SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
คุณสมบัติทางกายภาพและชีววิทยาของผักและผลไม้
บทที่ 2
เนื้อหา
1. คุณสมบัติทางกายภาพ
1.1 โครงสร้างของเนื้อเยื่อผักและผลไม้ชนิด
1.1.1 เนื้อเยื่อป้ องกัน
1.1.2 เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
1.1.3 เนื้อเยื่อค้าจุนโครงสร้าง
1.1.4 เนื้อเยื่อลาเลียง
1.2 การสูญเสียน้า
เนื้อหา
2. คุณสมบัติทางชีววิทยา
2.1 การหายใจ (respiration)
2.1.1 การหายใจที่ใช้ออกซิเจน
2.1.2 การหายใจที่ไม่ใช้ออกซิเจน
2.2 การผลิตก๊าซเอทิลีน (ethylene production)
1. คุณสมบัติทางกายภาพ
1.1 โครงสร้างของเนื้อเยื่อผักและผลไม้
แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
(1) เนื้อเยื่อป้ องกัน (protective tissues)
(2) เนื้อเยื่อพาเรนไคมา (parenchyma)
(3) เนื้อเยื่อค้าจุนโครงสร้าง (supporting tissues)
(4) เนื้อเยื่อลาเลียง (vascular tissue)
เนื้อเยื่อป้องกัน (protective tissue)
• เนื้อเยื่อที่เรียงตัวกันอยู่ชั้นนอกสุด
• คิวติเคิลประกอบด้วยสารประเภทไข ได้แก่ wax และ cutin ซึ่งมีคุณสมบัติไม่ชอบน้า (hydrophobic)
• wax ยังให้ความมันเงาแก่ผลไม้ การขัดขวางการเคลื่อนย้ายของน้า
• cutin มักจะมีสารประกอบฟีนอลอยู่ด้วย ช่วยทาหน้าที่ป้ องกันเชื้อโรคและแมลงที่จะเข้าทาลายผลได้
โครงสร้างเนื้อเยื่อพืช(leaf tissue organelle)
รูปที่ 2.1 โครงสร้างเนื้อเยื่อพืช (leaf tissue organelle) ที่มา Davidson, 2010
น้า
อาหาร
ปากใบ(stomata)
รูปที่ 2.2 สโตมาตา (stomata)
1.1.2 เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
• มี 3 ใน 4 ของเซลล์ทั้งหมดของเนื้อเยื่อพืช
• ภายในเนื้อเยื่อจะมีช่องว่างภายในเซลล์ คือแวคคิวโอล (vacuole) ที่เป็นที่เก็บสารต่างๆ เช่น กรด
น้าตาล รงควัตถุ รวมทั้งสารที่ละลายน้า ละลายไขมัน และโปรตีน
• เซลล์แต่ละเซลล์จะไม่ชิดกันและมีช่องว่างแทรกอยู่
• มันฝรั่งจะมีช่องว่างน้อยกว่า 1% ของปริมาตรเนื้อเยื่อ แต่ในแอปเปิ้ลจะมีช่องว่างถึง 25%
Parenchyma tissue
รูปที่ 2.1 เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
• ภายในไซโตรพลาสซึม ประกอบไปด้วยเม็ดแป้ ง (starch granules) และพลาสติด (plastid) ที่
บรรจุคลอโรพลาสต์และรงควัตถุอื่นๆ
• ผนังเซลล์จะมีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลัก
1.1.3 เนื้อเยื่อค้าจุน(supporting tissue)
• แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ คอเลนไคมา (collenchyma) และ สเคอเลนไคมา (sclerenchyma)
1. คอเลนไคมา (collenchyma) ทาให้เนื้อเยื่อมีความแข็งแรง พบมากที่ก้าน ลาต้น ใบ ผนังเซลล์
ซึ่งประกอบไปด้วยเพคตินและเฮมิเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่
2. สเคอเรนไคมา (sclerenchyma)
• เป็นเซลล์เนื้อเยื่อที่มีผนังหนาและมักเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว
• ประกอบด้วยเซลลูโลส (cellulose) และ/หรือ ลิกนิน (lignin)
• สเคอเรนไคมาแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ เส้นใย (fiber) และสเคอรีด (sclereid)
รูปที่ 2.3 เนื้อเยื่อสเคอเรนไคมา
1.1.4 เนื้อเนื่อลาเลียง (Vescular tissues)
• แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือไซเลม (Xylem) และโฟลเอม (Phloem)
• ไซเลมทาหน้าที่ลาเลียงน้า
• โฟเอม ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
1.2 การสูญเสียน้า
• ผลผลิตสดจะต้องคายน้าอยู่ตลอดเวลา เพื่อระบายความร้อนที่เกิดจากการหายใจ
• โครงสร้างต่างๆ ที่ป้ องกันการระเหยของน้า เช่น ไข (wax) และคิวติน (cutin)
• พืชก็มีช่องเปิดต่างๆ เช่น ปากใบ (stomata) และ lenticel เพื่อถ่ายเทอากาศนาเข้าออกซิเจนเข้า
ไปสาหรับการหายใจและระบายคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา (รูปที่ 2.5)
รูปที่ 2.5 โครงสร้างเนื้อเยื่อพืช
ชนิดพืช จากดอยต่างๆถึงเชียงใหม่ จากเชียงใหม่ถึงกรุงเทพฯ
กะหล่าปลี 4 54
มะเขือเทศ 13 17
พริกยักษ์ 11 34
ถั่วลันเตา 15 47
มันฝรั่ง 6 26
ผักกาดหอมห่อ 13 71
ปวยเหล็ง 8 63
แครอท 16 36
ตารางที่ 2.1 สถิติการสูญเสียน้าหนัก
โครงการหลวงบางชนิดเฉลี่ยทั้งปีการเพาะปลูก
ปัญหาการคายน้า
• การคายน้าจากผลเป็นปัญหาที่สาคัญอย่างหนึ่งของการเก็บรักษา เพราะทาให้เกิดการสูญเสีย
น้าหนัก ความแน่นเนื้อ ผลเหี่ยว สีผิวไม่สวย และอาจทาให้การสุกของผลไม่เป็นไปตามปกติ
• ตัวอย่างเช่น มะม่วงที่สูญเสียน้ามากกว่า 5-10 เปอร์เซ็นต์ของน้าหนักจะทาให้ผลเหี่ยว ความ
แน่นเนื้อของผลลดลง และทาให้รสชาติไม่ดี (Peleg, 1985)
2. คุณสมบัติทางชีววิทยา
• 2.1 การหายใจ (respiration)
การหายใจแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1) การหายใจที่ใช้ออกซิเจน (aerobicrespiration)
2) การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration)
การหายใจ
• เป็นกระบวนการชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต ซึ่งนาอาหาร เช่น แป้ ง ไขมัน น้าตาล และโปรตีนที่สะสมมา
ใช้ให้เกิดเป็นพลังงาน กระบวนการนี้เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชันที่อาหารถูกนามา
ออกซิไดซ์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์
2.1.1 การหายใจที่ใช้ออกซิเจน
• เป็นการออกซิเดชันของน้าตาลโมเลกุลเดี่ยว ให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ น้าและพลังงาน โดยมี
กรดอินทรีย์ต่างๆ เอนไซม์และโคเอนไซม์เข้ามาเกี่ยวข้อง การออกซิเดชันของน้าตาลที่สมบูรณ์
จะเป็นไปตามสมการ
• C6H12O6 + 6O2 6CO2 + 6H2O + พลังงาน
• 1) กระบวนการไกลโคไลซีส เป็นการเปลี่ยนน้าตาลกลูโคสให้เป็นน้าตาลกลูโคสหรือฟรุคโตส
เป็นกรดไพรูวิค (pyruvic acid) กระบวนการนี้เกิดขึ้นในไซโตพลาสซึมของเซลล์ ซึ่งเป็น
กระบวนการที่ไม่ต้องการออกซิเจน ผลที่ได้คือพลังงานในรูป ATP และ NADH
• 2) วัฏจักรเครบส์ เป็นการเปลี่ยนกรดไพรูวิคให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ น้าและพลังงาน ซึ่ง
ปฏิกิริยาทั้งหมดเกิดในไมโตคอนเดรียของเซลล์ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ออกซิเจน
• 3) ขั้นการถ่ายทอดอิเลคตรอน (Electron Transportation system)
• พลังงานที่ได้จากกลูโคส 1 โมเลกุลผ่านเข้าวิถีไกลโคไลซีส สู่วัฏจักรเครบส์จนถึงการถ่ายทอด
อิเลคตรอนจะได้พลังงานทั้งสิ้น 38 ATP
2.1.2 การหายใจที่ไม่ใช้ออกซิเจน
• การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนหรือการหมัก (fermentation)
• เกิดขึ้นเมื่อปริมาณออกซิเจนไม่เพียงพอ ปฏิกิริยานี้จะผ่านวิถีไกลโคไลซีสเท่านั้น
• ถ้าอยู่ในเซลล์สิ่งมีชีวิตหรือมีเชื้อจุลินทรีย์กลุ่มแลกติก (lactic acid bacteria) ในกระบวนการหมัก
จะทาให้ได้ผลิตภัณฑ์คือกรดแลกติก
• แต่ถ้ามีเชื้อจุลินทรีย์เช่น ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae จะทาให้ได้แอลกอฮอล์
• จะพบว่าการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนจะได้พลังงานเพียงแค่ 2 ATP
• จะทาให้การย่อยสลายกลูโคสเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อนามาใช้เป็นพลังงาน และเกิดกระบวนการ
หมักขึ้น
• ผลผลิตจึงพบสารให้กลิ่นจาพวกแอลกอฮอล์ และเกิดการเสื่อมเสียรวดเร็ว
2.2 อัตราการหายใจกับอายุการเก็บรักษา
• อัตราการหายใจของผักผลไม้ หมายถึง น้าหนักหรือปริมาตรออกซิเจนที่ใช้
• หรือคาร์บอนไดออกไซด์ที่คายออกมาต่อหน่วยน้าหนักของผักผลไม้ต่อเวลา
• หรืออาจเป็นหน่วยของความร้อนที่คายออกมาต่อน้าหนักของผลไม้ต่อเวลา
อัตราการหายใจกับอายุการเก็บรักษา
• ผักผลไม้แต่ละชนิดจะมีอัตราการหายใจแตกต่างกัน
• บร็อคเคอรี่จะมีอัตราการหายใจสูงกว่ามันฝรั่งถึง 30 เท่า เมื่อวัดที่อุณหภูมิเดียวกัน
• ผลผลิตที่มีอัตราการหายใจสูงจะมีลักษณะเป็นเนื้อเยื่ออ่อน เช่น ยอด ตา เมล็ดอ่อน หรือพืชที่ยัง
เจริญไม่เต็มที่ ส่วนพืชที่มีอัตราการหายใจต่าจะเป็นเนื้อเยื่อสะสมอาหาร เช่น ราก ลาต้นใต้ดิน
หัว และผลผลิตที่แก่จัด
ผักและผลไม้จาแนกลักษณะของการหายใจหลังเก็บเกี่ยว
Climacteric Non-climacteric
กล้วย ขนุน มังคุด มะละกอ
มะม่วง ทุเรียน แอปเปิ้ล
น้อยหน่า ฝรั่ง เสาวรส
มะเขือเทศ เป็นต้น
ชมพู่ เงาะ มะนาว ส้ม
ลิ้นจี่ ลาไย สับปะรด กระเจี๊ยบ
มะม่วงหิมพานต์ เชอรี่ มะกอก
แตงกวา พริก เป็นต้น
Climacteric-Nonclimacteric
• ผลไม้ประเภท climacteric มีอัตราการหายใจ และการสร้างเอทธีลีนเพิ่มมากขึ้น
พร้อมๆ กับการสุก
• ในขณะที่พวก non-climacteric ซึ่งโดยทั่วไปมีการหายใจและการผลิตเอทธี
ลีนในอัตราที่ต่า และไม่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่การสุก แต่ทั้งนี้อัตราการหายใจของ
ผลิตผลเกษตรนั้นยังขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
ลักษณะของผลไม้ Climacteric และ Non-climacteric
Climacteric
1. มักจะสุกและมีคุณภาพดีเมื่อ
นามาบ่ม
2. สังเคราะห์เอทธิลีนเป็นจานวน
มากในระหว่างกระบวนการสุก
3. ใช้เอทธิลีนกระตุ้นให้เกิดการ
หายใจแบบ climacteric ในปริมาณ
ต่า
4. มีการเพิ่มอัตราการหายใจเพียง
1 ครั้งเมื่อตอบสนองต่อเอทธิลีน
Non-climacteric
1. สุกอยู่กับต้น
2. สังเคราะห์เอทธิลีนได้น้อย
3. เอทธิลีนกระตุ้นการหายใจ
ให้สูงขึ้นได้โดยอัตราจะผันแปร
ไปตามปริมาณเอทธิลีน
4. การหายใจเพิ่มขึ้นได้มากกว่า
1 ครั้งเมื่อตอบสนองต่อเอทธิลีน
2
4
3
1
การหายใจของผลไม้ แบบ Climacteric สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้น
1. Pre-Climacteric เป็นช่วงที่มีการหายใจในอัตราที่ต่าก่อนที่จะมี
การหายใจเพิ่มขึ้น
2. Climacteric rise เป็นช่วงที่การหายใจเพิ่มอัตราขึ้นอย่างมาก
3. Climacteric Peak เป็นจุดที่มีอัตราการหายใจสูงที่สุด ช่วงนี้
ผลไม้จะมีคุณภาพที่เหมาะสมต่อการบริโภค
4. Post-Climacteric เป็นช่วงหลังจากที่อัตราการหายใจเพิ่มขึ้นสูง
ที่สุดแล้วอัตราการหายใจจะลดลง
การหายใจของพืชบางชนิดเมื่อเกิดclimactericpeak
ตารางที่2อัตราการหายใจของผลิตผลเกษตรบางชนิด
ประเภทของอัตรา
การหายใจ
อัตราการหายใจที่ 5
๐C
(mg.CO2/kg.hr)
ชนิดของผลิตผล
ต่ามาก <5 อินทผาลัม ผลไม้เปลือกแข็งต่างๆ เมล็ดพืชชนิด
ต่างๆ
ต่า 5-10 แอปเปิล ส้ม องุ่น แตงโม สับปะรด แตงฮันนี่ดิว
มะละกอ แครนเบอรี่ หอมหัวใหญ่ กระเทียม
มันเทศ มันฝรั่ง
ปานกลาง 10-20 กล้วย มะม่วง เงาะ ท้อ แตงแคนตาลูป แตงกวา
มะเขือเทศ มะเขือยาว กะหล่าปลี ผักกาดหอม
ห่อ แครอท แรดิช
ที่มา: ดัดแปลงจาก Kader, 1992
ประเภทของอัตรา
การหายใจ
อัตราการหายใจที่ 5๐C
(mg.CO2/kg.hr)
ชนิดของผลิตผล
สูง 20-40 น้อยหน่า กะหล่าดอก ผักบุ้งจีน
คะน้า ผักกาดหอม
สูงมาก 40-60 ถั่วงอก กะหล่าดาว บรอคโคลี่
กระเจี๊ยบ ถั่วแขก ไม้ตัดดอก
สูงมากมาก >60 ทุเรียน ข้าวโพดฝักอ่อน ถั่วฝักยาว
ถั่วลันเตา เห็ด หน่อไม้ฝรั่ง ปวย
เหล็ง
ตารางที่ 2 อัตราการหายใจของผลิตผลเกษตรบางชนิด
ที่มา: ดัดแปลงจาก Kader, 1992
กลุ่มของผลิตผล ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
1. ผลิตผลที่กาลัง
เจริญเติบโต
- มีอัตราการหายใจสูง
- มีการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีมาก
- การสูญเสียน้าเป็นปัจจัยสาคัญในการเสื่อม
คุณภาพ
- บอบบาง เน่าเสียได้ง่าย
- มีการเจริญเติบโตเกิดขึ้นตลอดเวลา ซึ่งอาจทา
ให้เกิดปัญหา
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตามความแตกต่างทางสรีรวิทยา
กลุ่มของผลิตผล ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
2.ผลไม้ที่บริบูรณ์แล้ว การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาหลายอย่างตาม
กระบวนการสุก
เช่น ผลไม้ประเภท climacteric หรือ ไม่ค่อยมีการ
เปลี่ยนแปลง
เช่น ผลไม้ประเภท non-climacteric
- อาจจะบอบบาง ชอกช้าง่าย เช่น สตรอเบอรี่ หรือ
ค่อนข้างทนทาน เช่น ส้มโอ
- อาจเกิดการเน่าเสียได้ง่าย
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตามความแตกต่างทางสรีรวิทยา
ตารางที่3ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตามความแตกต่างทางสรีรวิทยา
กลุ่มของผลิตผล ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
3.ผลิตผลที่เป็นส่วน
สะสมอาหารและเป็น
ส่วนขยายพันธุ์
- มีการหายใจค่อนข้างต่า
- ค่อนข้างทนทาน ไม่เสียง่าย
- การงอกอาจทาให้เสื่อมสภาพได้ง่าย
กลุ่มของผลิตผล ลักษณะหลังการเก็บเกี่ยว
4. เมล็ด -มีการหายใจต่ามากทนทาน เก็บรักษาได้เป็นปี
- ความชื้นในการเก็บรักษาอาจเป็นอุปสรรคใน
การงอก อาจทาให้เสื่อมสภาพได้ง่าย
ตารางที่ 3 ลักษณะของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวแยกตามความแตกต่างทางสรีรวิทยา
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหายใจ
• อุณหภูมิ : อุณหภูมิเพิ่มขึ้นอัตราการหายใจสูงขึ้น
ลดอุณหภูมิลดอัตราการหายใจ
• ความบอบช้า พืชที่ช้ามีอัตราการหายใจสูงขึ้น
พบว่าแครอทที่ช้าจะมีอัตราการหายใจสูงขึ้นถึง 5 เท่า
แต่มีข้อยกเว้นกับผลไม้บางชนิด เช่น แอปเปิล แม้ว่าจะช้า
แต่ก็ไม่มีผลต่ออัตราการหายใจมากนัก
• การปอกเปลือก พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลันเตาที่แกะจากฝักแล้วพบว่ามีอัตราการหายใจสูงขึ้น
แต่ถั่วบางชนิดไม่เป็นเช่นนี้
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการหายใจ
• การงอก เนื้อเยื่อที่มีการงอกจะมีอัตราการหายใจสูงขึ้น
• สภาพบรรยากาศ
การลดปริมาณออกซิเจน
เพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์
สามารถลดอัตราการหายใจได้
2.4 การลดอัตราการหายใจ
• การลดอุณหภูมิ
• การดัดแปลงหรือควบคุมบรรยากาศในการเก็บรักษา
• การหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเอทธิลีน การใช้สารดูดซับเอทธิลีน เช่น ด่างทับทิม
3.2 การผลิตก๊าซเอทิลีน(ethylene production)
• เอทธิลีนเป็นก๊าซอินทรีย์ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของพืช
• ความเข้มข้นต่า มีผลต่อการเสื่อมสลาย (senescence)และการสุก
• อัตราการสังเคราะห์เอทธิลีนจะเพิ่มขึ้นเมื่ออยู่ในช่วงสุก ผลิตผลที่เกิดบาดแผล ช้าและเป็นโรค
3.4 ความผิดปกติทางสรีรวิทยา(physiologicaldisorder)
• Freezing injury เกิดขึ้นเมื่อผลผลิตได้รับอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งของผลิตผลนั้น อาการจะ
แสดงเมื่อผลนั้นกลับมาสู่อุณหภูมิปกติ ลักษณะที่พบคือ ฉ่าน้า สีไม่สด เป็นต้น
3.4 ความผิดปกติทางสรีรวิทยา(physiologicaldisorder)
• Chilling injury หรือ อาการสะท้านหนาว มักเกิดกับพืชเมืองร้อนที่ได้รับอุณหภูมิต่า (แต่สูงกว่า
จุดเยือกแข็ง) โดยทั่วไปพบที่อุณหภูมิต่ากว่า 5-15 องศาเซลเซียส
• อาการที่พบคือ สีที่เปลือกนอกและภายในเปลี่ยนแปลงคือ ฉ่าน้า บ่มไม่สุก รสชาติผิดปกติ
อ่อนแอต่อการเข้าทาลายของเชื้อจุลินทรีย์
รูปที่ 2.8 การเกิด Chilling Injury ในกล้วย
3.4 ความผิดปกติทางสรีรวิทยา(physiologicaldisorder)
• Heat injury การสะสมของความร้อน เช่นได้รับแสงอาทิตย์ที่แรงเกินไป หรืออุณหภูมิสูงมาก จะทาให้
ผลผลิตมีผิวมีสีซีด ผิวเกิดรอยไหม้ หรือลวก สุกไม่สม่าเสมอ อ่อนนิ่ม ผิวแห้ง เป็นต้น
• สับปะรดจะพบอาการฉ่าน้า (water soaked) และใสเป็นแก้ว (glassy) อาจมีน้าเยิ้มออกมา
• กล้วยจะมีลักษณะนิ่ม เป็นสีน้าตาล และน้าเยิ้ม
• มะเขือเทศจะเกิดเป็นรอยที่ใสเป็นแก้วและอ่อนนิ่มมาก

More Related Content

What's hot

เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดApinya Phuadsing
 
สสาร ม.1
สสาร ม.1สสาร ม.1
สสาร ม.1dalarat
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
ขีดจำกัดล่าง
ขีดจำกัดล่างขีดจำกัดล่าง
ขีดจำกัดล่างAon Narinchoti
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
Speaking Lesson Plan
Speaking Lesson PlanSpeaking Lesson Plan
Speaking Lesson Plannam2534
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58Wichai Likitponrak
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
สมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายสมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายพัน พัน
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 

What's hot (20)

เรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัดเรื่องที่1การวัด
เรื่องที่1การวัด
 
สสาร ม.1
สสาร ม.1สสาร ม.1
สสาร ม.1
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
ขีดจำกัดล่าง
ขีดจำกัดล่างขีดจำกัดล่าง
ขีดจำกัดล่าง
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Speaking Lesson Plan
Speaking Lesson PlanSpeaking Lesson Plan
Speaking Lesson Plan
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
สมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายสมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลาย
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 

Viewers also liked

การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมการศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมรอมลี เจะดอเลาะ
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปGawewat Dechaapinun
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6Gawewat Dechaapinun
 

Viewers also liked (17)

3
33
3
 
2
22
2
 
2
22
2
 
6
66
6
 
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัมการศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
การศึกษากระบวนการผลิตและการยอมรับของไอศกรีมอินทผาลัม
 
ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูปบทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
บทที่ 5 การเตรียมผลผลิตก่อนการแปรรูป
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
7
77
7
 
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 6
 
4
44
4
 
4
44
4
 
Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
ˆ 7
ˆ 7ˆ 7
ˆ 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to 2

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2Gawewat Dechaapinun
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจN'apple Naja
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจssuser48f3f3
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Tanchanok Pps
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 

Similar to 2 (20)

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 2
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจppt
ระบบหายใจpptระบบหายใจppt
ระบบหายใจppt
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
Sci access 14th : เฉลยตะลุยโจทย์ ชีวะ ม.6
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 
Energy flow1
Energy flow1Energy flow1
Energy flow1
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3Gawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 
Chapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glassChapter 1.2 properties of glass
Chapter 1.2 properties of glass
 
งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3งานนำเสนอเทววิทยา3
งานนำเสนอเทววิทยา3
 

2