SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
บทที่ 8
การถนอมผักผล
ไม้โดยการใช้
สารเคมีและการ
หมักดอง
ดร.ปรรัตน์ ศุภมิตร
โยธิน
เนื้อหา
1. การใช้สารเคมี
1.1 นำ้าตาล
2. การหมักดอง (Fermentation)
2.1 ประเภทของผักผลไม้ดอง
2.2 จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการ
หมักดอง
2.3 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน
ระหว่างกระบวนการหมัก
2.4 กระบวนการผลิตผักผลไม้ดอง
1.1.1 ผลของนำ้าตาลต่อ
เชื้อจุลินทรีย์
 นำ้าตาลสามารถต้านการเจริญของเชื้อ
จุลินทรีย์เพราะไปลดปริมาณนำ้าอิสระ
(water activity, aw) ในระบบ
จุลินทรีย์หลายชนิดทนต่อปริมาณ
นำ้าตาลสูงได้
 Aspergillus glaucus, Saccharomyces
roaxii
 ยีสต์ในสกุล Torulopsis
และZygosacharomyces
การใช้นำ้าตาลในการถนอมผักผล
ไม้
การแช่อิ่ม
 อาศัยหลักการออสโมซีส เกิดการแลกเปลี่ยน
ระหว่างนำ้าตาลเข้มข้นกับนำ้าในผลไม้
 ทำาให้ผลไม้มีรสหวานขึ้น ปกติความเข้มข้น
ของสารละลายนำ้าตาลจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อ
เนื่อง
 ผลิตภัณฑ์สุดท้ายสูงกว่า 65% ซึ่งความเข้มข้น
ระดับนี้สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์
ได้
 แบ่งเป็น แช่อิ่มแบบเร็วและแบบช้า
1) การแช่อิ่มแบบเร็ว
การแช่อิ่มแบบเร็วคือการเชื่อมให้แห้ง
โดยการเคี่ยวผักหรือผลไม้ในนำ้าเชื่อมที่ใช้ไฟ
อ่อนๆ หรือ ความร้อนประมาณ 100 – 105 องศา
เซลเซียส เคี่ยวจนนำ้าเชื่อมงวด จะใช้เวลา
ประมาณ 3-4 ชั่วโมง
 การใช้อุณหภูมิที่สูงเกินไปจะทำาให้นำ้าเชื่อมมีสี
คลำ้าและมีกลิ่นนำ้าตาลไหม้ และทำาให้เนื้อผลไม้นิ่ม
เละ
ดังนั้นวิธีการนี้ไม่เหมาะกับผลไม้ที่เนื้อนิ่มและเละ
ง่าย การแช่อิ่มแบบเร็วนี้หลังจากเชื่อมผักผลไม้จะ
ไม่ค่อยสวย
2) การแช่อิ่มแบบช้า
เป็นวิธีการแช่อิ่มที่มีการปรับความเข้มข้นของนำ้า
เชื่อมเป็นลำาดับ
เป็นวิธีที่ทำาให้ผักผลไม้ที่แช่อิ่มมีคุณภาพดี
เนื่องจากเกิดการหดตัวน้อย สีสวย และเนื้อสัมผัส
ไม่นิ่มเละ
ทำาได้โดยการเตรียมนำ้าเชื่อมเริ่มต้นที่ปริมาณ
นำ้าตาลร้อยละ 30-35 (ถ้าสูงกว่านี้จะทำาให้ผักและ
ผลไม้เหี่ยวย่น) แช่ผักผลไม้ไว้ 24 ชั่วโมง
จากนั้นเพิ่มความเข้มข้นของนำ้าเชื่อมทุกวัน เป็น
ร้อยละ 45 55 และ 65
2. การเกิดเพกตินเจล
ผลิตภัณฑ์แยม และมาร์มาเลด
ผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีนำ้าตาลประมาณร้อยละ 55-65
หรือสูงกว่านี้
มีค่า aw ในช่วง 0.75-0.82 ซึ่งระดับนี้ยังไม่
สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราหรือยีสต์ได้
อย่างสมบูรณ์
ด้วยเหตุนี้จึงต้องใช้ร่วมกับวิธีพาสเจอร์ไรส์หรือ
การใช้สารกันบูดอื่นร่วมด้วย เช่น กรดซอร์บิก
เพกตินออกเป็น 2 ชนิด
1) เพกตินชนิดที่มีหมู่เมทอกซิลตำ่ำ (low
methoxyl pectin, LM)
 มี DM ในช่วง 25-50%
 วิธีเกิดเจลจะเกิดจำกกำรเชื่อมโยงของหมู่คำร์
บอกซิลที่แตกตัวแล้วของเพกตินกับไอออน
เวเลนซีสองของแคลเซียมหรือแมกนีเซียมทำำ
ปฏิกิริยำกับหมู่คำร์บอกซิลของโมเลกุลเพกติน
และสร้ำงเป็นสะพำนระหว่ำงชั้น
 กำรเกิดเจลไม่ต้องกำรนำ้ำตำลในกำรเกิดเจล
 เพคตินชนิดนี้ใช้ในกำรเติมในผลไม้ก่อนกำร
2) เพกตินชนิดที่มีหมู่เมทอกซิลสูง
(high methoxyl pectin, HM)
 ที่มี DM ในช่วง 50-80%
 กำรเกิดเจลของเพกตินเป็นระบบเพกติน –
นำ้ำตำล-กรด-นำ้ำ
 กำรเกิดร่ำงเหของเพกตินจะทำำให้อุ้มของเหลว
ไว้ ควำมแข็งแรงของเจลจะขึ้นกับควำมเข้มข้น
ของนำ้ำตำลและสภำพควำมเป็นกรด
เจลเพกตินชนิด HM
แยม (jam)
เพกติน15% TSS 65-70
ระหว่ำงกำรให้ควำมร้อนสภำวะที่เป็นกรด นำ้ำตำล
จะเปลี่ยนไปเป็นนำ้ำตำลรีดิวซ์
ถ้ำพีเอชมีค่ำตำ่ำหรือต้มที่อุณหภูมิสูง นำ้ำตำล
ซูโครสจะเปลี่ยนไปเป็นนำ้ำตำลอินเวอร์ตได้มำก
(Blanchfield, 1970)
นำ้ำตำลอินเวอร์ตมีประโยชน์ต่อกำรทำำเจลลี่ แยม
เพรำะช่วยลดกำรตกผลึกของซูโครส แต่หำกมี
นำ้ำตำลอินเวอร์ตมำกเกินไปก็อำจเกิดผลึกของ
นำ้ำตำลอินเวอร์ตคือนำ้ำตำลเดกซ์โทรสได้
มำมำเลด (marmalade)
ข้อกำำหนดตำมกฎหมำยของผลิตภัณฑ์มำมำ
เลด
 คือต้องประกอบด้วยส้มอย่ำงน้อยร้อยละ 20
 ผลไม้ที่ใช้อำจอยู่ในรูปเนื้อที่ตีป่น (pulp) นำ้ำผล
ไม้(purée juice) สำรสกัด
 มำมำเลดส่วนใหญ่จะใสซึ่งอำจมีเนื้อหรือเปลือกของผล
ไม้ในส่วนประกอบหรือไม่มีก็ได้
 โดยทั่วไปเนื้อที่ใส่จะมีขนำดกว้ำง1.5 มิลลิเมตร ยำว
25 มิลลิเมตรและหนำ 1.5 มิลลิเมตร (Broomfield,
2001)
2. กำรหมักดอง (Fermentation)
กำรหมัก (fermentation)
 หมำยถึง กำรถนอมอำหำรโดยอำศัยจุลินทรีย์ที่
มีประโยชน์บำงชนิดเป็นตัวช่วยในกำรย่อย
สลำย หรือเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทำงเคมี
ของวัตถุดิบ อำจเติมเหลือหรือไม่ก็ได้
นอกจำกนี้อำจเติมองค์ประกอบอื่นๆ เช่น
คำร์โบไฮเดรต เพื่อเป็นแหล่งอำหำรให้กับเชื้อ
จุลินทรีย์
กำรดอง (pickling)
 หมำยถึง กำรถนอมอำหำรในนำ้ำเกลือและมี
นำ้ำส้มเล็กน้อย อำจมีกำรเติมเครื่องเทศ
นำ้ำตำล หรือนำ้ำมัน เช่น แตงกวำดอง
กระเทียมดอง ขิงดอง มะม่วงดอง เป็นต้น
การหมักดอง
 หมายถึง กระบวนการที่เกิดขึ้นเนื่องจากเชื้อ
จุลินทรีย์ย่อยสลายสารคาร์โบไฮเดรตหรือสาร
ประกอบอื่นๆที่มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน เช่น
แอลกอฮอล์ คาร์โบไฮเดรต กรดอะซิตริก กรด
แล็กติก ภายใต้สภาวะที่มีอากาศหรือไม่มี
อากาศก็ได้
2.2 ประโยชน์ของการหมัก
ดอง
ทำาให้อาหารมีรสและกลิ่นที่ดีขึ้น
อาหารในกลุ่มชา กาแฟ โกโก้
ทำาให้อาหารมีสี กลิ่น รสที่แตกต่าง
ออกไป เช่น ผักและผลไม้ดอง
ทำาให้เกิดอาหารชนิดใหม่ เช่น
แอลกอฮอล์ นำ้าส้มสายชู
ผลของการหมักดองทำาให้อาหารที่มี
รสชาติขม หรือเปรี้ยวเกินกว่าจะ
บริโภคได้ มีรสชาติที่ดีขึ้น
ประเภทของผักผลไม้ดอง
สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
 ผักที่ดองเกลือความเข้มข้นตำ่า
(Processed pickles)
 การหมักดองโดยไม่มีเชื้อจุลินทรีย์มา
เกี่ยวข้อง (Unfermented pickle)
 การดองในนำ้าส้มสายชู
 การดองในนำ้ามัน
1. ผักที่ดองเกลือความเข้มข้นตำ่า
(Processed pickles)
การดองเกลือจะใช้ที่ความเข้มข้นตำ่ากว่า 12
เปอร์เซ็นต์
โดยส่วนใหญ่จะใช้ที่ 4-8 เปอร์เซ็นต์
ซึ่งความเข้มข้นในระดับนี้สูงพอที่จะยับยั้งการ
เจริญของจุลินทรีย์กลุ่มอื่น และเป็นระดับที่ส่งเสริม
เชื้อจุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลกติก
ควรรักษาอุณหภูมินำ้าเกลือให้อยู่ที่ 21 องศา
เซลเซียสและให้ผักจมนำ้าเกลือตลอดระหว่างระยะ
เวลาการหมักดอง
ผักที่ใช้การดองด้วยวิธีนี้ได้แก่ แตงกวา
แตงกวา กะหลำ่า
ปลี แครอท
แตงกวา กะหลำ่า
ปลี แครอท
หั่นฝอยหรือตาม
ขนาดที่ต้องการ
หั่นฝอยหรือตาม
ขนาดที่ต้องการ
ผสมกับเกลือ เคล้าให้ทั่ว
หมักไว้ 1 ชั่วโมง
ผสมกับเกลือ เคล้าให้ทั่ว
หมักไว้ 1 ชั่วโมง
บีบนำ้าออกจากผักและผสมกับหัวผัก
กาดหั่นฝอย กระเทียม
พริกชี้ฟ้า ขิง ต้นหอม นำ้าตาล เกลือ
เคล้าให้เข้ากัน
บีบนำ้าออกจากผักและผสมกับหัวผัก
กาดหั่นฝอย กระเทียม
พริกชี้ฟ้า ขิง ต้นหอม นำ้าตาล เกลือ
เคล้าให้เข้ากันบรรจุในโถแก้วที่สะอาด มีถุงนำ้ากด
ทับ
หมักไว้ที่อุณหภูมิ 13-14 องศา
เซลเซียส 2 สัปดาห์
บรรจุในโถแก้วที่สะอาด มีถุงนำ้ากด
ทับ
หมักไว้ที่อุณหภูมิ 13-14 องศา
เซลเซียส 2 สัปดาห์
กิมจิกิมจิ
ที่ 8.3 ขั้นตอนการผลิตกิมจิ
2. การหมักดองโดยไม่มีเชื้อจุลินทรีย์มา
เกี่ยวข้อง (Unfermented pickle)
 การหมักดองด้วยวิธีนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
เก็บรักษาผักและผลไม้ในนำ้าเกลือเพื่อยืด
อายุการเก็บรักษา หรือกำาจัดรสเปรี้ยว ขม
ฝาด ที่ไม่เป็นที่ต้องการ เช่น สมอ มะยม
มะม่วงดอง
การเตรียม
นำ้าดอง
การเตรียม
นำ้าดอง
นำ้าสะอาด เกลือ 2%
นำ้าตาลทราย
25%แคลเซียมคลอ
ไรด์ 0.5%และ
โซเดียมเบนโซเอต
0.1%โดยนำ้าหนัก
นำ้าสะอาด เกลือ 2%
นำ้าตาลทราย
25%แคลเซียมคลอ
ไรด์ 0.5%และ
โซเดียมเบนโซเอต
0.1%โดยนำ้าหนัก
ให้ความ
ร้อน
ให้ความ
ร้อน
มะม่วงอ่อน ล้าง
ทำาความสะอาด
มะม่วงอ่อน ล้าง
ทำาความสะอาด
ผ่าประมาณ 6-8
เสี้ยวต่อผล
ผ่าประมาณ 6-8
เสี้ยวต่อผล
นำาผลไม้ใส่
ขวดโหล เติมนำ้า
ดองที่เย็นแล้ว
และทำาให้ผลไม้
จมในนำ้าดอง
ตลอดเวลา ปิด
ฝา
นำาผลไม้ใส่
ขวดโหล เติมนำ้า
ดองที่เย็นแล้ว
และทำาให้ผลไม้
จมในนำ้าดอง
ตลอดเวลา ปิด
ฝา
ดองไว้ 7 วัน ได้
มะม่วงดอง
ดองไว้ 7 วัน ได้
มะม่วงดอง
รูปที่ 8.4 ขั้นตอนการทำามะม่วงดอง
2. การหมักดองโดยไม่มีเชื้อจุลินทรีย์มา
เกี่ยวข้อง (Unfermented pickle)
3.การดองในนำ้าส้มสายชู
วิธีการดองแบบนี้อาจใช้ร่วมกับการดองด้วยเกลือ
มีทั้งที่ใช้และไม่ใช้เชื้อจุลินทรีย์
การหมักจะเป็นการแช่ผักในนำ้าส้มสายชูที่ปรุงแต่ง
รสชาติด้วยเครื่องเทศ นำ้าตาลและเกลือ นับ
เป็นการดองที่ง่ายที่สุด
สามารถทำาให้เสร็จได้ภายใน 1-2 วัน
สิ่งที่สำาคัญของการดองด้วยวิธีนี้คือ ต้องเลือก
นำ้าส้มสายชูที่มีคุณภาพดี ใส ไม่มีตะกอน และมี
ความเข้มข้นของกรดอะซิติก 5 เปอร์เซ็นต์
ผักผลไม้ที่ดองด้วยนำ้าส้มสายชู เช่น แตงกวา ขิง
การเตรียม
นำ้าดอง
การเตรียม
นำ้าดอง
นำ้าสะอาด 66% เกลือ
1.97% นำ้าตาลทราย
22% นำ้าส้มสายชู
10%และโซเดียมเบน
โซเอต 0.03%โดยนำ้า
หนัก
นำ้าสะอาด 66% เกลือ
1.97% นำ้าตาลทราย
22% นำ้าส้มสายชู
10%และโซเดียมเบน
โซเอต 0.03%โดยนำ้า
หนัก
ให้ความ
ร้อน
ให้ความ
ร้อน
ขิง ล้าง
ทำาความ
สะอาด
ขิง ล้าง
ทำาความ
สะอาด
ฝานเป็นชิ้นบางๆ
ขนาด 1มิลลิเมตร
ฝานเป็นชิ้นบางๆ
ขนาด 1มิลลิเมตร
นำาผลไม้ใส่ขวดโหล
เติมนำ้าดองที่เย็นแล้ว
อัตราส่วน 1:1 และ
ทำาให้ผลไม้จมในนำ้า
ดองตลอดเวลา ปิด
ฝา
นำาผลไม้ใส่ขวดโหล
เติมนำ้าดองที่เย็นแล้ว
อัตราส่วน 1:1 และ
ทำาให้ผลไม้จมในนำ้า
ดองตลอดเวลา ปิด
ฝา
ดองไว้ 7 วัน ที่
อุณหภูมิตู้เย็น
ดองไว้ 7 วัน ที่
อุณหภูมิตู้เย็น
3. การดองในนำ้าส้มสายชู
4. การดองในนำ้ามัน
เป็นที่นิยมในบางประเทศ เช่น อินเดีย และอังกฤษ
การดองต้องนำาผักไปคลุกกับเกลือและเครื่องเทศ
บรรจุลงขวดและนำาไปตากแดดประมาณ 4-8 วัน
จากนั้นเติมนำ้ามันลงไปจนผสมกันดี ตัวอย่างเช่น
กะหลำ่าดอก มะกอก
จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการหมัก
ดอง
ในกระบวนการหมักดองต้องมีจุลินทรีย์ที่
เกี่ยวข้องที่ทำาหน้าที่เปลี่ยนนำ้าตาลในผัก
และผลไม้ให้เป็นกรดแลกติก
แบคทีเรียเหล่านี้อยู่ในวงศ์
Lactobacteriaceae ซึ่งในวงศ์นี้มี 5 จีนัส
 Streptococcus
 Pediococcus
 Diplococcus
 Leuconostoc
 Lactobacillus
การเก็บรักษา
ผักและผลไม้หลังจากสิ้นสุดการหมัก
จะต้องเก็บรักษาสภาพที่ปลอดเชื้อรา
เชื้อยีสต์ อาจทำาได้ด้วยวิธีดังต่อไปนี้
 เติมนำ้ามันพืชลงไปเคลือบที่ผิวหน้าของนำ้าเกลือ
ให้หนาประมาณ ¼ นิ้ว เพื่อจำากัดอากาศไม่ให้
เข้าไปในผลิตภัณฑ์ ทำาให้เชื้อยีสต์ และเชื้อรา
ไม่สามารถเจริญได้
 เติมเทียนไขหรือขี้ผึ้งลงไปเคลือบที่ผิวหน้าของ
นำ้าเกลือ
 เติมนำ้าเกลือลงไปจนเต็มถัง แล้วปิดผนึกฝา

More Related Content

What's hot

ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดsombat nirund
 
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...sombat nirund
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าsombat nirund
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารDuangsuwun Lasadang
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักPaper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักKanitha Panya
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดKanitha Panya
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2Kritsada Changmai
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้งBaKa BaKa Saiaku
 
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMDr.Woravith Chansuvarn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ nareudol niramarn
 

What's hot (19)

ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
ผลของการใช้วัสดุเพาะและวัสดุอาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ร่วมกับกลุ่มจุลินทรีย์และนํ้...
 
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้าการศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
การศึกษาประสิทธิภาพของน้ำหมักชีวภาพจากเศษดอกเห็ดที่มีผลต่อผลผลิตของเห็ดนางฟ้า
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหารใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
ใบความรู้เรื่อง การเลือกซื้ออาหาร
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมักPaper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
Paper การแยกแบคทีเรียแลคติกที่สามารถผลิตแบคทีริโอซินจากผัก ผลไม้ และธัญพืชหมัก
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EMการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
การผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ EM
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 

Similar to เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10AKii Fam
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Jitty Charming
 
Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterialPpm Ssw
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณsekzazo
 
คู่มือนักขาย
คู่มือนักขายคู่มือนักขาย
คู่มือนักขายVirak Taratower
 

Similar to เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8 (19)

ˆ 8
ˆ 8ˆ 8
ˆ 8
 
6
66
6
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
7
77
7
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54
 
Gram positive bacterial
Gram   positive bacterialGram   positive bacterial
Gram positive bacterial
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กล้วยไป
กล้วยไปกล้วยไป
กล้วยไป
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
13654ไป
13654ไป13654ไป
13654ไป
 
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
ยาสีฟันสมุนไพรสูตรโบราณ
 
คู่มือนักขาย
คู่มือนักขายคู่มือนักขาย
คู่มือนักขาย
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

เธšเธ—เธ—เธตเนˆ 8