
กลายเป็นไอที่อุณหภูมิ -196o ซ. ณ อุณหภูมินี้เป็นอุณหภูมิต่าสุดที่
สามารถทาให้อาหารเย็นลงได้อย่างรวดเร็ว ไนโตรเจนเป็นแก๊สเฉื่อย
ไม่เป็นอันตรายกับอาหารและผู้บริโภค
การใช้เครื่องทาความเย็น เครื่องทาความเย็นที่ใช้กันโดยทั่วไป
โดยเฉพาะตามบ้านเรือนคือ ตู้เย็น
เพื่อรักษาความสด และยืดอายุการเก็บรักษา โดยลดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงจาก ปฏิกิริยาชีวเคมีและจุลินทรีย์ เช่น การแช่เย็น
ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ ช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงทาง
โภชนาการ และลักษณะทางประสาทสัมผัส
เพื่อช่วยปรับปรุงคุณสมบัติของอาหาร เช่น การแช่เย็นเนื้อสัตว์
หลังการฆ่าทาให้ เนื้อสัตว์นุ่ม การบ่มเนยแข็งช่วยเพิ่มกลิ่นรส
เพื่อยืดอายุการขายของอาหารสาเร็จรูปบางชนิด เช่น นมพาส
เจอไรส์
จุดประสงค์ของการแช่เย็น
การแช่แข็งอาหาร
 การลดอุณหภูมิของอาหารให้ต่าลงจนถึงระดับที่สิ่งมีชีวิตนั้นไม่
สามารถจะดาเนินปฏิกิริยาทางชีวเคมีต่อไปได้
เนื้อเยื่อของอาหารจะยังคงลักษณะอยู่ได้
โดยทั่วไปมักจะเป็นที่อุณหภูมิ – 18 o ซ หรือต่ากว่า ซึ่งที่
ระดับอุณหภูมินี้ จะเปลี่ยนสถานะของน้าในอาหารที่เป็ น
ของเหลวให้เป็นน้าแข็ง
น้าไม่สามารถทาหน้าที่ต่าง ๆ ในปฏิกิริยาเคมีและไม่เป็ น
อาหารให้กับจุลินทรีย์ที่ปะปนมากับอาหารได้ (มีผลต่อ
เอนไซม์ที่มีในอาหารด้วย)
เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาอาหารและเก็บรักษาวัตถุดิบ
สาหรับโรงงาน เช่น ปลาทูน่าแช่เยือกแข็ง
เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็ง ให้สอดคล้องกับชีวิต
ความเป็นอยู่ในสังคมโดยเน้นผลิตภัณฑ์อาหารสาเร็จรูป
แช่แข็งต่าง ๆ
จุดประสงค์ของการแช่แข็ง
ผลึกน้าแข็งใหญ่ บาดเซลล์
ผลึกน้าแข็งเล็ก ไม่บาดเซลล์
การแช่แข็งแบบช้า
การแช่แข็งแบบเร็ว
2. เริ่มมีผลึกน้าแข็งเกิดขึ้นและมีการปลดปล่อยความร้อนแฝง
1.อุณหภูมิของอาหารลดต่าลงกว่าจุดเยือกแข็ง
3. ความร้อนดึงออกช้าๆ น้าแข็งส่วนใหญ่เกิดขึ้น
4. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งและปล่อยความร้อนแฝง
eutectic temperature
5. สารละลายและน้าเป็นน้าแข็ง
6. อุณหภูมิลดถึงTตู้เย็น
AS เป็นช่วงที่อุณหภูมิของอาหารลดต่าลงกว่าจุดเยือกแข็ง f ถ้าเป็นน้า
บริสุทธิ์อุณหภูมิจะเป็น 0 องศาเซลเซียส แต่อาหารอื่นๆจะต่ากว่า 0 องศา
เซลเซียสเสมอ
SB เป็นช่วงที่มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนถึงจุดเยือกแข็ง ในขณะนี้เริ่ม
มีผลึกน้าแข็งเกิดขึ้นและมีการปลดปล่อยความร้อนแฝงสาหรับการเกิดผลึก
BC ความร้อนที่ถูกดึงออกจากอาหารในอัตราเท่าเดิม แต่ความร้อนแฝงจะถูก
ดึงออกและมี เกิดผลึกน้าแข็ง แต่อุณหภูมิยังค่อนข้างคงที่ จุดเยือกแข็งจะ
ลดลงเนื่องจากความเข้มข้นของของเหลวที่ยังไม่แข็งตัวมีสูงขึ้น อุณหภูมิจะ
ลดลงเล็กน้อย น้าแข็งส่วนใหญ่เกิดในขั้นตอนนี้
CD เป็นจุดที่สารละลายหนึ่งที่มีอยู่ในอาหารเกิดการอิ่มตัวยวดยิ่ง
(supersaturated) และเกิดเป็นผลึกจะมีการปลดปล่อยความร้อนแฝงของการ
เกิดผลึกและอุณหภูมิสูงขึ้นจนถึงอุณหภูมิยูเทคติก (eutectic temperature)
ของสารละลายนั้นๆ
DE จะเกิดผลึกของน้าและสารละลายอย่างต่อเนื่อง เวลาที่ใช้ทั้งหมดในช่วง
tf เรียกว่า freezing plateau ซึ่งจะเป็นอัตราที่ใช้ในการดึงความร้อนออก
EF เป็นช่วงอุณหภูมิที่น้าแข็งและน้ารวมกันอยู่ อุณหภูมิจะลดต่าลงจนถึง
อุณหภูมิของเครื่องทาความเย็น ที่อุณหภูมินี้จะใช้เป็นอุณหภูมิแช่เยือกแข็ง
ทางการค้า แม้ว่ายังมีอัตราส่วนของน้าที่ยังไม่เป็นน้าแข็งหลงเหลืออยู่ ซึ่ง
ขึ้นอยู่กับชนิดและองค์ประกอบของอาหาร
ตัวอย่างเช่น ที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส ในเนื้อแกะจะมีน้าที่ยังไม่เป็น
น้าแข็ง 88% ในเนื้อปลา 91% และในไข่ขาว 93%
การเปลี่ยนแปลงของอาหารแช่แข็ง
1. ความชื้นลดลง
• ผิวหน้าแห้ง สีคล้า กระด้าง “ Freezer burn”
2. เกิดการเหม็นหืน
- เกิดกับอาหารที่มีไขมันเป็นองค์ประกอบ
- ป้ องกันโดยเก็บในภาชนะที่ปิดสนิทป้ องกันการซึมผ่าน
ของออกซิเจน
3. จุลินทรีย์
- สปอร์ของจุลินทรีย์ไม่ถูกทาลาย
- หากสภาวะเหมาะสมในการเจริญก็สามารถกลับมาเจริญได้
การเปลี่ยนแปลงของอาหารแช่แข็ง
4. เอ็นไซม์
- เอ็นไซม์บางชนิดสามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิต่ากว่า - 100 ฟ
- ความเย็นเพียงแค่ชะลอการเกิดปฏิกิริยาเท่านั้น
5. พยาธิ
- การแช่แข็งผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์สามารถทาลายพยาธิบางตัว
6. คุณค่าทางโภชนาการ
- การแช่แข็งอาหารไม่ทาให้คุณค่าอาหารเสียไป
- ส่วนใหญ่เสียไปในขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบก่อนการแช่แข็ง
- การบรรจุหีบห่อช่วยป้ องกันการสูญเสียสารอาหารได้
การเก็บและการใช้อาหารแช่แข็ง
เก็บที่อุณหภูมิต่ากว่า -18oC (0 oF)
การละลายน้าแข็งในอาหาร (thawing) นาอาหารแช่แข็งออกมาจาก
ช่องแช่แข็งใส่ช่องแช่เย็น ไม่ควรละลายน้าแข็งโดยการราดน้าเพราะ
จะเสียคุณค่าทางอาหาร
การถนอมอาหารโดยการทาแห้ง
โดย
ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตรโยธิน
โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีการอาหาร
ความหมาย
การลดปริมาณความชื้นในอาหารให้ต่าลงมาพอที่จะสามารถหยุดยั้ง
การเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดการเสื่อมเสียของอาหาร
• มีความชื้นไม่เกินร้อยละ 25
• มีค่า aw ต่ากว่า 0.6
ผลิตภัณฑ์อาหารแห้งบางชนิดอาจมีการนามาทาให้คืนสภาพใน
น้าเพื่อให้ดูดน้ากลับเข้าไปในอาหารก่อนการบริโภค เช่น ผัก
ตากแห้ง นมผง ชาผง น้าผลไม้ผง เป็นต้น
กระบวนการผลิตผลไม้อบแห้ง
การเตรียมวัตถุดิบ
การคัดแยก การทาความสะอาด การปอกเปลือกและตัดแต่ง การลวก การ
ใช้สารเคมี
2.2.3 อัตราการทาแห้ง
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการทาแห้ง
ธรรมชาติของอาหาร
ขนาดและรูปร่าง
ตาแหน่งของอาหารในเตา
ปริมาณอาหารต่อถาด
ความสามารถในการรับไอน้าของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศร้อน
ความเร็วของลมร้อน
2.4 การเปลี่ยนแปลงของอาหารเนื่องจากการทาแห้ง
การหดตัว (shrinkage)
การเปลี่ยนสี (color change)
การเกิดเปลือกแข็ง (case hardening)
การเสียความสามารถในการคืนสภาพ (rehydration)
การเสียคุณค่าทางอาหารและสารระเหย
7

More Related Content

Viewers also liked

การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมการศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมรอมลี เจะดอเลาะ
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7Nokky Natti
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปGawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6Gawewat Dechaapinun
 
Water/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan Vassar
Water/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan VassarWater/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan Vassar
Water/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan VassarTWCA
 

Viewers also liked (15)

Sarah Vickers
Sarah VickersSarah Vickers
Sarah Vickers
 
3
33
3
 
6
66
6
 
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมการศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
 
2
22
2
 
สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7สื่อ วิทย์ 7
สื่อ วิทย์ 7
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
2
22
2
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
 
4
44
4
 
Water/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan Vassar
Water/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan VassarWater/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan Vassar
Water/Wastewater Enforcement in the New EPA, Nathan Vassar
 
4
44
4
 
ˆ 7
ˆ 7ˆ 7
ˆ 7
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 

7