SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
หน่วยที่ 1
เรื่อง พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
ความหมายของเซต
เซต (Set) คือลักษณะนามที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ที่กาลังสนใจอยู่ เช่น
กลุ่มของคน สัตว์ กลุ่มของสิ่งของ กลุ่มของวัน เป็นต้น และจะเรียกสิ่งต่างๆ ที่อยู่ใน
กลุ่มว่า สมาชิกของเซต สาหรับเซตที่ใช้กาหนดขอบเขตของสิ่งที่กาลังสนใจ ซึ่งจะรวม
ทุกสิ่งทุกอย่างเอาไว้ จะเรียกว่า เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)
การเขียนเซตจะใช้ตัวอักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนชื่อเซ๖ เช่น A,
B, C, เป็นต้น และ ใช้อักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลข เขียนสมาชิกของเซ๖
เช่น a, b, c, เมื่อกล่าวถึงเซต จะต้องกล่าวถึงสมาชิกในเซตซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้
ถ้ามีก็ต้องทราบว่ามีอะไรบ้าง ดังนั้นการเขียนเซตจึงจาแนกได้ 2 แบบ ตามวิธีการ
เขียนสมาชิก
1. การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก
วิธีการเขียนแบบนี้จะเขียนสมาชิกของเซตทั้งหมดไว้ในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา และ
แยกสมาชิก
แต่ละตัวด้วยเครื่องหมายจุลภาค “ , ” เช่น
ถ้าจะเขียนเซต A ที่เป็นเซตของวันในสัปดาห์จะเขียนได้เป็น
A = { จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์
สาหรับกรณีที่สมาชิกของเซตมีจานวนมากที่ไม่สามารถเขียนแจกแจง
จานวนสมาชิกได้ทั้งหมด
จะนิยมเขียนเฉพาะจานวนแรก ๆ ตามด้วยเครื่องหมายจุดสามจุดจากนั้นเขียนตัว
สุดท้าย เช่น
ถ้า B เป็นเซตของจานวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง 100 จะเขียนได้เป็น
2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
วิธีเขียนแบบนี้จะเขียนในเครื่องหมายวงเล็กปีกกาเช่นกัน แต่จะใช้ตัวแปร x, y ,z
แทนสมาชิก
หลังจกนั้นใช้เส้นคั่นและต่อจากเส้นคั่นจะเป็นส่วนอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขที่ใช้บอก
คุณสมบัติของสมาชิก
ในเซตนั้น ตัวอย่างเช่น
A เป็นเซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ เขียนได้เป็น
A = { x l x เป็นวันในหนึ่งสัปดาห์ }
จะมีค่าเท่ากับ A = { จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์.เสาร์
,อาทิตย์ }
สมาชิกของเซต
ในการบอกว่าข้อมูลใดเป็นสมาชิกของเซต จะมีการใช้สัญลักษณ์ “ m ”
แทนคาว่า “เป็นสมาชิกของ” และใช้สัญลักษณ์ “ M” แทนคาว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ”
เช่น
B= { 1, 2, 3, 4 } จะได้ว่า
1 เป็นสมาชิกของ A เขียนได้เป็น 1 m A
3 เป็นสมาชิกของ A เขียนได้เป็น 3 m A
5 ไม่เป็นสมาชิกของ A เขียนได้เป็น 5 M A
A = {a, e , i, o, u} สามารถเขียนได้ว่า
a m A, e m A. i m A, o m A , u m A , m MA
ชนิดของเซต
การแบ่งประเภทของเซต ถ้าหากแบ่งตามจานวนสมาชิกที่มีอยู่ในเซตจะแบ่ง
ได้ดังนี้
เซตว่าง (Empty Set หรือ Null Set) คือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ
Ø
ตัวอย่างเช่น
A = {x l x เป็นเดือนที่มี 32 วัน}
เนื่องจากไม่มีเดือนที่มี 32 วัน เราสามารถเรียกเซต A ว่าเป็นเซตว่าง หรือ A = Ø
เซตจากัด (Finite Set) คือเซตที่สามารถบอกได้ว่ามีสมาชิกเป็นจานวนเท่าใด
ตัวอย่างเช่น
เซตของเลขจานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 50
เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์
เซตอนันต์ (Infinite Set) คือเซตที่ไม่ใช่เซตจากัด หรือไม่สามารถบอกจานวน
สมาชิกได้
เช่น เซตของเลขจานวนเต็ม เป็นต้น
การเท่ากันของเซต
เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเท่ากันและเหมือนกันทุก
ตัวแบบตัวต่อตัว
แต่จะไม่คานึงถึงลาดับก่อนหลังของสมาชิกทั้งสองเซต การแสดงการเท่ากันของเซต
จะใช้เครื่องหมายเท่ากับ
“ = ” และใช้เครื่องหมายไม่เท่ากับ “ ≠ ” แสดงความไม่เท่ากันของเซต
ตัวอย่างเช่น A = {x l x เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 5}
B = { 1 , 2 , 3 , 4}
สามารถเขียนได้เป็น A = B
เนื่องจากเซต A และ เซต B มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
ตัวอย่าง C = { A, E, I, O, U}
D = { E. A. O, I, U}
สามารถเขียนได้เป็น C = D
เนื่องจากเซต C และ D มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว ถึงแม้ว่าจะมีลาดับไม่
เหมือนกัน
ตัวอย่าง A = { 2, 4, 6, 8,}
B = {2 {4, 6}, {8} };
สามารถเขียนได้เป็น A ≠ B
เนื่องจากสมาชิกของเซต A และเซต B ไม่เหมือนกันทุกตัว เพราะว่าสมาชิก
ของเซต A คือ 2, 4, 6 และ 8 แต่สมาชิกของเซต B คือ 2, {4, 6 ฃ} และ {8}
สับเซต
ถ้าหากเซต A และเซต B เป็นเซตใด ๆ แล้ว เซต A จะเป็นสับเซต (Sub Set)
ของเซต B ก็ต่อเมื่อสมาชิกของ A ทุกตัวเป็นสมาชิกของ B โดยใช้สัญลักษณ์ C แสดง
สับเซต โดยถ้าเซต A เป็นสับเซตของเซต B จะเขียนได้เป็น A C B และถ้าหากสมาชิก
ตัวใดของเซต A ไม่เป็นสมาชิกของ เซต B หมายความว่าเซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต
B โดยใช้สัญลักษณ์ © แทนการไม่เป็นสับเซตและเขียนได้เป็น A ©B
ถ้าหากเขียนสับเซตแบบวิธีบอกเงื่อนไขจะเขียนได้ดังนี้
A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A ต้องอยู่ใน B ใช้
สัญลักษณ์
A C B = {x l x E A > x E B}
{A x [x E A> x E B}
A ไม่เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกบางตัวของ A แต่ไม่อยู่ใน B ใช้สัญลักษณ์ ©
A © B = {x l x E A ^ X M B}
= Ex[xE A ^ x M B]
Ax หมายความว่าสมาชิกของ x ทุกตัว
Ex หมายความว่าสมาชิกของ x บางตัว
ตัวอย่าง A = {a. b}
B = {a, c, b, f}
สับเซตแท้
ถ้าหากมีเซต A และเซต B เป็นเซตใด ๆ เซต A จะเป็นสับเซตแท้ของเซต B
ก็ต่อเมื่อเซต A เป็นสับเซตของเซต B โดยที่เซต A ต้องไม่เท่ากับเซต B
ตัวอย่าง
A = {a, b, c, d} , B = {b. c} และ C = {d, c, b, a} จะได้ว่า
A C C และ A = C ดังนั้น เซต A ไม่เป็นสับเซตแท้ของเซต C
BC A และ B≠ A ดังนั้น เซต B เป็นสับเซตแท้ของเซต A
BC C และ B≠ C ดังนั้น เซต B เป็นสับเซตแท้ของเซต C
วิธีการหาสับเซตของเซตใด ๆ ถ้าหากเซต A เป็นเซตจากัดมีจานวนสมาชิกอยู่ทั้งหมด
k ตัว จานวนสับเซตของเซต A จะเป็นดังนี้
จานวนสับเซตของ A มี = 2k สับเซต
จานวนสับเซตแท้ของ Aมี = 2k – 1 สับเซต
สัญลักษณ์ เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย Am B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A M B
การกระทาของเซต (Operation of Set)
คือการนาเซตหลาย ๆ เซตมากระทากันเพื่อให้เกิดเซตใหม่ขึ้นมา ซึ่งมีอยู่ 3
วิธีคือ
1. อินเตอร์เชคชัน
2. ยูเนียน
3. ผลต่างและคอมพลีเมนต์
อินเตอร์เซคชัน (Intersection)
ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตจากัดใด ๆ อินเตอร์เชคชันของเซต A กับเซต B
หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทั้งของเซต A และเซต B สามารถเขียน
สัญลักษณ์แทนอินเตอร์เชคชันระหว่างเซต A และเซต B ได้เป็น A U B
ตัวอย่างที่ 1.1 A = { 1 ,2 , 3} , B = { 2 ,3 ,4 }
จงหาอินเตอร์เซคชันของเซต A และเซต B
วิธีทา A ∩ B = { 2 , 3 }
สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ – ออยเลอร์ ได้ดังนี้
4
A B U
A ∩ B = { 2 , 3 }
1 2 3
ยูเนียน (Union)
ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตจากัดใด ๆ ผลของการยูเนียนของเซต A และเซต B
หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทั้งของเซต A และเซต B สามารถเขียน
สัญลักษณ์แทนผลการยูเนียนได้เป็น A U B
A U B = { xl xE A หรือ xE B}
ตัวอย่างที่ 1.2 A = { 1 ,2 ,3 } , B = { 2 , 3 , 4}
สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ – ออยเลอร์ ได้ดังนี้
A U B = { 1 , 2 , 3 ,4 }
A B U
1 2 3 4
ผลต่างและคอมพลีเม้นต์ (Difference and Complement)
ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตจากัดใด ๆ ผลต่างของเซต A และเซต B คือ
เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นของ A แต่ไม่เป็นสมาชิกของ B เขียนเป็นสัญลักษณ์
ได้เป็น A – B
A – B = { x l x EA แต่ x ∉B}
ตัวอย่างที่ A = { 1 , 2 , 3 } , B = { 2 , 3 , 4}
สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ – ออยเลอร์ ได้ดังนี้
A – B = { 1 } และ B– A = { 4 }
A B U
1 2 3 4

More Related Content

What's hot

เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทChokchai Taveecharoenpun
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์Nuchita Kromkhan
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนkanjana2536
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนFern Monwalee
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงKruGift Girlz
 
ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1
ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1
ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1kroojaja
 

What's hot (20)

เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
Set
SetSet
Set
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1
ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1
ความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน1
 
คู่อันดับ
คู่อันดับคู่อันดับ
คู่อันดับ
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 

Viewers also liked (8)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 

Similar to หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต

01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตNuchita Kromkhan
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตteachersaman
 
เรื่้องเซต
เรื่้องเซตเรื่้องเซต
เรื่้องเซตkroojaja
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationsetwongsrida
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนNuchy Suchanuch
 
การเขียนแผนภาพแทนเซต
การเขียนแผนภาพแทนเซตการเขียนแผนภาพแทนเซต
การเขียนแผนภาพแทนเซตkrumath555
 

Similar to หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต (20)

01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
Set sheet
Set sheetSet sheet
Set sheet
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
Math kit ebook
Math kit ebookMath kit ebook
Math kit ebook
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
เรื่้องเซต
เรื่้องเซตเรื่้องเซต
เรื่้องเซต
 
Operationset
OperationsetOperationset
Operationset
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
 
การเขียนแผนภาพแทนเซต
การเขียนแผนภาพแทนเซตการเขียนแผนภาพแทนเซต
การเขียนแผนภาพแทนเซต
 

More from จูน นะค่ะ

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์จูน นะค่ะ
 

More from จูน นะค่ะ (14)

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือกบทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
บทที่ 9 การทำงานแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับหน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
หน่วยที่ 8 การทำงานแบบลำดับ
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำหน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
หน่วยที่ 10 การทำงานแบบมีทำซ้ำ
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงานหน่วยที่ 6 ผังงาน
หน่วยที่ 6 ผังงาน
 
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
หน่วยที่ 2 ตรรกศาสตร์
 

หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต

  • 2. ความหมายของเซต เซต (Set) คือลักษณะนามที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ที่กาลังสนใจอยู่ เช่น กลุ่มของคน สัตว์ กลุ่มของสิ่งของ กลุ่มของวัน เป็นต้น และจะเรียกสิ่งต่างๆ ที่อยู่ใน กลุ่มว่า สมาชิกของเซต สาหรับเซตที่ใช้กาหนดขอบเขตของสิ่งที่กาลังสนใจ ซึ่งจะรวม ทุกสิ่งทุกอย่างเอาไว้ จะเรียกว่า เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) การเขียนเซตจะใช้ตัวอักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่แทนชื่อเซ๖ เช่น A, B, C, เป็นต้น และ ใช้อักษรในภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลข เขียนสมาชิกของเซ๖ เช่น a, b, c, เมื่อกล่าวถึงเซต จะต้องกล่าวถึงสมาชิกในเซตซึ่งอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีก็ต้องทราบว่ามีอะไรบ้าง ดังนั้นการเขียนเซตจึงจาแนกได้ 2 แบบ ตามวิธีการ เขียนสมาชิก
  • 3. 1. การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก วิธีการเขียนแบบนี้จะเขียนสมาชิกของเซตทั้งหมดไว้ในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา และ แยกสมาชิก แต่ละตัวด้วยเครื่องหมายจุลภาค “ , ” เช่น ถ้าจะเขียนเซต A ที่เป็นเซตของวันในสัปดาห์จะเขียนได้เป็น A = { จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์ สาหรับกรณีที่สมาชิกของเซตมีจานวนมากที่ไม่สามารถเขียนแจกแจง จานวนสมาชิกได้ทั้งหมด จะนิยมเขียนเฉพาะจานวนแรก ๆ ตามด้วยเครื่องหมายจุดสามจุดจากนั้นเขียนตัว สุดท้าย เช่น ถ้า B เป็นเซตของจานวนเต็มตั้งแต่ 1 ถึง 100 จะเขียนได้เป็น
  • 4. 2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก วิธีเขียนแบบนี้จะเขียนในเครื่องหมายวงเล็กปีกกาเช่นกัน แต่จะใช้ตัวแปร x, y ,z แทนสมาชิก หลังจกนั้นใช้เส้นคั่นและต่อจากเส้นคั่นจะเป็นส่วนอธิบายเกี่ยวกับเงื่อนไขที่ใช้บอก คุณสมบัติของสมาชิก ในเซตนั้น ตัวอย่างเช่น A เป็นเซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ เขียนได้เป็น A = { x l x เป็นวันในหนึ่งสัปดาห์ } จะมีค่าเท่ากับ A = { จันทร์,อังคาร,พุธ,พฤหัสบดี,ศุกร์.เสาร์ ,อาทิตย์ }
  • 5. สมาชิกของเซต ในการบอกว่าข้อมูลใดเป็นสมาชิกของเซต จะมีการใช้สัญลักษณ์ “ m ” แทนคาว่า “เป็นสมาชิกของ” และใช้สัญลักษณ์ “ M” แทนคาว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” เช่น B= { 1, 2, 3, 4 } จะได้ว่า 1 เป็นสมาชิกของ A เขียนได้เป็น 1 m A 3 เป็นสมาชิกของ A เขียนได้เป็น 3 m A 5 ไม่เป็นสมาชิกของ A เขียนได้เป็น 5 M A A = {a, e , i, o, u} สามารถเขียนได้ว่า a m A, e m A. i m A, o m A , u m A , m MA
  • 6. ชนิดของเซต การแบ่งประเภทของเซต ถ้าหากแบ่งตามจานวนสมาชิกที่มีอยู่ในเซตจะแบ่ง ได้ดังนี้ เซตว่าง (Empty Set หรือ Null Set) คือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย ใช้สัญลักษณ์ { } หรือ Ø ตัวอย่างเช่น A = {x l x เป็นเดือนที่มี 32 วัน} เนื่องจากไม่มีเดือนที่มี 32 วัน เราสามารถเรียกเซต A ว่าเป็นเซตว่าง หรือ A = Ø
  • 7. เซตจากัด (Finite Set) คือเซตที่สามารถบอกได้ว่ามีสมาชิกเป็นจานวนเท่าใด ตัวอย่างเช่น เซตของเลขจานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 50 เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ เซตอนันต์ (Infinite Set) คือเซตที่ไม่ใช่เซตจากัด หรือไม่สามารถบอกจานวน สมาชิกได้ เช่น เซตของเลขจานวนเต็ม เป็นต้น
  • 8. การเท่ากันของเซต เซตสองเซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเท่ากันและเหมือนกันทุก ตัวแบบตัวต่อตัว แต่จะไม่คานึงถึงลาดับก่อนหลังของสมาชิกทั้งสองเซต การแสดงการเท่ากันของเซต จะใช้เครื่องหมายเท่ากับ “ = ” และใช้เครื่องหมายไม่เท่ากับ “ ≠ ” แสดงความไม่เท่ากันของเซต ตัวอย่างเช่น A = {x l x เป็นจานวนเต็มบวกที่น้อยกว่า 5} B = { 1 , 2 , 3 , 4} สามารถเขียนได้เป็น A = B เนื่องจากเซต A และ เซต B มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
  • 9. ตัวอย่าง C = { A, E, I, O, U} D = { E. A. O, I, U} สามารถเขียนได้เป็น C = D เนื่องจากเซต C และ D มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว ถึงแม้ว่าจะมีลาดับไม่ เหมือนกัน ตัวอย่าง A = { 2, 4, 6, 8,} B = {2 {4, 6}, {8} }; สามารถเขียนได้เป็น A ≠ B เนื่องจากสมาชิกของเซต A และเซต B ไม่เหมือนกันทุกตัว เพราะว่าสมาชิก ของเซต A คือ 2, 4, 6 และ 8 แต่สมาชิกของเซต B คือ 2, {4, 6 ฃ} และ {8}
  • 10. สับเซต ถ้าหากเซต A และเซต B เป็นเซตใด ๆ แล้ว เซต A จะเป็นสับเซต (Sub Set) ของเซต B ก็ต่อเมื่อสมาชิกของ A ทุกตัวเป็นสมาชิกของ B โดยใช้สัญลักษณ์ C แสดง สับเซต โดยถ้าเซต A เป็นสับเซตของเซต B จะเขียนได้เป็น A C B และถ้าหากสมาชิก ตัวใดของเซต A ไม่เป็นสมาชิกของ เซต B หมายความว่าเซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B โดยใช้สัญลักษณ์ © แทนการไม่เป็นสับเซตและเขียนได้เป็น A ©B ถ้าหากเขียนสับเซตแบบวิธีบอกเงื่อนไขจะเขียนได้ดังนี้ A เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A ต้องอยู่ใน B ใช้ สัญลักษณ์ A C B = {x l x E A > x E B} {A x [x E A> x E B}
  • 11. A ไม่เป็นสับเซตของ B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกบางตัวของ A แต่ไม่อยู่ใน B ใช้สัญลักษณ์ © A © B = {x l x E A ^ X M B} = Ex[xE A ^ x M B] Ax หมายความว่าสมาชิกของ x ทุกตัว Ex หมายความว่าสมาชิกของ x บางตัว ตัวอย่าง A = {a. b} B = {a, c, b, f}
  • 12. สับเซตแท้ ถ้าหากมีเซต A และเซต B เป็นเซตใด ๆ เซต A จะเป็นสับเซตแท้ของเซต B ก็ต่อเมื่อเซต A เป็นสับเซตของเซต B โดยที่เซต A ต้องไม่เท่ากับเซต B ตัวอย่าง A = {a, b, c, d} , B = {b. c} และ C = {d, c, b, a} จะได้ว่า A C C และ A = C ดังนั้น เซต A ไม่เป็นสับเซตแท้ของเซต C BC A และ B≠ A ดังนั้น เซต B เป็นสับเซตแท้ของเซต A BC C และ B≠ C ดังนั้น เซต B เป็นสับเซตแท้ของเซต C
  • 13. วิธีการหาสับเซตของเซตใด ๆ ถ้าหากเซต A เป็นเซตจากัดมีจานวนสมาชิกอยู่ทั้งหมด k ตัว จานวนสับเซตของเซต A จะเป็นดังนี้ จานวนสับเซตของ A มี = 2k สับเซต จานวนสับเซตแท้ของ Aมี = 2k – 1 สับเซต สัญลักษณ์ เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย Am B เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A M B
  • 14. การกระทาของเซต (Operation of Set) คือการนาเซตหลาย ๆ เซตมากระทากันเพื่อให้เกิดเซตใหม่ขึ้นมา ซึ่งมีอยู่ 3 วิธีคือ 1. อินเตอร์เชคชัน 2. ยูเนียน 3. ผลต่างและคอมพลีเมนต์ อินเตอร์เซคชัน (Intersection) ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตจากัดใด ๆ อินเตอร์เชคชันของเซต A กับเซต B หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทั้งของเซต A และเซต B สามารถเขียน สัญลักษณ์แทนอินเตอร์เชคชันระหว่างเซต A และเซต B ได้เป็น A U B
  • 15. ตัวอย่างที่ 1.1 A = { 1 ,2 , 3} , B = { 2 ,3 ,4 } จงหาอินเตอร์เซคชันของเซต A และเซต B วิธีทา A ∩ B = { 2 , 3 } สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ – ออยเลอร์ ได้ดังนี้ 4 A B U A ∩ B = { 2 , 3 } 1 2 3
  • 16. ยูเนียน (Union) ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตจากัดใด ๆ ผลของการยูเนียนของเซต A และเซต B หมายถึงเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นทั้งของเซต A และเซต B สามารถเขียน สัญลักษณ์แทนผลการยูเนียนได้เป็น A U B A U B = { xl xE A หรือ xE B} ตัวอย่างที่ 1.2 A = { 1 ,2 ,3 } , B = { 2 , 3 , 4} สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ – ออยเลอร์ ได้ดังนี้ A U B = { 1 , 2 , 3 ,4 } A B U 1 2 3 4
  • 17. ผลต่างและคอมพลีเม้นต์ (Difference and Complement) ถ้าเซต A และเซต B เป็นเซตจากัดใด ๆ ผลต่างของเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นของ A แต่ไม่เป็นสมาชิกของ B เขียนเป็นสัญลักษณ์ ได้เป็น A – B A – B = { x l x EA แต่ x ∉B} ตัวอย่างที่ A = { 1 , 2 , 3 } , B = { 2 , 3 , 4} สามารถเขียนแผนภาพของ เวนน์ – ออยเลอร์ ได้ดังนี้ A – B = { 1 } และ B– A = { 4 } A B U 1 2 3 4