SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
อุตสาหกรรมปุ๋ ย
การนาปุ๋ ยมาใช้ในการเกษตรเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยเพิ่มผลผลิตทาง
การเกษตรให้สูงขึ้น ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ
ปุ๋ ย
คือ สารอินทรีย์หรือสาร อนินทรีย์ไม่ว่าจะ
เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้นก็ตาม ปุ๋ ย
หรือFERTILIZER มีหน้าที่เพิ่มธาตุอาหารให้กับ
ดิน เพื่อที่จะให้พืชเจริญเติบโตโดยเฉพาะธาตุ
ไนโตรเจนฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ปุ๋ ยแบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภท คือ ปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ย
ชีวภาพ
ปุ๋ ยเคมี
ได้มาจากการผลิตหรือสังเคราะห์ทางอุตสาหกรรมจากแร่ธาตุต่างๆตาม
ธรรมชาติ ปุ๋ ยเคมีมีอยู่ 2 ประเภท คือ แม่ปุ๋ ยหรือปุ๋ ยเดี่ยว และปุ๋ ยผสม
• แม่ปุ๋ ยหรือปุ๋ ยเดี่ยว เป็นสารประกอบทางเคมี มี
ธาตุอาหารประกอบทางเคมีคือ ธาตุ
N(ไนโตรเจน) P(ฟอสเฟต) หรือ
K(โพแทสเซียม) ประกอบด้วยหนึ่งหรือสองธาตุ
และมีปริมาณสารที่ประกอบคงที่
ปุ๋ ยเคมีสูตรต่างๆ
• ปุ๋ ยผสม คือ ปุ๋ ยที่เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ ยหลายๆ
ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหาร
N P และ K ตามต้องการ
ธาตุอาหารในปุ๋ ยเคมี
1. ธาตุอาหารหลัก ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
2. ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน
3. ธาตุอาหารเสริม ประกอบด้วย เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โม
ลิดินัม และคลอรีน
1. ไนโตรเจน ใช้สาหรับบารุงยอด ใบ กิ่ง และลาต้น สาหรับในกระบวนการ
สร้างอะมิโนแอสิด นิวคลีอิก แอสิด คลอโรฟิลล์โปรตีน และเอนไซม์
2. แคลเซียม ใช้สาหรับบารุงดอก ผล ขั้วผล และเมล็ด ปรับสมดุลฮอร์โมน
3. กามะถัน ช่วยในการหายใจ การปรุงอาหาร เพิ่มกลิ่นของดอก และผล
4. ซิลิก้า ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่เซลล์พืช
5. โซเดียม และคลอรีน ช่วยเร่งใบ และผลให้แก่เร็ว
6. วิตามินอี ช่วยลดความเครียดของพืช กระตุ้นการเจริญเติบโต
7. วิตามินบี ช่วยในการบารุงราก ซ่อมแซมเซลล์ราก และช่วยสร้างเซลล์ราก
ใหม่
ตัวอย่างหน้าที่ของแร่ธาตุในปุ๋ ยเคมี
ข้อดี-ข้อเสียของปุ๋ ยเคมี
ข้อดีของปุ๋ ยเคมี ข้อเสียของปุ๋ ยเคมี
1. พืชใช้ธาตุอาหารจากปุ๋ ยได้ทันที จึงให้ผลเร็ว 1. มีราคาแพง หากเทียบจากปริมาณของเนื้อปุ๋ ย และ
ต้องซื้อมาใช้อยู่เสมอ
2. มีราคาถูกเมื่อคิดเทียบจากปริมาณของธาตุอาหารที่มี
ในปุ๋ ย
2. การใส่ปุ๋ ยเคมีที่มีประสิทธิภาพต้องแบ่งใส่ทีละ
น้อย หลายๆครั้ง จึงทาให้ใช้แรงงานมาก
3. ค่าขนส่งถูกกว่า ปริมาณที่ใส่น้อย แต่มีความเข้มข้น
ของธาตุอาหารสูง
3. มีอิทธิพลต่อคุณสมบัติทางเคมีของดิน
4. สามารถใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อย ก็สามารถให้ธาตุ
อาหารแก่พืชได้เพียงพอกับความต้องการของพืช ทาให้
ประหยัดทั้งแรงงานและธาตุอาหารที่ใส่
4. มีธาตุอาหารที่พืชต้องการอยู่ในปุ๋ ยไม่ครบถ้วน
ปุ๋ ยอินทรีย์
คือ สารประกอบที่ได้จากสิ่งที่มีชีวิตได้แก่ พืช สัตว์และจุลินทรีย์ผ่าน
กระบวนการผลิตทางธรรมชาติแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก
ปุ๋ ยพืชสด
♦ ปุ๋ ยคอก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้มาจากสิ่งขับถ่ายของ
สัตว์เลี้ยง เช่น กระบือ สุกร เป็ด ไก่และห่าน ฯลฯ
♦ ปุ๋ ยหมัก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ซึ่งได้จากการนาชิ้นส่วน
ของพืชวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือวัสดุเหลือใช้
จากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น หญ้าแห้ง ใบไม้ ฟาง
ข้าว ซังข้าวโพด
♦ ปุ๋ ยพืชสด เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้จากการปลูกพืช
บารุงดินซึ่งได้แก่พืชตระกูลถั่วต่างๆ แล้วทาการไถ
กลบเมื่อพืชเจริญเติบโตมากที่สุดซึ่งเป็นช่วงที่กาลัง
ออกดอก
ประโยชน์ของปุ๋ ย
1. ช่วยเพิ่มปริมาณอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์
2. ช่วยรักษาความชื้นในดินได้ดีขึ้น
4. ช่วยให้อากาศในดินถ่ายเทได้มากขึ้น
5. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ ยเคมี และลดการใช้ปุ๋ ยเคมีลงได้
ประโยชน์ของปุ๋ ยหมัก
ประโยชน์ของปุ๋ ยพืชสด
1. เพิ่มอินทรียวัตถุและปริมาณไนโตรเจนให้กับดิน
2. ช่วยให้ดินร่วนซุย อุ้มน้าและจับยึดปุ๋ ยเคมีได้ดีขึ้น
3. เพิ่มผลผลิต และคุณภาพของผลผลิตให้ดีขึ้น
ข้อดีของปุ๋ ยอินทรีย์ ข้อเสียของปุ๋ ยอินทรีย์
1. ราคาถูก ต้นทุนต่า 1. ได้ผลช้า ไม่ทันใจ
2. ใช้แล้วหน้าดินฟู ไถพรวนง่าย 2. ราคาแพงต่อหน่วยธาตุอาหารพืช
3. เพิ่มสารอาหารให้ดินดี 3. หายาก
4. ต้นพืชแข็งแรง ไม่เป็นโรคง่าย 4. ปริมาณธาตุอาหารต่า
ข้อดี-ข้อเสียของปุ๋ ยอินทรีย์
ปุ๋ ยชีวภาพ
คือ ปุ๋ ยที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่และมี
สามารถสังเคราะห์สารประกอบธาตุอาหารให้กับพืชปุ๋ ย
ชีวภาพมี 2 ประเภท คือ
◘ กลุ่มจุลินทรีย์ที่สามารถสังเคราะห์สารประกอบอาหารพืช
ไนโตรเจนได้เอง ได้แก่ ไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูล ถั่วแฟรงเคียอยู่ใน
ปมรากสนทะเล
◘ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ช่วยทาให้ธาตุอาหารพืชในดินละลายออกมาเป็นประโยชน์
ต่อพืช เช่น ไมคอร์ไรซาที่ช่วยให้ฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงอยู่ในดิน•
ปุ๋ ยไนโตรเจน
ที่ใช้กันส่วนใหญ่มี 2 ประเภทคือ ประเภทอินทรีย์ประเภทอนินทรีย์
• ประเภทอินทรีย์ ได้จากสิ่งมีชีวิตเกิดจากการเน่าเปื่อย ผุพังไป
ตามกาลเวลา เช่น จากซากพืชซาสัตว์ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก
• ประเภทอนินทรีย์ แบ่งได้เป็น 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลว
และแก๊ส ในปุ๋ ยที่เป็นของแข็งสามารถแบ่งได้เป็นปุ๋ ยที่มีไนโตรเจนเป็นธาตุ
หลักเพียงธาตุเดียว เช่น ยูเรีย แอมโมเนียซัลเฟต และปุ๋ ยไนโตรเจนที่มีธาตุหลัก
อีกธาตุหนึ่งเป็นองค์ประกอบ เช่น ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต โมโนแอมโมเนียม
ฟอสเฟตและโพแทสเซียมไนเทรตปุ๋ ยไนโตรเจนเหลวนั้นผลิตจากปุ๋ ยแข็งส่วน
แอมโมเนียปราศจากน้าหรือแอนไฮดรัสแอมโมเนียที่เป็นแก๊สนั้น นอกจากใช้
เป็นปุ๋ ยโดยตรงแล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบที่ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจนอีกด้วย
ปุ๋ ยฟอสเฟต
คือ การนาหินฟอสเฟตผสมกับทราย
และโซดาแอชแล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000 - 1200
◦C ประมาณ 2 ชั่วโมง นาสารผสมที่ได้จากการ
เผาเทลงในน้าเพื่อทาให้เย็นลงทันทีจะได้สารที่
มีลักษณะพรุน เปราะและบดละเอียดได้ง่าย
สามารถใช้เป็นปุ๋ ยฟอสเฟตที่ให้ไดฟอสฟอรัส
เพนตะออกไซด์ (P2O5)ได้ถึงร้อยละ 27.5
จึงเป็นวิธีหนึ่งที่นาหินฟอสเฟตมาใช้อย่าง
คุ้มค่า
ปุ๋ ยฟอสเฟต
ปุ๋ ยโพแทส
คือ ปุ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรด์ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์มาบดให้ละเอียดแล้วทาให้
บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้าอุณหภูมิประมาณ 90 องศาเซลเซียส เติมสารละลาย NACL
อิ่มตัวและกรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้น
ทาให้ KCL ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง
ปุ๋ ยโพแทส
ปุ๋ ยโพแทสเซียมซัลเฟต
คือ การนาแร่แลงบีไนต์ ปุ๋ ยโพแทสเซียมซัลเฟต
(K2SO4∙2MGSO4) มาละลายในน้าอุณหภูมิประมาณ 50 °C จนเป็น
สารละลายอิ่มตัว แล้วเติมสารละลาย KCL เข้มข้นลงไปจะได้ผลึก K2SO4
นอกจากนี้ถ้านา KCL มาทาปฏิกริยากับNANO3 จะได้ปุ๋ ยโพแทสเซียมไน
เตรต (KNO3)
♦การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ คือ การนาวัตถุดิบที่ใช้ใน
การผลิตแม่ปุ๋ ยมาผสมและให้ทาปฏิกิริยากัน เกิดเป็นสารประกอบ
ต่างๆ เพื่อให้ได้ปุ๋ ยตามสูตรที่ต้องการ
ปุ๋ ยผสม
ได้จากการนาปุ๋ ยไนโตรเจนฟอสเฟตและโพแทส
ผสมรวมกันเพื่อให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหารพืช
ตามที่ต้องการ มีวิธีการผลิต 2 ลักษณะ ดังนี้
♦การผลิตในลักษณะเชิงผสม คือ การนาแม่ปุ๋ ยและส่วนผสมต่างๆมาบด
ให้เข้ากันแล้วอัดเป็นเม็ดในแต่ละเม็ดจะมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที่ต้องการ ส่วน
อีกแบบหนึ่งคือการนาแม่ปุ๋ ยและส่วนผสมต่างๆ คลุกเคล้าให้เข้ากันหรือนาแม่ปุ๋ ย
ที่มีขนาดเม็ดใกล้เคียงกันมาผสมกัน เพื่อให้ได้สูตรตามต้องการ และอาจมีการบด
ให้ละเอียดจนเข้ากันดี ทาให้ปุ๋ ยแต่ละเม็ดอาจมีธาตุอาหารแตกต่างกัน
เครื่องบดปุ่ย เครื่องผสมปุ๋ ย เครื่องอัดเม็ด
การผลิตปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต(NH4)2SO4
เตรียมก๊าซ NH3 และกรดH2SO4 ก่อนแล้วจึงนามาทาปฏิกิริยากันเป็น
ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต
ก๊าซ NH3 เตรียมได้โดยวิธีการเดียวกับการผลิตปุ๋ ยยูเรีย
กรด H2SO4 เตรียมได้โดยใช้ S เป็นสารตั้งต้นซึ่งส่วนใหญ่จะได้จากถ่าน
ลิกไนต์โดยนา S มาหลอมเหลวแล้วเผารวมกับก๊าซO2 จะได้ก๊าซSO2
S (l) + O2 (g) → SO2 (g)
เมื่อนาก๊าซ SO2ทาปฏิกิริยาต่อกับ O2 จะได้ก๊าซ SO3แต่เนื่องจากเป็น
ปฏิกิริยาที่มีสมดุลจึงต้องเลือกภาวะของอุณหภูมิและความดันที่เหมาะสม คือ 330
องศาเซลเซียส และใช้ V2O5 หรือ Pt เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจะเหมาะสมได้ก๊าซ มาก
ที่สุด
2SO2 (g) + O2 (g) → 2SO3 (g)
เมื่อผ่านก๊าซ SO3 ลงในสารละลายกรดH2SO4 เข้มข้น (เกือบ
บริสุทธิ์) จะเกิดปฏิกิริยาได้เป็นH2S2O7 หรือ H2SO4
. SO3 เรียกว่า โอ
เลียม (oleum)
H2SO4 (aq) + SO3 (g) → H2S2O7 (aq)
เมื่อต้องการกรด H2SO4 กลับคืน ให้นา H2S2O7 ไปทาปฏิกิริยา
กับน้า
เมื่อนาก๊าซ NH3 และกรด H2SO4 มาทาปฏิกิริยากันจะได้
ปุ๋ ย (NH4)2SO4 ตามต้องการ
2NH3 (g) + H2SO4 (aq) → (NH4)2SO4(s)
• Achtung (ระวัง)!!!
การเตรียมกรด H2SO4 จะไม่เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่าง SO3
(g) กับ H2O (l) โดยตรง ตามสมการ
H2O (l) + SO3 (g) → H2SO4(aq)
เนื่องจาก เกิดปฏิกิริยายาก และมีการคายความร้อนสูงมาก รวมทั้งยังมี
ก๊าซบางอย่างระเหยออกมาตลอดเวลา ซึ่งอาจทาให้เกิดอันตรายได้ง่าย
ขั้นแรก นาหินฟอสเฟสที่บดแล้วมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกที่มีความ
เข้มข้น 4 – 5 mol/dm3 ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วได้กรดฟอสฟอริก
( H3PO4)
CaF2
.3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF
ขั้นที่สอง กรดฟอสฟอริกที่เกิดขึ้นจะทาปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ
ปฏิกิริยาในขั้นนี้เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ต้องเก็บหรือบ่มไว้ประมาณ 1 เดือน เพื่อให้ปฏิกิริยา
เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ได้มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2)
CaF2
.3Ca3(PO4)2 + 14H3PO4 + 2HF 10Ca(H2PO4)2 + 2HF
การผลิตปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
แผนภาพแสดงสารเคมีและปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
CaF2
.3Ca3(PO4)2
H3PO4
Ca(H2Po4)2
CaSO4 Hf
CaF2
.3Ca3(PO4)2
หินฟอสเฟตส่วนมากจะมีทราย (SiO2) ปนอยู่ด้วย HF ที่เกิดขึ้นจาก
กระบวนการผลิตปุ๋ ยบางส่วนจะทาปฏิกิริยากับทรายเกิดเป็นแก๊สซิลิคอนเตตระ
ฟลูออไรด์ (SiF4) ซึ่งรวมกับ H2O ได้ทันทีเกิดเป็น H2SiF6 หรืออาจนา
SiO2 มาทาปฏิกิริยาโดยตรงกับสาร HF ที่เกิดขึ้นเพื่อให้เกิดเป็น H2SiF6 และ
เมื่อนามาทาปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์
(MgSiF6) ซึ่งใช้เป็นสารกาจัดแมลงได้
สมการเคมีของการปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้
6HF + SiO2 H2SiF6 + 2H2O
H2SiF6 + MgO MgSiF6 + H2O
HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกาจัดดดยการผ่านแก๊สลงใน
น้า ทาให้ได้สารละลายที่มีสภาพเป็นกรด ซึ่งทาให้เป็นกลางได้ดดยทาปฏิกิริยา
กับโซดาแอวหรือหินปูน ดังสมการ
2HF + Na2CO3 2NaF + H2O + CO2
2HF + CaCO3 CaF2 + H2O + CO2
พ่นน้า อากาศ MgO
กรด H2SO4 4-5 mol/dm3
MgSi6
หินฟอสเฟตบด (ยาฆ่า
แมลง)
H2O CaF2 NaF
SiO2
H2SiF4
แผนภาพแสดงขั้นตอนกระบวนการผลิตปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟตและการกาจัด HF
ถังผสม ถังบ่ม
ปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
ถังเก็บ
HF
H2SiF5
ถังอบแห้ง บรรจุถุง
สารละลายHF
กาจัด HF
ด้วย
หินปูน
Na2CO3
ถังเกิด
ปฏิกิริยา
เทคนิคการใส่ปุ๋ ย
ขึ้นอยู่กับ
- ชนิดของพืช
- อายุหรือช่วงเวลาของพืช
- สูตรปุ๋ ยที่เหมาะสมกับช่วงเวลานั้นของพืช
- วิธีการใส่ปุ๋ ยที่ถูกต้อง
- ปริมาณปุ๋ ยที่ใช้
- คุณภาพของปุ๋ ย ที่เหมาะสมกับราคา
- ปริมาณน้าในดินและความชื้นในอากาศ
- อื่นๆ ตามลักษณะพิเศษของพืช
จัดทาโดย
1. นายวรินทร ประดิษฐ์ ม.5/5 เลขที่ 7
2. นางสาววริยา รัตนพันธ์ ม.5/5 เลชที่ 24
3. นางสาวภาณุมาส ทูลมาลา ม.5/5 เลฃที่ 30

More Related Content

What's hot

Natriu benzoat, kyslota salitsylova, aspiryn
Natriu benzoat, kyslota salitsylova, aspirynNatriu benzoat, kyslota salitsylova, aspiryn
Natriu benzoat, kyslota salitsylova, aspirynLiudmila Sidorenko
 
идентификация на ионы
идентификация на ионыидентификация на ионы
идентификация на ионыamjad1977a
 
G 017.doc
G 017.docG 017.doc
G 017.docqimia
 
Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3
Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3
Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3AleksandraNjezic
 
Оксиди Нітрогену та Фосфору
Оксиди Нітрогену та ФосфоруОксиди Нітрогену та Фосфору
Оксиди Нітрогену та ФосфоруЕлена Мешкова
 
Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.
Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.
Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.Олена Колісник
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4songyangwtps
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
Бібліографічний опис традиційних ресурсів
Бібліографічний опис традиційних ресурсівБібліографічний опис традиційних ресурсів
Бібліографічний опис традиційних ресурсівДБУ для юнацтва
 

What's hot (17)

Polysaccharides
PolysaccharidesPolysaccharides
Polysaccharides
 
Natriu benzoat, kyslota salitsylova, aspiryn
Natriu benzoat, kyslota salitsylova, aspirynNatriu benzoat, kyslota salitsylova, aspiryn
Natriu benzoat, kyslota salitsylova, aspiryn
 
идентификация на ионы
идентификация на ионыидентификация на ионы
идентификация на ионы
 
Kilo verme sunum
Kilo verme sunumKilo verme sunum
Kilo verme sunum
 
Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
G 017.doc
G 017.docG 017.doc
G 017.doc
 
Riboflavin
RiboflavinRiboflavin
Riboflavin
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
Urticaria
UrticariaUrticaria
Urticaria
 
Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3
Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3
Analiticka hemija ii_71 i 72 Standardizacija rastvora Na2S2O3
 
Оксиди Нітрогену та Фосфору
Оксиди Нітрогену та ФосфоруОксиди Нітрогену та Фосфору
Оксиди Нітрогену та Фосфору
 
Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.
Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.
Випробування на гранічний вміст домішок згідно ДФУ.
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
เศรษฐศาสตร์บทที่ 4
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
Бібліографічний опис традиційних ресурсів
Бібліографічний опис традиційних ресурсівБібліографічний опис традиційних ресурсів
Бібліографічний опис традиційних ресурсів
 
Subjunctive
SubjunctiveSubjunctive
Subjunctive
 

Viewers also liked

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยSurasek Tikomrom
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01Surasek Tikomrom
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมKorpong Sae-lee
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมsailom
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมJariya Jaiyot
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือChantana Yayod
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์Chantana Yayod
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมoraneehussem
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 

Viewers also liked (13)

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
01
0101
01
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือ
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 

Similar to เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย

ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัยwiyadanam
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชchunkidtid
 
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้นความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้นFarmkaset
 
การวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดินการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดินkasetpcc
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 

Similar to เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย (11)

การทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำเสนอ
การทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำเสนอการทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำเสนอ
การทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำเสนอ
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืชการเตรียมการก่อนปลูกพืช
การเตรียมการก่อนปลูกพืช
 
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้นความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
ความรู้เรื่องปุ๋ยเบื้องต้น
 
การวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดินการวิเคราะห์คุณภาพดิน
การวิเคราะห์คุณภาพดิน
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
6
66
6
 
6
66
6
 
6
66
6
 

เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย

  • 1.
  • 3. ปุ๋ ย คือ สารอินทรีย์หรือสาร อนินทรีย์ไม่ว่าจะ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้นก็ตาม ปุ๋ ย หรือFERTILIZER มีหน้าที่เพิ่มธาตุอาหารให้กับ ดิน เพื่อที่จะให้พืชเจริญเติบโตโดยเฉพาะธาตุ ไนโตรเจนฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ปุ๋ ยแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภท คือ ปุ๋ ยเคมี ปุ๋ ยอินทรีย์ ปุ๋ ย ชีวภาพ
  • 4. ปุ๋ ยเคมี ได้มาจากการผลิตหรือสังเคราะห์ทางอุตสาหกรรมจากแร่ธาตุต่างๆตาม ธรรมชาติ ปุ๋ ยเคมีมีอยู่ 2 ประเภท คือ แม่ปุ๋ ยหรือปุ๋ ยเดี่ยว และปุ๋ ยผสม
  • 5. • แม่ปุ๋ ยหรือปุ๋ ยเดี่ยว เป็นสารประกอบทางเคมี มี ธาตุอาหารประกอบทางเคมีคือ ธาตุ N(ไนโตรเจน) P(ฟอสเฟต) หรือ K(โพแทสเซียม) ประกอบด้วยหนึ่งหรือสองธาตุ และมีปริมาณสารที่ประกอบคงที่ ปุ๋ ยเคมีสูตรต่างๆ • ปุ๋ ยผสม คือ ปุ๋ ยที่เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ ยหลายๆ ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหาร N P และ K ตามต้องการ
  • 6. ธาตุอาหารในปุ๋ ยเคมี 1. ธาตุอาหารหลัก ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม 2. ธาตุอาหารรอง ประกอบด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน 3. ธาตุอาหารเสริม ประกอบด้วย เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โม ลิดินัม และคลอรีน
  • 7. 1. ไนโตรเจน ใช้สาหรับบารุงยอด ใบ กิ่ง และลาต้น สาหรับในกระบวนการ สร้างอะมิโนแอสิด นิวคลีอิก แอสิด คลอโรฟิลล์โปรตีน และเอนไซม์ 2. แคลเซียม ใช้สาหรับบารุงดอก ผล ขั้วผล และเมล็ด ปรับสมดุลฮอร์โมน 3. กามะถัน ช่วยในการหายใจ การปรุงอาหาร เพิ่มกลิ่นของดอก และผล 4. ซิลิก้า ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่เซลล์พืช 5. โซเดียม และคลอรีน ช่วยเร่งใบ และผลให้แก่เร็ว 6. วิตามินอี ช่วยลดความเครียดของพืช กระตุ้นการเจริญเติบโต 7. วิตามินบี ช่วยในการบารุงราก ซ่อมแซมเซลล์ราก และช่วยสร้างเซลล์ราก ใหม่ ตัวอย่างหน้าที่ของแร่ธาตุในปุ๋ ยเคมี
  • 8. ข้อดี-ข้อเสียของปุ๋ ยเคมี ข้อดีของปุ๋ ยเคมี ข้อเสียของปุ๋ ยเคมี 1. พืชใช้ธาตุอาหารจากปุ๋ ยได้ทันที จึงให้ผลเร็ว 1. มีราคาแพง หากเทียบจากปริมาณของเนื้อปุ๋ ย และ ต้องซื้อมาใช้อยู่เสมอ 2. มีราคาถูกเมื่อคิดเทียบจากปริมาณของธาตุอาหารที่มี ในปุ๋ ย 2. การใส่ปุ๋ ยเคมีที่มีประสิทธิภาพต้องแบ่งใส่ทีละ น้อย หลายๆครั้ง จึงทาให้ใช้แรงงานมาก 3. ค่าขนส่งถูกกว่า ปริมาณที่ใส่น้อย แต่มีความเข้มข้น ของธาตุอาหารสูง 3. มีอิทธิพลต่อคุณสมบัติทางเคมีของดิน 4. สามารถใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อย ก็สามารถให้ธาตุ อาหารแก่พืชได้เพียงพอกับความต้องการของพืช ทาให้ ประหยัดทั้งแรงงานและธาตุอาหารที่ใส่ 4. มีธาตุอาหารที่พืชต้องการอยู่ในปุ๋ ยไม่ครบถ้วน
  • 9. ปุ๋ ยอินทรีย์ คือ สารประกอบที่ได้จากสิ่งที่มีชีวิตได้แก่ พืช สัตว์และจุลินทรีย์ผ่าน กระบวนการผลิตทางธรรมชาติแบ่งเป็น 3 ประเภทคือ ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยพืชสด
  • 10. ♦ ปุ๋ ยคอก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้มาจากสิ่งขับถ่ายของ สัตว์เลี้ยง เช่น กระบือ สุกร เป็ด ไก่และห่าน ฯลฯ ♦ ปุ๋ ยหมัก เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ซึ่งได้จากการนาชิ้นส่วน ของพืชวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือวัสดุเหลือใช้ จากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น หญ้าแห้ง ใบไม้ ฟาง ข้าว ซังข้าวโพด ♦ ปุ๋ ยพืชสด เป็นปุ๋ ยอินทรีย์ที่ได้จากการปลูกพืช บารุงดินซึ่งได้แก่พืชตระกูลถั่วต่างๆ แล้วทาการไถ กลบเมื่อพืชเจริญเติบโตมากที่สุดซึ่งเป็นช่วงที่กาลัง ออกดอก
  • 11. ประโยชน์ของปุ๋ ย 1. ช่วยเพิ่มปริมาณอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ 2. ช่วยรักษาความชื้นในดินได้ดีขึ้น 4. ช่วยให้อากาศในดินถ่ายเทได้มากขึ้น 5. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ ยเคมี และลดการใช้ปุ๋ ยเคมีลงได้ ประโยชน์ของปุ๋ ยหมัก
  • 12. ประโยชน์ของปุ๋ ยพืชสด 1. เพิ่มอินทรียวัตถุและปริมาณไนโตรเจนให้กับดิน 2. ช่วยให้ดินร่วนซุย อุ้มน้าและจับยึดปุ๋ ยเคมีได้ดีขึ้น 3. เพิ่มผลผลิต และคุณภาพของผลผลิตให้ดีขึ้น
  • 13. ข้อดีของปุ๋ ยอินทรีย์ ข้อเสียของปุ๋ ยอินทรีย์ 1. ราคาถูก ต้นทุนต่า 1. ได้ผลช้า ไม่ทันใจ 2. ใช้แล้วหน้าดินฟู ไถพรวนง่าย 2. ราคาแพงต่อหน่วยธาตุอาหารพืช 3. เพิ่มสารอาหารให้ดินดี 3. หายาก 4. ต้นพืชแข็งแรง ไม่เป็นโรคง่าย 4. ปริมาณธาตุอาหารต่า ข้อดี-ข้อเสียของปุ๋ ยอินทรีย์
  • 14. ปุ๋ ยชีวภาพ คือ ปุ๋ ยที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่และมี สามารถสังเคราะห์สารประกอบธาตุอาหารให้กับพืชปุ๋ ย ชีวภาพมี 2 ประเภท คือ
  • 15. ◘ กลุ่มจุลินทรีย์ที่สามารถสังเคราะห์สารประกอบอาหารพืช ไนโตรเจนได้เอง ได้แก่ ไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูล ถั่วแฟรงเคียอยู่ใน ปมรากสนทะเล ◘ กลุ่มจุลินทรีย์ที่ช่วยทาให้ธาตุอาหารพืชในดินละลายออกมาเป็นประโยชน์ ต่อพืช เช่น ไมคอร์ไรซาที่ช่วยให้ฟอสฟอรัสที่ถูกตรึงอยู่ในดิน•
  • 16. ปุ๋ ยไนโตรเจน ที่ใช้กันส่วนใหญ่มี 2 ประเภทคือ ประเภทอินทรีย์ประเภทอนินทรีย์ • ประเภทอินทรีย์ ได้จากสิ่งมีชีวิตเกิดจากการเน่าเปื่อย ผุพังไป ตามกาลเวลา เช่น จากซากพืชซาสัตว์ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยคอก
  • 17. • ประเภทอนินทรีย์ แบ่งได้เป็น 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ในปุ๋ ยที่เป็นของแข็งสามารถแบ่งได้เป็นปุ๋ ยที่มีไนโตรเจนเป็นธาตุ หลักเพียงธาตุเดียว เช่น ยูเรีย แอมโมเนียซัลเฟต และปุ๋ ยไนโตรเจนที่มีธาตุหลัก อีกธาตุหนึ่งเป็นองค์ประกอบ เช่น ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต โมโนแอมโมเนียม ฟอสเฟตและโพแทสเซียมไนเทรตปุ๋ ยไนโตรเจนเหลวนั้นผลิตจากปุ๋ ยแข็งส่วน แอมโมเนียปราศจากน้าหรือแอนไฮดรัสแอมโมเนียที่เป็นแก๊สนั้น นอกจากใช้ เป็นปุ๋ ยโดยตรงแล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบที่ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจนอีกด้วย
  • 18. ปุ๋ ยฟอสเฟต คือ การนาหินฟอสเฟตผสมกับทราย และโซดาแอชแล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000 - 1200 ◦C ประมาณ 2 ชั่วโมง นาสารผสมที่ได้จากการ เผาเทลงในน้าเพื่อทาให้เย็นลงทันทีจะได้สารที่ มีลักษณะพรุน เปราะและบดละเอียดได้ง่าย สามารถใช้เป็นปุ๋ ยฟอสเฟตที่ให้ไดฟอสฟอรัส เพนตะออกไซด์ (P2O5)ได้ถึงร้อยละ 27.5 จึงเป็นวิธีหนึ่งที่นาหินฟอสเฟตมาใช้อย่าง คุ้มค่า ปุ๋ ยฟอสเฟต
  • 19. ปุ๋ ยโพแทส คือ ปุ๋ ยโพแทสเซียมคลอไรด์ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์มาบดให้ละเอียดแล้วทาให้ บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้าอุณหภูมิประมาณ 90 องศาเซลเซียส เติมสารละลาย NACL อิ่มตัวและกรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้าเพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้น ทาให้ KCL ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง ปุ๋ ยโพแทส
  • 20. ปุ๋ ยโพแทสเซียมซัลเฟต คือ การนาแร่แลงบีไนต์ ปุ๋ ยโพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4∙2MGSO4) มาละลายในน้าอุณหภูมิประมาณ 50 °C จนเป็น สารละลายอิ่มตัว แล้วเติมสารละลาย KCL เข้มข้นลงไปจะได้ผลึก K2SO4 นอกจากนี้ถ้านา KCL มาทาปฏิกริยากับNANO3 จะได้ปุ๋ ยโพแทสเซียมไน เตรต (KNO3)
  • 21. ♦การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ คือ การนาวัตถุดิบที่ใช้ใน การผลิตแม่ปุ๋ ยมาผสมและให้ทาปฏิกิริยากัน เกิดเป็นสารประกอบ ต่างๆ เพื่อให้ได้ปุ๋ ยตามสูตรที่ต้องการ ปุ๋ ยผสม ได้จากการนาปุ๋ ยไนโตรเจนฟอสเฟตและโพแทส ผสมรวมกันเพื่อให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหารพืช ตามที่ต้องการ มีวิธีการผลิต 2 ลักษณะ ดังนี้
  • 22. ♦การผลิตในลักษณะเชิงผสม คือ การนาแม่ปุ๋ ยและส่วนผสมต่างๆมาบด ให้เข้ากันแล้วอัดเป็นเม็ดในแต่ละเม็ดจะมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที่ต้องการ ส่วน อีกแบบหนึ่งคือการนาแม่ปุ๋ ยและส่วนผสมต่างๆ คลุกเคล้าให้เข้ากันหรือนาแม่ปุ๋ ย ที่มีขนาดเม็ดใกล้เคียงกันมาผสมกัน เพื่อให้ได้สูตรตามต้องการ และอาจมีการบด ให้ละเอียดจนเข้ากันดี ทาให้ปุ๋ ยแต่ละเม็ดอาจมีธาตุอาหารแตกต่างกัน เครื่องบดปุ่ย เครื่องผสมปุ๋ ย เครื่องอัดเม็ด
  • 23. การผลิตปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต(NH4)2SO4 เตรียมก๊าซ NH3 และกรดH2SO4 ก่อนแล้วจึงนามาทาปฏิกิริยากันเป็น ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ก๊าซ NH3 เตรียมได้โดยวิธีการเดียวกับการผลิตปุ๋ ยยูเรีย กรด H2SO4 เตรียมได้โดยใช้ S เป็นสารตั้งต้นซึ่งส่วนใหญ่จะได้จากถ่าน ลิกไนต์โดยนา S มาหลอมเหลวแล้วเผารวมกับก๊าซO2 จะได้ก๊าซSO2 S (l) + O2 (g) → SO2 (g) เมื่อนาก๊าซ SO2ทาปฏิกิริยาต่อกับ O2 จะได้ก๊าซ SO3แต่เนื่องจากเป็น ปฏิกิริยาที่มีสมดุลจึงต้องเลือกภาวะของอุณหภูมิและความดันที่เหมาะสม คือ 330 องศาเซลเซียส และใช้ V2O5 หรือ Pt เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาจะเหมาะสมได้ก๊าซ มาก ที่สุด 2SO2 (g) + O2 (g) → 2SO3 (g)
  • 24. เมื่อผ่านก๊าซ SO3 ลงในสารละลายกรดH2SO4 เข้มข้น (เกือบ บริสุทธิ์) จะเกิดปฏิกิริยาได้เป็นH2S2O7 หรือ H2SO4 . SO3 เรียกว่า โอ เลียม (oleum) H2SO4 (aq) + SO3 (g) → H2S2O7 (aq) เมื่อต้องการกรด H2SO4 กลับคืน ให้นา H2S2O7 ไปทาปฏิกิริยา กับน้า เมื่อนาก๊าซ NH3 และกรด H2SO4 มาทาปฏิกิริยากันจะได้ ปุ๋ ย (NH4)2SO4 ตามต้องการ 2NH3 (g) + H2SO4 (aq) → (NH4)2SO4(s)
  • 25. • Achtung (ระวัง)!!! การเตรียมกรด H2SO4 จะไม่เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่าง SO3 (g) กับ H2O (l) โดยตรง ตามสมการ H2O (l) + SO3 (g) → H2SO4(aq) เนื่องจาก เกิดปฏิกิริยายาก และมีการคายความร้อนสูงมาก รวมทั้งยังมี ก๊าซบางอย่างระเหยออกมาตลอดเวลา ซึ่งอาจทาให้เกิดอันตรายได้ง่าย
  • 26.
  • 27. ขั้นแรก นาหินฟอสเฟสที่บดแล้วมาทาปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกที่มีความ เข้มข้น 4 – 5 mol/dm3 ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วได้กรดฟอสฟอริก ( H3PO4) CaF2 .3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF ขั้นที่สอง กรดฟอสฟอริกที่เกิดขึ้นจะทาปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ ปฏิกิริยาในขั้นนี้เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ต้องเก็บหรือบ่มไว้ประมาณ 1 เดือน เพื่อให้ปฏิกิริยา เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ได้มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2) CaF2 .3Ca3(PO4)2 + 14H3PO4 + 2HF 10Ca(H2PO4)2 + 2HF การผลิตปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
  • 29. หินฟอสเฟตส่วนมากจะมีทราย (SiO2) ปนอยู่ด้วย HF ที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการผลิตปุ๋ ยบางส่วนจะทาปฏิกิริยากับทรายเกิดเป็นแก๊สซิลิคอนเตตระ ฟลูออไรด์ (SiF4) ซึ่งรวมกับ H2O ได้ทันทีเกิดเป็น H2SiF6 หรืออาจนา SiO2 มาทาปฏิกิริยาโดยตรงกับสาร HF ที่เกิดขึ้นเพื่อให้เกิดเป็น H2SiF6 และ เมื่อนามาทาปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF6) ซึ่งใช้เป็นสารกาจัดแมลงได้ สมการเคมีของการปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้ 6HF + SiO2 H2SiF6 + 2H2O H2SiF6 + MgO MgSiF6 + H2O
  • 30. HF ส่วนใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกาจัดดดยการผ่านแก๊สลงใน น้า ทาให้ได้สารละลายที่มีสภาพเป็นกรด ซึ่งทาให้เป็นกลางได้ดดยทาปฏิกิริยา กับโซดาแอวหรือหินปูน ดังสมการ 2HF + Na2CO3 2NaF + H2O + CO2 2HF + CaCO3 CaF2 + H2O + CO2
  • 31. พ่นน้า อากาศ MgO กรด H2SO4 4-5 mol/dm3 MgSi6 หินฟอสเฟตบด (ยาฆ่า แมลง) H2O CaF2 NaF SiO2 H2SiF4 แผนภาพแสดงขั้นตอนกระบวนการผลิตปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟตและการกาจัด HF ถังผสม ถังบ่ม ปุ๋ ยซุปเปอร์ฟอสเฟต ถังเก็บ HF H2SiF5 ถังอบแห้ง บรรจุถุง สารละลายHF กาจัด HF ด้วย หินปูน Na2CO3 ถังเกิด ปฏิกิริยา
  • 32. เทคนิคการใส่ปุ๋ ย ขึ้นอยู่กับ - ชนิดของพืช - อายุหรือช่วงเวลาของพืช - สูตรปุ๋ ยที่เหมาะสมกับช่วงเวลานั้นของพืช - วิธีการใส่ปุ๋ ยที่ถูกต้อง - ปริมาณปุ๋ ยที่ใช้ - คุณภาพของปุ๋ ย ที่เหมาะสมกับราคา - ปริมาณน้าในดินและความชื้นในอากาศ - อื่นๆ ตามลักษณะพิเศษของพืช
  • 33. จัดทาโดย 1. นายวรินทร ประดิษฐ์ ม.5/5 เลขที่ 7 2. นางสาววริยา รัตนพันธ์ ม.5/5 เลชที่ 24 3. นางสาวภาณุมาส ทูลมาลา ม.5/5 เลฃที่ 30