SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
1
2
ชุดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที 1 เซต
ชุดที 1
เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต
คําชีแจงสําหรับนักเรียน
ชุดการเรียนคณิตศาสตร์ ชุดที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต ประกอบด้วย 3
ส่วนคือ
1. ใบความรู้ที 1 จํานวน 1 ชุด เป็นส่วนทีสรุปเนือหาสาระ เรือง เซตและสัญลักษณ์
เกียวกับเซต โดยให้นักเรียนศึกษาด้วยกันภายในกลุ่ม ครูผู้สอนเป็นทีปรึกษา เมือนักเรียนมีปัญหา
2. ใบกิจกรรมที 1 จํานวน 1 ชุด เป็นส่วนกําหนดกิจกรรมให้นักเรียนได้ปฏิบัติ
ภายในกลุ่ม เพือนําไปสู่จุดประสงค์ทีตังไว้(เมือทําเสร็จแล้วนําส่งครูผู้สอนเป็นผลงานกลุ่ม)
3. แบบทดสอบ ชุดที 1 จํานวน 1 ชุด เป็นส่วนทีนักเรียนได้ประเมินความรู้
ความสามารถของตนเองหลังจากใช้ชุดการเรียนแต่ละชุด
จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้
1. ใช้เซตได้ถูกต้อง
2. บอกสมาชิกของเซตทีกําหนดให้ได้
3. ใช้สัญลักษณ์ ,  ได้ถูกต้อง
ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
นักเรียนสามารถใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ ในการสือสาร การสือความหมาย
และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนมีความมุ่งมันในการทํางาน
3
เวลาทีใช้
ใช้เวลา 1 ชัวโมง
สาระการเรียนรู้
1. เซต
2. การเขียนสัญลักษณ์แทนการเป็น “สมาชิกของ”
3. จํานวนสมาชิกของเซต
สือการเรียนรู้
ชุดการเรียนคณิตศาสตร์ ชุดที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต
ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
1. ใบความรู้ที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต
2. ใบกิจกรรมที 1
3. แบบทดสอบ ชุดที 1
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มๆละ 4- คน
2. ตัวแทนกลุ่มรับชุดการเรียนแจกให้สมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที 1 โดยปรึกษากับเพือนๆภายในกลุ่มของ
ตนเองหากไม่เข้าใจให้ถามครูผู้สอน (ใช้เวลาประมาณ10 นาที )
4. หลังจากศึกษาใบความรู้ที 1 แล้วให้นักเรียนภายในกลุ่มช่วยกันสรุปความคิดรวบ
ยอดและความรู้เกียวกับเซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต ต่อจากนันให้นักเรียนแต่ละ
กลุ่มปฏิบัติตามใบกิจกรรมที 1 (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที)
5. หลังจากทําใบกิจกรรมที 1 เสร็จแล้วให้นักเรียนส่งตัวแทนนําเสนอหน้าชันเรียน
ผลงานทีได้จากการปฏิบัติใบกิจกรรมที 1 และนําผลงานแต่ละกลุ่มไปติดป้ายนิเทศ
หน้าชันเรียน(ใช้เวลาประมาณ 20 นาที)
6. ให้นักเรียนทําแบบทดสอบ ชุดที 1 เป็นรายบุคคล (ใช้เวลาประมาณ 10 นาที)
4
การประเมินผลการเรียน
1. ด้านความรู้ ประเมินจากแบบทดสอบ ชุดที 1
2. ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประเมินจากการปฏิบัติใบ
กิจกรรมที 1
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประเมินจากการทํางานกลุ่ม
5
ใบความรู้ที 1
เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต
คําชีแจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้โดยการปรึกษากันภายในกลุ่ม หากมีปัญหาปรึกษาครูผู้สอน
1. เซต (Set)
ในทางคณิตศาสตร์เราจะไม่ให้ความหมายของคําว่า “เซต” ว่าหมายถึงอะไร แต่เราจะนํา
คําว่า “เซต” ไปใช้ในการบ่งบอกถึงกลุ่มของสิงต่างๆ ซึงถ้าจะเปรียบเทียบกับคําในภาษาไทยแล้วก็
เปรียบเสมือนกับคําทีเป็นลักษณะนาม ตัวอย่างเช่นช้าง 1 โขลง สุนัข 1 ฝูง ชุดรับแขก 1 ชุด
จากตัวอย่างดังกล่าวในทางคณิตศาสตร์เราจะไม่ใช้คําว่า โขลง ฝูง ชุด แต่จะใช้คําว่า“เซต” แทน
ตัวอย่างเช่น
ช้าง 1 เซต หรือ เซตของช้าง
สุนัข 1 เซต หรือ เซตของสุนัข
ชุดรับแขก 1 เซต หรือ เซตของชุดรับแขก
6
ข้อควรรู้ครับ 1. เราจะใช้คําว่า เซต ก็ต่อเมือ เราทราบแน่นอน
ว่าสิงใดอยู่ในกลุ่มนันหรือไม่อยู่ในกลุ่มนัน
ตัวอย่างเช่น
เซตของตัวอักษรทีเป็นสระในภาษาอังกฤษ
หมายถึง กลุ่มของตัวอักษร a ตัวอักษรe
ตัวอักษร i ตัวอักษร o และตัวอักษร u
2. เราจะไม่ใช้คําว่า เซต ถ้าเราไม่สามารถบ่งบอก
ได้อย่างชัดเจนว่า สมาชิกในกลุ่มนันมีลักษณะ
อย่างไร ตัวอย่างเช่น กลุ่มของคนฉลาด
เราไม่ใช้เซตของคนฉลาด เพราะเรายังไม่
สามารถบอกได้ว่าสมาชิกในเซตมีใครบ้าง
ดังนันการศึกษาเกียวกับเซต ความสําคัญจะอยู่ทีสิงทีอยู่ในเซต ซึงเราเรียกสิงทีอยู่ในเซตว่า
สมาชิก (element)
7
ทบทวนความรู้เกียวกับจํานวนชนิดต่างๆ
เซตทีใช้ในทางคณิตศาสตร์จะต้องเป็นเซตทีมีความชัดเจน (well defined)
กล่าวคือ เมือกําหนดสิงใดมาให้จะสามารถบอกได้ตรงกันว่ามีสมาชิกอะไรบ้าง
ตัวอย่างเช่น
1. เซตของจํานวนเต็ม  I คือ {…,-3,-2,-1,0,1,2,3,…}
2. เซตของจํานวนเต็มบวก  I
คือ {1,2,3,…}
3. เซตของจํานวนเต็มลบ  I
คือ {-1,-2,-3,…}
4. เซตของจํานวนนับ  N คือ {1,2,3,…}
5. เซตของจํานวนเฉพาะบวก  P
คือ {2,3,5,…}
6. เซตของจํานวนเต็มคู่  2K เมือ K = 1,2,3,… คือ {…,-6,-4,0,2,4,6,…}
7. เซตของจํานวนเต็มคี  2K 1 เมือ K = 1,2,3,… คือ {…,-5,-3,-1,1,3,5,…}
8. เซตของคําตอบของสมการ 2
x = 1 คือ {1, -1}
9. เซตของจํานวนนับทีน้อยกว่า 5 คือ {1,2,3,4}
8
2. การเขียนสัญลักษณ์แทนการเป็นสมาชิกของ
เราใช้สัญลักษณ์  แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” หรือ “อยู่ใน”
ตัวอย่างเช่น
2 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 2 I

1 เป็นสมาชิกของจํานวนนับ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 1 N
-3 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -3 I

1
2
เป็นสมาชิกของจํานวนตรรกยะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
1
Q
2

2 เป็นสมาชิกของจํานวนอตรรกยะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
1
Q
2

เราใช้สัญลักษณ์  แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” หรือ “ไม่อยู่ใน”
ตัวอย่างเช่น
-5 ไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -5 I

0 ไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 0 I

1 ไม่เป็นสมาชิกของจํานวนจํานวนเฉพาะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 0 P
9
3. จํานวนสมาชิกของเซต
ในเซตบางเซตทีมีจํานวนสมาชิกไม่มากนัก เราสามารถบอกได้ตรงกันว่า จํานวนสมาชิก
ในเซตมีกีจํานวนและจํานวนสมาชิกทีเราจะนับว่ามีกีจํานวนต้องเป็นสมาชิกทีแตกต่างกัน
ตัวอย่างเช่น
เซตของจํานวนนับตังแต่1 ถึง 4 คือ {1,2,3,4}
จะพบว่า มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
เซตของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 10 คือ {1,2,3,4,5,6,7,8,9,10}
จะพบว่า มีจํานวนสมาชิก 10 ตัว
เพือความสะดวกในการกล่าวถึงจํานวนสมาชิกของเซต จึงกําหนดให้ใช้สัญลักษณ์
n(A) แทน จํานวนสมาชิกของเซต A
n(B) แทน จํานวนสมาชิกของเซต B เป็นต้น
เซต A มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว ใช้สัญลักษณ์ n(A) = 4
เซต B มีจํานวนสมาชิก 10 ตัว ใช้สัญลักษณ์ n(B) = 10
สรุป
1. เซต เป็นคําทีใช้แทนกลุ่มของสิงของต่างๆ (หรือคําอืนๆทีมีความหมายใน
ลักษณะเดียวกัน) ซึงสามารถระบุได้ว่าสิงใดอยู่หรือไม่อยู่ในเซตนัน และเรียกสิงทีอยู่ในเซตว่า
สมาชิก (element)
2. สัญลักษณ์  แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” หรือ “อยู่ใน” และเราใช้
สัญลักษณ์  แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” หรือ “ไม่อยู่ใน”
3. สัญลักษณ์ n(A) แทนคําว่า “จํานวนสมาชิกของเซต A”
10
ใบกิจกรรมที 1
คําชีแจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทํากิจกรรมแต่ละข้อตามทีกําหนดให้ต่อไปนี( 4 คะแนน)
1. พิจารณาข้อความต่อไปนีว่าข้อใดเป็นเซตข้อใดไม่เป็นเซต
ข้อความ เป็นเซต ไม่เป็นเซต
ตัวอย่าง กลุ่มของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก 
ตัวอย่าง กลุ่มของคนดีในจังหวัดสุรินทร์ 
1.1 กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 8
1.2 กลุ่มของวันในหนึงสัปดาห์ทีมีสระอุ
1.3 กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย
1.4 กลุ่มของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10
2. จงเขียนสมาชิกของเซตและบอกจํานวนสมาชิกทีกําหนดให้ต่อไปนี
เซต
สมาชิก
ประกอบด้วย
จํานวนสมาชิก
ตัวอย่าง เซตของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก ก, ข, ฃ, ค และ ฅ 5
ตัวอย่าง เซตของคนดีในจังหวัดสุรินทร์ - บอกไม่ได้
2.1 เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4
2.2 เซตของคําตอบของสมการ 2
x = 1
2.3 เซตของสัตว์ทีน่ารัก
2.4 เซตของจํานวนนับตังแต่1 ถึง 4
11
3. จงเขียนคําตอบให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง -  R อ่านว่าอย่างไร
อ่านว่า ลบหกเป็นสมาชิกของจํานวนจริง
3.1
1
R
2
 อ่านว่าอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..
3.2 -1  I
อ่านว่าอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..
3.3 “ลบสามไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
………………………………………………………………………………………………………..
3.4 “เซตเอมีจํานวนสมาชิกเท่ากับสิบ” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
………………………………………………………………………………………………………..
12
แบบทดสอบ ชุดที 1
คําชีแจง ให้นักเรียนทําแบบทดสอบเป็นรายบุคคลเพือประเมินความรู้ของตนเองด้วยความซือสัตย์
ให้นักเรียนวงกลม รอบตัวเลือกทีถูกต้อง(4 คะแนน)
1. ข้อความใดเป็นเซต
1. กลุ่มของจํานวนเต็มลบอยู่ระหว่าง -10 กับ -5
2. กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย
3. กลุ่มของคนทีมีความซือสัตย์
4. กลุ่มของสัตว์ทีน่ารัก
5. กลุ่มของคนสวย
2. ข้อความใดไม่เป็นเซต
1. กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 10
2. กลุ่มของชือจังหวัดในประเทศไทย
3. กลุ่มของจํานวนนับทีน้อยกว่า 5
4. กลุ่มของนกหนึงฝูง
5. กลุ่มของคนฉลาด
3. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. เซตของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
2. เซตของจํานวนเต็มคู่บวกน้อยกว่า 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
3. เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
4. เซตของพยัญชนะในคําว่า“มังกร” มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
5. เซตของตัวประกอบของหก มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
4. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. -6 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีอยู่ระหว่าง -10 กับ -5
2. วันพุธ เป็นสมาชิกของวันใน 1 สัปดาห์
3. -1 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2
x = 1
4. -1 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีมากกว่า -2
5. 2 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2
x = 1
13
เฉลยใบกิจกรรมที 1
คําชีแจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทํากิจกรรมแต่ละข้อตามทีกําหนดให้ต่อไปนี
1. พิจารณาข้อความต่อไปนีว่าข้อใดเป็นเซตข้อใดไม่เป็นเซต
ข้อความ เป็นเซต ไม่เป็นเซต
ตัวอย่าง กลุ่มของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก 
ตัวอย่าง กลุ่มของคนดีในจังหวัดสุรินทร์ 
1.1 กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 8 
1.2 กลุ่มของวันในหนึงสัปดาห์ทีมีสระอุ 
1.3 กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย 
1.4 กลุ่มของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10 
2. จงเขียนสมาชิกของเซตทีกําหนดให้ต่อไปนี
เซต
สมาชิก
ประกอบด้วย
จํานวนสมาชิก
ตัวอย่าง เซตของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก ก, ข, ฃ, ค และ ฅ 5
ตัวอย่าง เซตของคนดีในจังหวัดสุรินทร์ - บอกไม่ได้
2.1 เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 1,2,3 3
2.2 เซตของคําตอบของสมการ 2
x = 1 1,-1 2
2.3 เซตของสัตว์ทีน่ารัก - บอกไม่ได้
2.4 เซตของจํานวนนับตังแต่1 ถึง 4 1,2,3,4 4
14
3. จงเขียนคําตอบให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง -  R อ่านว่าอย่างไร
อ่านว่า ลบหกเป็นสมาชิกของจํานวนจริง
3.1
1
R
2
 อ่านว่าอย่างไร
อ่านว่า เศษหนึงส่วนสองเป็นสมาชิกของจํานวนจริง
3.2 -1  I
อ่านว่าอย่างไร
อ่านว่า ลบหนึงเป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบ
3.3 “ลบสามไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
-3  I
3.4 “เซตเอมีจํานวนสมาชิกเท่ากับสิบ” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
 n A = 10
15
เฉลยแบบทดสอบ ชุดที 1
คําชีแจง ให้นักเรียนทําแบบทดสอบเป็นรายบุคคลเพือประเมินความรู้ของตนเองด้วยความซือสัตย์
ให้นักเรียนวงกลม รอบตัวเลือกทีถูกต้อง
1. ข้อความใดเป็นเซต
1. กลุ่มของจํานวนเต็มลบอยู่ระหว่าง -10 กับ -5
2. กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย
3. กลุ่มของคนทีมีความซือสัตย์
4. กลุ่มของสัตว์ทีน่ารัก
5. กลุ่มของคนสวย
2. ข้อความใดไม่เป็นเซต
1. กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 10
2. กลุ่มของชือจังหวัดในประเทศไทย
3. กลุ่มของจํานวนนับทีน้อยกว่า 5
4. กลุ่มของนกหนึงฝูง
5. กลุ่มของคนฉลาด
3. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. เซตของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
2. เซตของจํานวนเต็มคู่บวกน้อยกว่า 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
3. เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
4. เซตของพยัญชนะในคําว่า“มังกร” มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
5. เซตของตัวประกอบของหก มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว
4. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. -6 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีอยู่ระหว่าง -10 กับ -5
2. วันพุธ เป็นสมาชิกของวันใน 1 สัปดาห์
3. -1 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2
x = 1
4. -1 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีมากกว่า -2
5. 2 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2
x = 1
16
บรรณานุกรม
กนกวลี อุษณกรกุล และรณชัย มาเจริญทรัพย์. (2547). แบบฝึกหัดและประเมินผลการเรียนรู้.
คณิตศาสตร์พืนฐานช่วงชันที ม. เล่ม . กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์.
กมล เอกไทยเจริญ. (มปป). คู่มือเตรียมสอบคณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม . กรุงเทพฯ :
ไฮเอ็ดพับลิชชิง.
ยุพิน พิพิธกุล และสิริพร ทิพย์คง. (2549). ชุดกิจกรรมการเรียนทีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
คณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปีที 4.
กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
________. (2553). พจนานุกรมคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั งที5 กรุงเทพฯ : ปาเจรา
ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์คณิตศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ:
นานมีบุ๊คส์พับลิเคชันส์,632 หน้า
ศุภกิจ เฉลิมวุสตม์กุล. (2553). หนังสือเรียนคณิตศาสตร์พืนฐาน ม.4 ภาคเรียนที 1. กรุงเทพฯ :
แม็ค
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. (2553). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พืนฐาน
คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
________. (2553). หนังสือเรียนวิชาพืนฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1. ชันมัธยมศึกษาปีที 4-6. ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :
คุรุสภาลาดพร้าว.
สมัย เหล่าวานิชย์.(2554). Hi-ED Mathematics คณิตศาสตร์ ม.4-6 เล่ม 1 รายวิชาพืนฐานและ
เพิมเติม. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิสซิง
อเนก หิรัญ และพรรณี ศิลปวัฒนานันท์. (2546). แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์พืนฐาน .
กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

More Related Content

What's hot

แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มJirathorn Buenglee
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)Jirathorn Buenglee
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางJirathorn Buenglee
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okJirathorn Buenglee
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 
วารสาร8
วารสาร8วารสาร8
วารสาร8aispretty
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 

What's hot (20)

แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)
 
ชมพูชุด3
ชมพูชุด3ชมพูชุด3
ชมพูชุด3
 
แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม แผน 6 นวัตกรรม
แผน 6 นวัตกรรม
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทาง
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
 
Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6ค่ากลางของข้อมูลม.6
ค่ากลางของข้อมูลม.6
 
วารสาร8
วารสาร8วารสาร8
วารสาร8
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4คู่มือการใช้นวัตกรรม  แผน4
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน4
 
ชมพู9
ชมพู9ชมพู9
ชมพู9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 

Viewers also liked

7th grade World History Visual Summary
7th grade World History Visual Summary7th grade World History Visual Summary
7th grade World History Visual SummaryRicardo Higuera
 
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลkrupatcharin
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 

Viewers also liked (6)

7th grade World History Visual Summary
7th grade World History Visual Summary7th grade World History Visual Summary
7th grade World History Visual Summary
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 

Similar to Set

เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตteachersaman
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)masakonatty
 
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551nampeungnsc
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
122121
122121122121
122121kay
 
Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 

Similar to Set (20)

ppset
ppsetppset
ppset
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)
 
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
122121
122121122121
122121
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 

Set

  • 1. 1
  • 2. 2 ชุดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที 1 เซต ชุดที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต คําชีแจงสําหรับนักเรียน ชุดการเรียนคณิตศาสตร์ ชุดที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. ใบความรู้ที 1 จํานวน 1 ชุด เป็นส่วนทีสรุปเนือหาสาระ เรือง เซตและสัญลักษณ์ เกียวกับเซต โดยให้นักเรียนศึกษาด้วยกันภายในกลุ่ม ครูผู้สอนเป็นทีปรึกษา เมือนักเรียนมีปัญหา 2. ใบกิจกรรมที 1 จํานวน 1 ชุด เป็นส่วนกําหนดกิจกรรมให้นักเรียนได้ปฏิบัติ ภายในกลุ่ม เพือนําไปสู่จุดประสงค์ทีตังไว้(เมือทําเสร็จแล้วนําส่งครูผู้สอนเป็นผลงานกลุ่ม) 3. แบบทดสอบ ชุดที 1 จํานวน 1 ชุด เป็นส่วนทีนักเรียนได้ประเมินความรู้ ความสามารถของตนเองหลังจากใช้ชุดการเรียนแต่ละชุด จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. ใช้เซตได้ถูกต้อง 2. บอกสมาชิกของเซตทีกําหนดให้ได้ 3. ใช้สัญลักษณ์ ,  ได้ถูกต้อง ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ นักเรียนสามารถใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ ในการสือสาร การสือความหมาย และการนําเสนอ ได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนมีความมุ่งมันในการทํางาน
  • 3. 3 เวลาทีใช้ ใช้เวลา 1 ชัวโมง สาระการเรียนรู้ 1. เซต 2. การเขียนสัญลักษณ์แทนการเป็น “สมาชิกของ” 3. จํานวนสมาชิกของเซต สือการเรียนรู้ ชุดการเรียนคณิตศาสตร์ ชุดที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. ใบความรู้ที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต 2. ใบกิจกรรมที 1 3. แบบทดสอบ ชุดที 1 กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่มๆละ 4- คน 2. ตัวแทนกลุ่มรับชุดการเรียนแจกให้สมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที 1 โดยปรึกษากับเพือนๆภายในกลุ่มของ ตนเองหากไม่เข้าใจให้ถามครูผู้สอน (ใช้เวลาประมาณ10 นาที ) 4. หลังจากศึกษาใบความรู้ที 1 แล้วให้นักเรียนภายในกลุ่มช่วยกันสรุปความคิดรวบ ยอดและความรู้เกียวกับเซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต ต่อจากนันให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มปฏิบัติตามใบกิจกรรมที 1 (ใช้เวลาประมาณ 20 นาที) 5. หลังจากทําใบกิจกรรมที 1 เสร็จแล้วให้นักเรียนส่งตัวแทนนําเสนอหน้าชันเรียน ผลงานทีได้จากการปฏิบัติใบกิจกรรมที 1 และนําผลงานแต่ละกลุ่มไปติดป้ายนิเทศ หน้าชันเรียน(ใช้เวลาประมาณ 20 นาที) 6. ให้นักเรียนทําแบบทดสอบ ชุดที 1 เป็นรายบุคคล (ใช้เวลาประมาณ 10 นาที)
  • 4. 4 การประเมินผลการเรียน 1. ด้านความรู้ ประเมินจากแบบทดสอบ ชุดที 1 2. ด้านทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประเมินจากการปฏิบัติใบ กิจกรรมที 1 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประเมินจากการทํางานกลุ่ม
  • 5. 5 ใบความรู้ที 1 เรือง เซตและสัญลักษณ์เกียวกับเซต คําชีแจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้โดยการปรึกษากันภายในกลุ่ม หากมีปัญหาปรึกษาครูผู้สอน 1. เซต (Set) ในทางคณิตศาสตร์เราจะไม่ให้ความหมายของคําว่า “เซต” ว่าหมายถึงอะไร แต่เราจะนํา คําว่า “เซต” ไปใช้ในการบ่งบอกถึงกลุ่มของสิงต่างๆ ซึงถ้าจะเปรียบเทียบกับคําในภาษาไทยแล้วก็ เปรียบเสมือนกับคําทีเป็นลักษณะนาม ตัวอย่างเช่นช้าง 1 โขลง สุนัข 1 ฝูง ชุดรับแขก 1 ชุด จากตัวอย่างดังกล่าวในทางคณิตศาสตร์เราจะไม่ใช้คําว่า โขลง ฝูง ชุด แต่จะใช้คําว่า“เซต” แทน ตัวอย่างเช่น ช้าง 1 เซต หรือ เซตของช้าง สุนัข 1 เซต หรือ เซตของสุนัข ชุดรับแขก 1 เซต หรือ เซตของชุดรับแขก
  • 6. 6 ข้อควรรู้ครับ 1. เราจะใช้คําว่า เซต ก็ต่อเมือ เราทราบแน่นอน ว่าสิงใดอยู่ในกลุ่มนันหรือไม่อยู่ในกลุ่มนัน ตัวอย่างเช่น เซตของตัวอักษรทีเป็นสระในภาษาอังกฤษ หมายถึง กลุ่มของตัวอักษร a ตัวอักษรe ตัวอักษร i ตัวอักษร o และตัวอักษร u 2. เราจะไม่ใช้คําว่า เซต ถ้าเราไม่สามารถบ่งบอก ได้อย่างชัดเจนว่า สมาชิกในกลุ่มนันมีลักษณะ อย่างไร ตัวอย่างเช่น กลุ่มของคนฉลาด เราไม่ใช้เซตของคนฉลาด เพราะเรายังไม่ สามารถบอกได้ว่าสมาชิกในเซตมีใครบ้าง ดังนันการศึกษาเกียวกับเซต ความสําคัญจะอยู่ทีสิงทีอยู่ในเซต ซึงเราเรียกสิงทีอยู่ในเซตว่า สมาชิก (element)
  • 7. 7 ทบทวนความรู้เกียวกับจํานวนชนิดต่างๆ เซตทีใช้ในทางคณิตศาสตร์จะต้องเป็นเซตทีมีความชัดเจน (well defined) กล่าวคือ เมือกําหนดสิงใดมาให้จะสามารถบอกได้ตรงกันว่ามีสมาชิกอะไรบ้าง ตัวอย่างเช่น 1. เซตของจํานวนเต็ม  I คือ {…,-3,-2,-1,0,1,2,3,…} 2. เซตของจํานวนเต็มบวก  I คือ {1,2,3,…} 3. เซตของจํานวนเต็มลบ  I คือ {-1,-2,-3,…} 4. เซตของจํานวนนับ  N คือ {1,2,3,…} 5. เซตของจํานวนเฉพาะบวก  P คือ {2,3,5,…} 6. เซตของจํานวนเต็มคู่  2K เมือ K = 1,2,3,… คือ {…,-6,-4,0,2,4,6,…} 7. เซตของจํานวนเต็มคี  2K 1 เมือ K = 1,2,3,… คือ {…,-5,-3,-1,1,3,5,…} 8. เซตของคําตอบของสมการ 2 x = 1 คือ {1, -1} 9. เซตของจํานวนนับทีน้อยกว่า 5 คือ {1,2,3,4}
  • 8. 8 2. การเขียนสัญลักษณ์แทนการเป็นสมาชิกของ เราใช้สัญลักษณ์  แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” หรือ “อยู่ใน” ตัวอย่างเช่น 2 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 2 I  1 เป็นสมาชิกของจํานวนนับ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 1 N -3 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -3 I  1 2 เป็นสมาชิกของจํานวนตรรกยะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 1 Q 2  2 เป็นสมาชิกของจํานวนอตรรกยะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 1 Q 2  เราใช้สัญลักษณ์  แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” หรือ “ไม่อยู่ใน” ตัวอย่างเช่น -5 ไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ -5 I  0 ไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 0 I  1 ไม่เป็นสมาชิกของจํานวนจํานวนเฉพาะ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 0 P
  • 9. 9 3. จํานวนสมาชิกของเซต ในเซตบางเซตทีมีจํานวนสมาชิกไม่มากนัก เราสามารถบอกได้ตรงกันว่า จํานวนสมาชิก ในเซตมีกีจํานวนและจํานวนสมาชิกทีเราจะนับว่ามีกีจํานวนต้องเป็นสมาชิกทีแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น เซตของจํานวนนับตังแต่1 ถึง 4 คือ {1,2,3,4} จะพบว่า มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว เซตของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 10 คือ {1,2,3,4,5,6,7,8,9,10} จะพบว่า มีจํานวนสมาชิก 10 ตัว เพือความสะดวกในการกล่าวถึงจํานวนสมาชิกของเซต จึงกําหนดให้ใช้สัญลักษณ์ n(A) แทน จํานวนสมาชิกของเซต A n(B) แทน จํานวนสมาชิกของเซต B เป็นต้น เซต A มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว ใช้สัญลักษณ์ n(A) = 4 เซต B มีจํานวนสมาชิก 10 ตัว ใช้สัญลักษณ์ n(B) = 10 สรุป 1. เซต เป็นคําทีใช้แทนกลุ่มของสิงของต่างๆ (หรือคําอืนๆทีมีความหมายใน ลักษณะเดียวกัน) ซึงสามารถระบุได้ว่าสิงใดอยู่หรือไม่อยู่ในเซตนัน และเรียกสิงทีอยู่ในเซตว่า สมาชิก (element) 2. สัญลักษณ์  แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” หรือ “อยู่ใน” และเราใช้ สัญลักษณ์  แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” หรือ “ไม่อยู่ใน” 3. สัญลักษณ์ n(A) แทนคําว่า “จํานวนสมาชิกของเซต A”
  • 10. 10 ใบกิจกรรมที 1 คําชีแจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทํากิจกรรมแต่ละข้อตามทีกําหนดให้ต่อไปนี( 4 คะแนน) 1. พิจารณาข้อความต่อไปนีว่าข้อใดเป็นเซตข้อใดไม่เป็นเซต ข้อความ เป็นเซต ไม่เป็นเซต ตัวอย่าง กลุ่มของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก  ตัวอย่าง กลุ่มของคนดีในจังหวัดสุรินทร์  1.1 กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 8 1.2 กลุ่มของวันในหนึงสัปดาห์ทีมีสระอุ 1.3 กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย 1.4 กลุ่มของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10 2. จงเขียนสมาชิกของเซตและบอกจํานวนสมาชิกทีกําหนดให้ต่อไปนี เซต สมาชิก ประกอบด้วย จํานวนสมาชิก ตัวอย่าง เซตของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก ก, ข, ฃ, ค และ ฅ 5 ตัวอย่าง เซตของคนดีในจังหวัดสุรินทร์ - บอกไม่ได้ 2.1 เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 2.2 เซตของคําตอบของสมการ 2 x = 1 2.3 เซตของสัตว์ทีน่ารัก 2.4 เซตของจํานวนนับตังแต่1 ถึง 4
  • 11. 11 3. จงเขียนคําตอบให้ถูกต้อง ตัวอย่าง -  R อ่านว่าอย่างไร อ่านว่า ลบหกเป็นสมาชิกของจํานวนจริง 3.1 1 R 2  อ่านว่าอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………….. 3.2 -1  I อ่านว่าอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………….. 3.3 “ลบสามไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ ……………………………………………………………………………………………………….. 3.4 “เซตเอมีจํานวนสมาชิกเท่ากับสิบ” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ ………………………………………………………………………………………………………..
  • 12. 12 แบบทดสอบ ชุดที 1 คําชีแจง ให้นักเรียนทําแบบทดสอบเป็นรายบุคคลเพือประเมินความรู้ของตนเองด้วยความซือสัตย์ ให้นักเรียนวงกลม รอบตัวเลือกทีถูกต้อง(4 คะแนน) 1. ข้อความใดเป็นเซต 1. กลุ่มของจํานวนเต็มลบอยู่ระหว่าง -10 กับ -5 2. กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย 3. กลุ่มของคนทีมีความซือสัตย์ 4. กลุ่มของสัตว์ทีน่ารัก 5. กลุ่มของคนสวย 2. ข้อความใดไม่เป็นเซต 1. กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 10 2. กลุ่มของชือจังหวัดในประเทศไทย 3. กลุ่มของจํานวนนับทีน้อยกว่า 5 4. กลุ่มของนกหนึงฝูง 5. กลุ่มของคนฉลาด 3. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. เซตของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 2. เซตของจํานวนเต็มคู่บวกน้อยกว่า 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 3. เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 4. เซตของพยัญชนะในคําว่า“มังกร” มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 5. เซตของตัวประกอบของหก มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 4. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. -6 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีอยู่ระหว่าง -10 กับ -5 2. วันพุธ เป็นสมาชิกของวันใน 1 สัปดาห์ 3. -1 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2 x = 1 4. -1 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีมากกว่า -2 5. 2 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2 x = 1
  • 13. 13 เฉลยใบกิจกรรมที 1 คําชีแจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทํากิจกรรมแต่ละข้อตามทีกําหนดให้ต่อไปนี 1. พิจารณาข้อความต่อไปนีว่าข้อใดเป็นเซตข้อใดไม่เป็นเซต ข้อความ เป็นเซต ไม่เป็นเซต ตัวอย่าง กลุ่มของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก  ตัวอย่าง กลุ่มของคนดีในจังหวัดสุรินทร์  1.1 กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 8  1.2 กลุ่มของวันในหนึงสัปดาห์ทีมีสระอุ  1.3 กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย  1.4 กลุ่มของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10  2. จงเขียนสมาชิกของเซตทีกําหนดให้ต่อไปนี เซต สมาชิก ประกอบด้วย จํานวนสมาชิก ตัวอย่าง เซตของพยัญชนะในภาษาไทยห้าตัวแรก ก, ข, ฃ, ค และ ฅ 5 ตัวอย่าง เซตของคนดีในจังหวัดสุรินทร์ - บอกไม่ได้ 2.1 เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 1,2,3 3 2.2 เซตของคําตอบของสมการ 2 x = 1 1,-1 2 2.3 เซตของสัตว์ทีน่ารัก - บอกไม่ได้ 2.4 เซตของจํานวนนับตังแต่1 ถึง 4 1,2,3,4 4
  • 14. 14 3. จงเขียนคําตอบให้ถูกต้อง ตัวอย่าง -  R อ่านว่าอย่างไร อ่านว่า ลบหกเป็นสมาชิกของจํานวนจริง 3.1 1 R 2  อ่านว่าอย่างไร อ่านว่า เศษหนึงส่วนสองเป็นสมาชิกของจํานวนจริง 3.2 -1  I อ่านว่าอย่างไร อ่านว่า ลบหนึงเป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบ 3.3 “ลบสามไม่เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มบวก” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ -3  I 3.4 “เซตเอมีจํานวนสมาชิกเท่ากับสิบ” จงเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์  n A = 10
  • 15. 15 เฉลยแบบทดสอบ ชุดที 1 คําชีแจง ให้นักเรียนทําแบบทดสอบเป็นรายบุคคลเพือประเมินความรู้ของตนเองด้วยความซือสัตย์ ให้นักเรียนวงกลม รอบตัวเลือกทีถูกต้อง 1. ข้อความใดเป็นเซต 1. กลุ่มของจํานวนเต็มลบอยู่ระหว่าง -10 กับ -5 2. กลุ่มของคนเก่งในประเทศไทย 3. กลุ่มของคนทีมีความซือสัตย์ 4. กลุ่มของสัตว์ทีน่ารัก 5. กลุ่มของคนสวย 2. ข้อความใดไม่เป็นเซต 1. กลุ่มของจํานวนเต็มบวกทีน้อยกว่า 10 2. กลุ่มของชือจังหวัดในประเทศไทย 3. กลุ่มของจํานวนนับทีน้อยกว่า 5 4. กลุ่มของนกหนึงฝูง 5. กลุ่มของคนฉลาด 3. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. เซตของจํานวนเต็มอยู่ระหว่าง 5 กับ 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 2. เซตของจํานวนเต็มคู่บวกน้อยกว่า 10 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 3. เซตของจํานวนเต็มบวกซึงน้อยกว่า4 มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 4. เซตของพยัญชนะในคําว่า“มังกร” มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 5. เซตของตัวประกอบของหก มีจํานวนสมาชิก 4 ตัว 4. ข้อใดไม่ถูกต้อง 1. -6 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีอยู่ระหว่าง -10 กับ -5 2. วันพุธ เป็นสมาชิกของวันใน 1 สัปดาห์ 3. -1 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2 x = 1 4. -1 เป็นสมาชิกของจํานวนเต็มลบทีมากกว่า -2 5. 2 เป็นสมาชิกของคําตอบของสมการ 2 x = 1
  • 16. 16 บรรณานุกรม กนกวลี อุษณกรกุล และรณชัย มาเจริญทรัพย์. (2547). แบบฝึกหัดและประเมินผลการเรียนรู้. คณิตศาสตร์พืนฐานช่วงชันที ม. เล่ม . กรุงเทพฯ : เดอะบุคส์. กมล เอกไทยเจริญ. (มปป). คู่มือเตรียมสอบคณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม . กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิง. ยุพิน พิพิธกุล และสิริพร ทิพย์คง. (2549). ชุดกิจกรรมการเรียนทีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ คณิตศาสตร์ ม.4 เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปีที 4. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. ________. (2553). พจนานุกรมคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั งที5 กรุงเทพฯ : ปาเจรา ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพท์คณิตศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชันส์,632 หน้า ศุภกิจ เฉลิมวุสตม์กุล. (2553). หนังสือเรียนคณิตศาสตร์พืนฐาน ม.4 ภาคเรียนที 1. กรุงเทพฯ : แม็ค สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. (2553). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พืนฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. ________. (2553). หนังสือเรียนวิชาพืนฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1. ชันมัธยมศึกษาปีที 4-6. ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. สมัย เหล่าวานิชย์.(2554). Hi-ED Mathematics คณิตศาสตร์ ม.4-6 เล่ม 1 รายวิชาพืนฐานและ เพิมเติม. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิสซิง อเนก หิรัญ และพรรณี ศิลปวัฒนานันท์. (2546). แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์พืนฐาน . กรุงเทพฯ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.