SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
ภูมิรัฐศาสตร์[Geopolitics]
เพื่อศึกษาสถานภาพทาง
ภูมิรัฐศาสตร์ในฐานะที่เป็น
กาลังอานาจของชาติ
ภูมิรัฐศาสตร์
คือ การเมืองที่เกี่ยวข้องกับสภาพทาง
ภูมิศาสตร์เช่นในการตั้งเมือง การยุทธศาสตร์
ความเป็นอยู่ วิถีชีวิตล้วนแต่เป็นการเมืองที่
จะต้องเกี่ยวเนื่องกับสภาพภูมิศาสตร์
ความเป็นมา
• เป็นวิชาซึ่งศึกษาพรรณนาและวิเคราะห์เกี่ยวกับรัฐ เกิดขึ้นพร้อมกับวิชาประวัติศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ ปรัชญา และคณิตศาสตร์ อดีตไม่แพร่หลายมากนัก นักปราชญ์
มิได้รวบรวมเนื้อหาของวิชาให้เป็นหลักฐานอย่างจริงจัง
• เฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกสนใจเพียงเรื่องภูมิศาสตร์
• เฮคาแทอูส บิดาวิชาภูมิศาสตร์ชาวกรีก สนใจเรื่องทั่ว ๆ ไปของพื้นพิภพ
• ปลาโต นักปราชญ์ชาวกรีก ชี้ถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับบริเวณต่าง ๆ
ภายในประเทศ
• อาริสโตเติล นักการเมืองชาวกรีก กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับสิ่งแวดล้อม
ทางธรรมชาติของประเทศ
• สตราโบ นักภูมิศาสตร์ชาวโรมัน ก็วิจารณ์ถึงเรื่องราวต่าง ๆ อันเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ทางธรรมชาติก็มีอิทธิพลต่ออานาจหรือกาลังความสามารถของอาณาจักรโรมัน
นักภูมิศาสตร์การเมือง
วิชานี้ได้เจริญขึ้นมาในศตวรรษที่ 18 โดยเฉพาะศตวรรษ ที่ 20 เกิดนักภูมิรัฐศาสตร์
หลายคน
• อัลเฟรด เธเยอร์ มาฮาน (Alfred Thayer Mahan)
• เซอร์ฮัลฟอร์ด แมคคินเดอร์ (Sir Halfore Mackinder)
• ฟรีดดริช รัทเซล (Friedrich Ratzel)
• รูดอล์ฟ คเจลลัน (Rudolf Kjellen)
• คาร์ล เฮาสโฮเซอร์ (Karl Haushofer)
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
National Powers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์
National Security
Strategy
Personal,
Social,
National,
Regional,
International
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
Value and
National Style
National Interest
Vital, Important, Peripheral
Model National Security Assessment : EKMODEL
Defense of homeland
Economic well-being
Favorable world order
Promotion of value
Global
State
Non State Actors
Leaders
กาลังอานาจแห่งชาติด้านภูมิรัฐศาสตร์
 เป็นการผสมผสานความหมายในทางภูมิศาสตร์ กับทางรัฐศาสตร์
 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นปัจจัยส่งเสริมหรือลดอิทธิพลหรือ
คุณค่าของรัฐที่ตั้งอยู่บนปัจจัยของภูมิศาสตร์
 อดีตใช้กาลังอานาจทางทหารมากกว่ากาลังอานาจด้านอื่น ๆ
 นักการทหารพิจารณาว่าปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ คือ ภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ เป็นปัจจัยสาคัญต่อการปฏิบัติการรบในสนามรบมาก
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
ภูมิรัฐศาสตร์
 นักรัฐศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ รูดอลฟ์ คเจลเลน (Rudolf Kjellen) ได้ตั้งชื่อ
ภูมิรัฐศาสตร์ขึ้น (GEOPOLITICS) โดยย่อมาจากคาว่า GEO GRAPHICAL
POLITICS ใน ค.ศ.1861-1947 มีนักภูมิรัฐศาสตร์ที่สาคัญชื่อ เซอร์ อัลเฟรด
แมคคินเตอร์
 ได้เสนอทฤษฎียุทธศาสตร์หัวใจโลก (HEART LAND THEORY) ซึ่งอ้างว่า
"ผู้ใดยึดครองยุโรปตะวันออกได้จะสามารถยึดครองหัวใจโลกได้
 ซึ่งเขาหมายถึงดินแดนส่วนใหญ่ชั้นในของทวีปยุโรป เอเซีย และอาฟริกา
ผู้ใดครองหัวใจโลกได้จะยึดครองเกาะโลก (WORLD - ISLAND) ได้
HEART LAND THEORY
ซึ่งหมายถึงทวีปเอเซีย ยุโรป และอาฟริกาที่ต่อเชื่อมเป็นดินแดน
เดียวกัน ผู้ใดยึดครองเกาะโลกได้จะยึดครองโลกได้
ทฤษฎีนี้ก็นาไปสู่แนวคิดประการหนึ่งที่ทาให้สหภาพโซเวียตยึด
ครองยุโรปตะวันออก ในหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
นาไปสู่การตั้งองค์การ NATO (NORTH ALANTIC TREATY
ORGANIZATION) ขึ้น
Pivot Area
Heart Land and Rim Land
Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
EURASIA
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกาลังอานาจของโลก
(World-Wide Power Relationship)
„ การจากัดการขยายตัวของสหภาพโซเวียตให้อยู่ภายในดินแดนยูเรเซีย
เป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง
„ กระทาด้วยการผสมผสานทรัพยากรของชาติพันธมิตรที่เป็นมหาอานาจทั้ง
สหรัฐอเมริกา เยอรมัน สหราชอาณาจักร และญี่ปุ่น
ปัจจุบันมีออสเตเลียเข้าร่วมด้วย
„สามารถทาได้ด้วยผสมแสนยานุภาพทางทะเลเข้าด้วยกัน
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy)
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้
และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
แนวคิดทางภูมิรัฐศาสตร์ ขัดแย้งกับแนวคิดมาฮาน
กาลังอานาจทางพื้นดินที่มุ่งไปสู่ใจกลางของยูเรเซีย
จะช่วยให้ควบคุมภาคพื้นทวีปเอาไว้ได้
ประเมินสถานการณ์โลกว่า ฝ่ายพันธมิตรควรร่วมมือกันป้องกันอาณาบริเวณใจกลาง
โลก ต่อมาได้เกิดการร่วมมือ โดยก่อตั้ง NATO ขึ้นมา
เชื่อว่าการเคลื่อนย้ายด้วยรถไฟ จะทาให้คล่องตัวเหนือกว่าการเคลื่อนย้ายทางทะเล
เป็นการขัดขวางไม่ให้กาลังทางทะเลเข้ายึดพื้นที่ Heartland ได้ กาลังอานาจทาง
พื้นดินที่มุ่งไปสู่ใจกลางของยูเรเซียจะช่วยให้ควบคุมภาคพื้นทวีปเอาไว้ได้
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่าง ๆของ
โลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันการเข้าครอบครองใจโลกของฝ่ายคอมมิวนิสต์
พล.จ.ดร.คาร์ล เฮาส์โฮฟเฟอร์
(Karl Ernst Houshofer)
ผสมผสาน
แนวความคิดของแมคคินเดอร์
ในเรื่องความสัมพันธ์ของ
ทรัพยากร เสนอความ
ต้องการด้านทรัพยากรให้แก่
กาลังอานาจของโลก
ผู้อานวยการสถาบันภูมิรัฐศาสตร์ ของเยอรมัน(ค.ศ. ๑๘๖๐–๑๙๔๕)
แนวความคิดทางการเมืองของรัฐซึ่งเป็นเสมือนองค์กร
 เป็นนักรัฐศาศตร์ที่มีชื่อเสียง ในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่
1 ที่มีแนวคิดว่า รัฐเป็นสิ่งที่มีชีวิตจาเป็นต้องขยายตัวอยู่
ตลอดเวลา
 เพื่อสนับสนุนความต้องการขยายดินแดนของเยอรมันใน
ขณะนั้น และเป็นแนวคิดที่มีอิทธิพลต่อฮิตเล่อร์มาก ในการ
นาไปสู่สงครามโลก ครั้งที่ 2 ในเวลาต่อมา
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
 เป็นการอธิบายปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ที่มีอิทธิพลในการส่งเสริมหรือลดบทบาททาง
รัฐศาสตร์ของรัฐ จึงต้องเข้าใจองค์ประกอบของรัฐ (STATE) ว่ารัฐนั้นมีองค์ประกอบ
สาคัญ 4 ประการ คือ
1. ประชาชน
2. ดินแดนที่แน่นอน
3. รัฐบาล
4. อานาจอธิปไตย
 มีผลต่อเส้นทางเข้า - ออก ที่สาคัญทางยุทธศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพทาง
ภูมิศาสตร์ กับปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา
การทหาร วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ประชาชน
 เป็นทรัพยากรของชาติ เป็นปัจจัยหนึ่งที่นาไปพิจารณาว่ากาลังอานาจ
แห่งชาติด้านภูมิรัฐศาสตร์มีคุณค่าทางยุทธศาสตร์ (STRATEGIC VALVES)
มากหรือน้อยเพียงไร
คุณภาพของประชาชน และจานวนของประชาชน
 มีสุขภาพอนามัยดี มีความรู้สูง มีระเบียบวินัยดี รู้สิทธิและหน้าที่
 กาลังคนสามารถพัฒนาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้ แม้ว่าจะมี
ทรัพยากรธรรมชาติจากัด
 เช่นประเทศญี่ปุ่นรัฐบาลพัฒนาส่งเสริมระบบการศึกษา การเรียนรู้ จัด
เครือข่ายการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน พัฒนารักษาสุขภาพอนามัย
จานวนของประชาชน
 เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการพิจารณาคุณค่าทางยุทธศาสตร์ ประเทศที่มี
ประชากรมาก จะสามารถสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันประเทศและด้าน
เศรษฐกิจ
 จะเป็นประเทศที่มีศักยภาพแรงงานและมีอานาจการผลิตสูง มีการตลาดที่
กว้างขวาง เช่น ประเทศจีนซึ่งมีประชากรกว่า 1,200 ล้านคน นับว่าเป็น
ประเทศที่มีสิ่งดึงดูดจูงใจนักลงทุนต่างชาติมาก
 ขณะเดียวกันก็เป็นปัญหาต่อการเลี้ยงดูประชากรให้อยู่ดีกินดี ในลักษณะการ
กระจายรายได้ให้ทั่วถึง ต้องมีระบบการปกครองที่มีประสิทธภาพ
 ประชากรที่มีจานวนมากหากมีเชื้อชาติ ศาสนา ที่หลากหลาย เช่นจีน ก็จะ
เป็นปัญหาในการอยู่ร่วมกันทางสังคมอีกเช่นกัน
24
บทบัญญัติในกฎบัตรสหประชาชาติ หมวดที่ 1 Article 2 ข้อ 7
“Nothing containedin the present charter shall authorize the UN
to intervene in matters which are essentially within the domestic
Jurisdiction of any state or shall require the member to submit
such matters to settlement under the present charter; But this
principle shall not prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”
www.kpi.ac.th
กระบวนการสันติภาพ
กับปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ
จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาล
กลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ
www.kpi.ac.th
 ที่ตั้ง(แสดงฐานะทางยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน ประเทศที่เป็นเกาะอยู่ห่างไกลจากผืนแผ่นดินใหญ่โอกาสที่จะถูก
รุกรานอย่างจู่โจมด้วยกาลังทางบกมีน้อย ต่างกับประเทศที่เป็น Land - Lock มีโอกาสที่จะถูกจู่โจมด้วยกาลังทาง
บกได้มากที่สุด)
 ขนาด(ประเทศที่มีขนาดใหญ่ มีโอกาสเป็นมหาอานาจได้ เนื่องจากมีทรัพยากรและประชากรมาก เช่น
สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน)
 รูปร่าง(ประเทศที่มีอาณาเขตแยกออกจากกันโดยมีประเทศอื่นคั่นอยู่จะประสบปัญหาในการปกครองให้เป็น
อันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น ประเทศปากีสถาน ประเทศที่มีอาณาเขตตั้งอยู่ปลายคาบสมุทร เช่น มาเลเซีย )
 ลักษณะภูมิประเทศ ดินฟ้าอากาศ ที่ตั้งของเมืองสาคัญ เส้นทางคมนาคม
 พรมแดน(Boundary)(ตามธรรมชาติใช้สันปันน้า ลาน้า ร่องน้าลึก ใช้เส้นกึ่งกลางของแม่น้าหรือร่องน้าลึก
พรมแดนตามสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่นกาแพง รั้ว หมุดหลักฐาน พรมแดนพิกัดภูมิศาสตร์ เช่น แบ่งตามแนวละติจูด
ลองจิจูด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เกาหลี พรมแดนตามหลักวิชาเรขาคณิต เช่น การแบ่งประเทศอาณานิคมในทวีป
อาฟริกา การตกลงตามลักษณะพรมแดนอาจเป็นการตกลงแบบฉันท์มิตร แบบบังคับ หรือแบบทาสัญญาหลัง
สงครามก็ได้)
การพิจารณาลักษณะภูมิรัฐศาสตร์
สหรัฐอเมริกา AUSTRALIA
สาธารณรัฐประชาชนจีน
เป็นรูปร่างที่มีลักษณะดี สามารถ
อานวยผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ
วัฒนธรรม มีความเข้มแข็งทาง
ยุทธศาสตร์ เพราะสามารถวางกาลัง
และเคลื่อนย้ายกาลังสะดวก เช่น
สหรัฐอเมริกา จีน ออสเตรเลีย เป็น
ต้น
รูปร่างกระทัดรัด หรือเป็นปึกแผ่นจัด
รูปร่างคล้ายวงกลม
เป็นรูปร่างที่มีลักษณะดีที่สุดสามารถตั้ง
เมืองหลวงอยู่บริเวณใจกลางประเทศได้
เป็นประโยชน์ทางการทหาร เศรษฐกิจ
ตลอดจนการป้องกันประเทศ
สามารถสร้างเส้นทางคมนาคมได้สั้น
ที่สุด ติดต่อถึงกันได้สะดวก รวดเร็ว
และประหยัดที่สุด
ได้แก่ สวิสเซอร์แลนด์ ฮังการี และ
ฝรั่งเศส เป็นต้น
SARAWAK
SABAH
M
ALAYA
M A L A Y S I A
I N D O N E S I A
J A V A
S
U
M
A
T
R
A
B ORNE O
KAL I MANT AN
C
EL
EBES
I R I A N
J A Y A
แบบแยกจากกัน(Broken Shape)
PH
ILIPPINES
แบบไม่ประติดประต่อ(Fragmented Shape)
มีหน่วยหนึ่งหรือมากกว่าแยกออกจากหน่วยใหญ่ของประเทศ เช่น มาเลเซีย
ประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยจานวนมาก จัดกระจายมีส่วนย่อย ๆ แยกออกจากหน่วยใหญ่
ของประเทศ แต่ยังอยู่บริเวณเดียวกับหน่วยใหญ่จะมีความยากลาบากในการปกครองป้องกัน
เช่น ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย เช่น อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เป็นต้น
แบบด้ามกระทะ (Pan Handle)
T H A I L A N D
80
70
60
50
40
30
20
10
EQ UA TO R
20
30
40
50
60
70
80
30
40
50
60
70
80
20
10 10
30
40
50
60
70
80
80
70
60
50
40
30
20
10
30
TROP IC O F CA NCE R
40
50
60
70
80 80
70
60
50
40
30
20
10
EQ UA TO R
TROP IC O F CA NCE R
TROP IC O F CA PRICO RN TROP O F CA PRICO RN
10
20
30 30
40 40
50 50
60 60
70 70
80 80 80
70
60
50
40
30
20
10
30
40
50
60
70
80 80
70
60
50
40
30
20
10
AUST RALIA
AS I A
AFR I CA
E
U
R
O
P
E
GREE NLANDGREE NLAND
NORTH
AMERICA
ANTARCTICA
SOUTH
AMERICA
P A C I F I C
O C EA N
O
C
E
A
N
I N D I A N
O C EA N
PACIFIC
OCEAN
A
T
L
A
N
T
I C
แผนที่โลกแสดงเขตเศรษฐกิจโลก
40
60 60
40
5
5
Equator
5
5
ละติจูด 40 - 60 องศาเหนือ เขตอากาศอบอุ่น เป็นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม
ละติจูด 5 องศาเหนือ - 5 องศาใต้ เขตอากาศร้อนชื้น
ความสาคัญเกี่ยวกับภูมิอากาศ
สรุปได้ว่า ในบริเวณละติจูด 40 - 60 องศาเหนือ อากาศ
อบอุ่น ประชากรมีความขยันขันแข็ง เมื่อพิจาณาภาพรวม
จากแผนที่ พบว่า เป็นบริเวณที่มีเมืองใหญ่และเป็นเมือง
อุตสาหกรรมและเขตเศรษฐกิจสาคัญของโลก ในทางตรง
กันข้ามบริเวณ ที่ละติจูด5 องศาเหนือ - 5 องศาใต้อากาศ
ร้อนชื้น ทาให้ประชากร ไม่กระตือรือล้นในการประกอบ
อาชีพ
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับกาลังอานาจของประเทศไทย
Australia
USA
Canada
China
India
Russia
Brazil
Argentina
Mexico
ลักษณะภูมิประเทศของอัฟกานิสถาน
N
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ - ๑๙๑๔
 บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
 เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
 เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
 เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้า
ทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
 ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์
ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯ
ประจาการอยู่ทั่วโลก
 กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนาม
ร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
 กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
 สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
 เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
 เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ
 ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีด
ความสามารถในการทาการรบในทุกภูมิภาคทั่วโลก
 ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ
(Special Force)
 มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมี
การติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ
Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้น
ปฏิบัติการบนฝั่งได้
ยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐ
Strategic Defense Mobile Forces
Bases Places
Hard Power Soft Power Smart Power
แนวคิด Sea Basing
 สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็ว ลด
การพึ่งพาชาติอื่น
 วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
 วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลด
กาลังทหารประจาการในเกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ
๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
 ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่
ชัดเจน
 ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติ
พันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
 ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวน
ยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่
กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
 กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลง
นามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กระทรวง
กลาโหมฯ อนุมัติ
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
 Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air
Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
 Sea Strike การโจมตีจากทะเล
 Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
 Sea Trial คือ จะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติการ
 Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
 Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Seabase
National Security Strategy and Economic Strategy
 Raw Material
 Product & Container
 Money
 Man
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organization-IMO)
 เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The
International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
 มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ
เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic
Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547
 กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถาน
ที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย
 กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความ
ปลอดภัยสถานที่
 เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่าง
ประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอด
เข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
A Publication by www.knowtheprophet.com 55
A Publication by www.knowtheprophet.com 56

More Related Content

What's hot

7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
kroobannakakok
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
Kittisak Chumnumset
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Nakkarin Keesun
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
Taraya Srivilas
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
บะห์ บาตู
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
Poramate Minsiri
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
Taraya Srivilas
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
Ornkapat Bualom
 

What's hot (20)

การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์7.2 การประสานประโยชน์
7.2 การประสานประโยชน์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
 
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
การจัดการภัยพิบัติและการฟื้นฟูบูรณะหลังการเกิดภัย กรณีศึกษาประเทศไทยและประเทศ...
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 

Viewers also liked

ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์
Surachai Chann
 
1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย
1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย
1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย
Taraya Srivilas
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
Klangpanya
 

Viewers also liked (20)

ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์
 
1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย
1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย
1ภูมิรัฐศาสตร์ กำลังอำนาจของชาติ เอกชัย
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 

Similar to ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.

ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์
Picha Stm
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
Tor Jt
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
Taraya Srivilas
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
Thidarat Termphon
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
pailinsarn
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
Prapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
Prapatsorn Chaihuay
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
Prapatsorn Chaihuay
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
korakate
 

Similar to ภูมิรัฐศาสตร์ สกว. (20)

ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์ ความหมายประวัติศาสตร์
ความหมายประวัติศาสตร์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาบ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
บ้านสอบครู (อ.บวร) บรรยายความรอบรู้ทั่วไปสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลีใบกิจกรรม เรื่อง  วัฒนธรรมเกาหลี
ใบกิจกรรม เรื่อง วัฒนธรรมเกาหลี
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้านใบกิจกรรม เรื่อง  มิติโลก 8 ด้าน
ใบกิจกรรม เรื่อง มิติโลก 8 ด้าน
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
law
lawlaw
law
 

More from Taraya Srivilas

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.