SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
ประเทศไทยกับการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น
“...ข้าพเจ้าเห็นว่าสิทธิเลือกตั้งของประชาชน ควรจะเริ่มต้นที่
การปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล ข้าพเจ้าเชื่อว่า
ประชาชนควรจะมีสิทธิ มีเสียงในกิจการของท้องถิ่น เรา
กาลังพยายามให้การศึกษาเรื่องนี้แก่เขา ข้าพเจ้าเห็นว่าเป็น
การผิดพลาดถ้าเราจะมีการปกครองระบบรัฐสภาก่อนที่
ประชาชนจะมีโอกาสเรียนรู้ และมีประสบการณ์อย่างดี
เกี่ยวกับการใช้สิทธิเลือกตั้งในกิจการปกครองท้องถิ่น”
แนวพระราชดาริเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่นใน
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระราชบันทึก
Democracy in Siam
No State with out Cities
•จีนเชื่อว่ากระจายอานาจแล้วจะทาให้ประเทศเจริญก้าวหน้าและเป็นประชาธิปไตย
•จีนกระจายอานาจไปสู่ผู้ว่ามณฑล นายกเทศมนตรี
•งบประมาณของประเทศมีสัดส่วน 31: 69 รัฐบาลกลาง : ท้องถิ่น
•จีนพัฒนาแบบก้าวกระโดด
•ประชาชนระดับล่างในชนบททุกตาบล หมู่บ้านมีความเป็นอยู่ดีขึ้นมาก มีรายได้สูง
•เศรษฐกิจมาอยู่ระดับสองของโลก
ประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์เชื่อเรื่องกระจายอานาจ
•องค์การบริหารการศึกษาท้องถิ่น มีบทบาทกระตุ้นให้โรงเรียนยกระดับมาตรฐาน เป็น
กระบอกเสียงให้กับผู้ปกครอง
•สามารถป้องกันการแทรกแซงจากภาคการเมืองสู่ภาคการศึกษา
•ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือหน่วยงานจะเป็นไปแบบเพื่อนร่วมอุดมการณ์
•การบริหารการศึกษาส่วนกลางและระดับท้องถิ่น และระหว่างสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กับสถานศึกษา เป็นลักษณะการควบคุม โดยกติกา (Law Enforcement Control) เช่น
ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย ฯลฯ ทุกฝ่ายเคารพปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
การกระจายอานาจการศึกษาสู่ท้องถิ่นของอังกฤษ
“ No State without Cities”
“ ไม่มีรัฐใดที่ไม่มีเมือง ”
“ รัฐคือประเทศ เมืองคือท้องถิ่น ”
“ การบริหารประเทศเป็นหน้าที่ของรัฐบาลกลาง การบริหารเมืองเป็น
หน้าที่ขององค์กรท้องถิ่น ”
(คอนราด อเดเนาด์ อดีตนายกเทศมนตรีเมืองโคโลญจ์และอดีตนายกรัฐมนตรีของเยอรมัน)
Konrad Adenauer)
“ Decentralization is the road to Democracy “
•หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ บังคับญี่ปุ่นให้เปลี่ยนการปกครองจากเผด็จการ
เป็นประชาธิปไตย
•กล่าวว่า “ การกระจายอานาจ คือเส้นทางไปสู่ประชาธิปไตย ”
General Douglas MacArthur
แม่ทัพใหญ่ของทหารพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่ ๒
แนวคิดการพัฒนาท้องถิ่น
•สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้านภูมิรัฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคมมากขึ้น
•ประเทศไทยอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ของโลก ท้องถิ่นจะรวมตัวกันเชื่อมโยงโลกทั้งสองฟากฝั่งได้
อย่างไร
•ค้นหาความรู้ใหม่ๆมาเปลี่ยนโลกทัศน์ของตนเองและชุมชนไปสู่โลกกว้างมากขึ้น
•ลดการถูกครอบงาจากตะวันตกหันมาค้นหาตัวตนไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
•เชื่อมโยงเศรษฐกิจการเมืองกับชุมชนรอบๆประเทศ กลุ่มประเทศ และประเทศที่เป็นเป้าหมาย
ความสาคัญของการปกครองท้องถิ่น
• ช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาล
• เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นอย่างแท้จริง
• สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสอดคล้อง เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น
• เป็นรากฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตย
• เป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นสถานที่สาหรับให้ความรู้เรื่องประชาธิปไตย
• เป็นแหล่งสร้างผู้นาทางการเมือง
• สามารถแก้ไขปัญหาของท้องถิ่นในแต่ละแห่งได้อย่างรวดเร็ว
ความรับผิดชอบของผู้บริหารท้องถิ่น
•ความรับผิดชอบทางสังคม
•ความรับผิดชอบทางกฎหมาย
•ความรับผิดชอบทางการเมือง
10
ปัจจัยที่มีความสาคัญของท้องถิ่น
•สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของท้องถิ่น
•มิติของการพัฒนาจะต้องเริ่มจากท้องถิ่น
•ค้นหาเอกลักษณ์ของท้องถิ่น
•มีศาสนาเป็นฐานนาคุณธรรมในชุมชน
•สร้างอุดมการณ์ร่วมในท้องถิ่น
•ภาวะผู้นาของท้องถิ่น
• ประเทศญี่ปุ่น ฝรั่งเศส สวีเดน และอิตาลี จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่แตกต่างกันออกไป
• ประเทศญี่ปุ่นแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ รัฐบาลกลาง (Central Government) จังหวัด (Prefecture) และ
เทศบาล ( Local Government)
• ประเทศสวีเดน มีการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ราชการส่วนกลาง (Central
level) การบริหารเขต (Counties) และ เทศบาล (Municipalities)
• ประเทศอิตาลี มีการบริหารราชการของประเทศ นอกเขตเมืองหลวงจะมีการจัดการบริหารราชการออกเป็น 3 ระดับ
ได้แก่ ภาค (Region) จังหวัด (Province) และเทศบาล (Commune)
• ประเทศฝรั่งเศสแบ่งเป็น 3 ระดับ อันประกอบด้วย ภาค (Region) เทศบาล (Commune) องค์การบริหารส่วน
จังหวัด (Departement)
การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่เป็น “รัฐเดี่ยว”
• บทบาทและอานาจหน้าที่บริหารราชการ การแบ่งบทบาทอานาจหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะและ
อานวยการของแต่ละประเทศ โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น ประเทศสวีเดน และประเทศฝรั่งเศส
• การบริหารราชการแต่ละระดับบทบาทอานาจในการดาเนินการ เช่น การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของ
ประเทศญี่ปุ่นในเชิงของอานาจหน้าที่ มีภารกิจและอานาจในการให้บริการสาธารณะ ด้านโรงพยาบาล
การประกันสังคม การศึกษา และการสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ เช่น การประปา การไฟฟ้า
• เทศบาล จะทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการโดยตรงในบริการสาธารณะต่าง ๆ เช่น โรงเรียนประถมศึกษา และ
มัธยมศึกษาตอนต้น การจัดทาทะเบียนราษฎร การดับเพลิง การกาจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล และ
ระบบการประปา เป็นต้น
การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่เป็น “รัฐเดี่ยว”
•ประเทศสวีเดน องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นค่อนข้างมีความเป็นอิสระ มี
ขอบเขตอานาจหน้าที่อย่างกว้างขวาง
•ราชการส่วนกลางต่าง ๆ จะเป็นองค์กรที่มีขนาดเล็ก เพราะส่วนกลางมีขอบเขต
อานาจเพียงการกาหนดนโยบายและการจัดสรรทรัพยากรเท่านั้น
•ส่วนกลางจะต้องรับผิดชอบงานนโยบาย ต่างประเทศ การป้องกันประเทศ ตารวจ
การบริหารงานยุติธรรม การศึกษาวิจัยขั้นสูง ถนนหลัก การรถไฟ เป็นต้น
การบริหารราชการแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่เป็น “รัฐเดี่ยว”
•ทาให้การดาเนินการต่าง ๆ ของรัฐบาลไม่อาจตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของ
ประชาชนในด้านการบริการ และการอานวยประโยชน์ได้
•แนวความคิดในเรื่องการกระจายอานาจการบริหารการปกครองให้ประชาชนในท้องถิ่น
(ราชการบริหารส่วนภูมิภาค) เพื่อแบ่งเบาภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของรัฐบาล
•เพื่อให้การดาเนินการให้บริการและอานวยการด้านต่าง ๆ สามารถตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนได้อย่างแท้จริง ทั่วถึง และรวดเร็ว
•เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามระบอบ
ประชาธิปไตย
การบริหารงานแบบรวมศูนย์
•รัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเอง ตามความ
ต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
•โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีอิสระในการกาหนดนโยบายการปกครอง การ
บริหาร การบริหารงานบุคคล การเงิน การคลัง และมีอานาจหน้าที่ของตนเอง
•รัฐบาลเป็นเพียงผู้ทาหน้าที่ในการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเท่าที่
จาเป็นภายในกรอบของกฎหมายเท่านั้น
การเป็นอิสระของท้องถิ่น
องค์กรท้องถิ่นไทย
• องค์กรท้องถิ่นไทย เริ่มต้นครั้งแรกเมื่อมีกฎหมายจัดระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 และรัฐบาลได้
ออกกฎหมาย สภาตาบลสุขาภิบาล และสภาจังหวัด ซึ่งเป็นองค์กรกึ่งท้องถิ่น
• โดยกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายการกระจายอานาจให้ท้องถิ่นนั้นจะต้องค่อยเป็นค่อยไป
• เมื่อ 7 กรกฎาคม 2526 มีการเสนอกฎหมายสภาตาบล เป็นองค์กรบริหารส่วนตาบล ซึ่งถูก
ต่อต้านและคัดค้านอย่างหนัก แต่ก็ได้พยายาม และต้องใช้เวลานานถึง 11 ปี
(อุดร ตันติสุนทร)
เกิดวิกฤตต้มยากุ้ง ปี ๒๕๔๐
•ท้องถิ่นมีจานวนน้อย
•การกระจายอานาจยังไม่เริ่มต้น
•งปประมาณของท้องถิ่นไม่ถึง ๑๐ %
•ท้องถิ่นไม่ได้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤต
•รัฐบาลและส่วนกลางเป็นผู้แก้ไข
วิกฤตปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒
•การปกครองท้องถิ่นเข้มแข็งขึ้นมาก
•จานวนท้องถิ่นมีมากกว่า ๘๐๐๐ แห่ง
•งบประมาณ ๒๕% ลงพื้นที่
•อินโดนีเชีย ๗๐ % จีน ๖๙ %
•ท้องถิ่นควรมีบทบาทแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจของชาติ
•การกระจายอานาจ การพัฒนาท้องถิ่น
สัดส่วนงบประมาณค่าใช้จ่ายที่อยู่ในอานาจการอนุมัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เปรียบเทียบกับงบประมาณที่อยู่ในอานาจการอนุมัติของส่วนกลาง
ประเทศ สัดส่วนของงบประมาณ
จีน 69 %
เวียดนาม 48 %
อินโดนีเซีย 32 %
ฟิลิปปินส์ 26 %
กัมพูชา 17 %
ไทย 10 %
เป้าหมายของท้องถิ่นเข้มแข็ง ๑๐ ประการ
๑. ชมรมรักการอ่านทุกหมู่บ้าน
๒. ศูนย์เด็กเล็กในทุกท้องถิ่น เด็กเล็กต้องได้เรียนฟรีทุกคน
๓. ศูนย์การเรียนรู้ของตาบล ซึ่งต้องมีบริการอินเทอร์เน็ต ห้องสมุดตาบล พิพิธภัณฑ์ตาบล ศูนย์ศิลปะ
ศูนย์กีฬา ศูนย์การเรียนรู้พิเศษที่ชุมชนสนใจ รวมไปถึงตลาดชุมชน
๔. วัด
๕. โรงเรียน
๖. ภาคธุรกิจและผู้ประกอบการ
๗. คนทั้งหมดในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้
๘. การเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสาร
๙. อาชีวศึกษาและวิทยาลัยชุมชน อันที่จริงอาชีวศึกษาเป็นส่วนสาคัญในการสร้างสัมมาชีพสังคม จึงต้อง
ให้เกียรติ ไม่ดูถูกสิ่งเหล่านี้ ในสหรัฐอเมริกามีวิทยาลัยชุมชนกว่า ๓,๐๐๐ แห่ง
(ศ.นพ.ประเวศ วะสี)
ปัจจัยพื้นฐาน ๘ ประการเมืองไทยและท้องถิ่นไทยน่าอยู่ที่สุดในโลก
๑. เป็นท้องถิ่นแห่งความเป็นธรรม
๒. ท้องถิ่นแห่งความพอเพียง
๓. ท้องถิ่นแห่งความไม่ทอดทิ้งกัน
๔. ท้องถิ่นแห่งความปลอดภัยและสันติภาพ
๕. ท้องถิ่นแห่งความเป็นประชาสังคม ต้องให้คนรวมตัว ร่วมคิด ร่วมทาเรื่องต่างๆ ความเป็นประชาสังคม จะทาให้
การเมืองดี สังคมดี เศรษฐกิจดี และศีลธรรมดี
๖. เป็นท้องถิ่นแห่งความงาม ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ศิลปะ
๗. ท้องถิ่นแห่งการเรียนรู้ ผู้คนกระตือรือร้นที่จะขวนขวายหาความรู้ เพราะสังคมซับซ้อน อานาจอย่างเดียว
แก้ปัญหาไม่ได้ ต้องอาศัยการเรียนรู้ของผู้คนเต็มสังคม โดยการเปิดพื้นที่ทางสังคม ทางปัญญาอย่างกว้างขวาง
เพื่อท้ายที่สุด จะปรับวัฒนธรรมอานาจไปสู่วัฒนธรรมเรียนรู้
๘. ท้องถิ่นแห่งสุขภาวะ ไม่เฉพาะเรื่องสุขภาพแต่กินความไปถึงทุกๆ เรื่อง
(ศ.นพ.ประเวศ วะสี)
อนาคตการพัฒนาท้องถิ่น
•การกระจายอานาจและการพัฒนาท้องถิ่นเป็นวาระแห่งชาติ
•มีบทบาทการช่วยเหลือประเทศ
•สถานที่นี้มีแต่ผู้นา ที่ทาเรื่องยาก พร้อมที่จะทางาน
•เห็นปัญหาคนอื่นเป็นโอกาส
•การกระจายอานาจจะช่วยลดความขัดแย้ง
•ความเข้มแข็งจะมากขึ้น
มาตรา ๔๓ บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิดาเนินการหรือ
ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือรัฐในการอนุรักษ์
ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
และของชาติ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับมีชัย
มาตรา ๕๐
รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาภาคบังคับ ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
โดยไม่เรียกเก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้องดาเนินการหรือจัดให้มีการศึกษาก่อนวัยเรียนที่มีคุณภาพ
อย่างทั่วถึง รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการ ในระบบต่าง ๆ
รวมทั้งการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และ
สนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพ ได้มาตรฐานสากล และดาเนินการให้
ผู้ด้อยโอกาสได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับมีชัย
มาตรา ๖๖
รัฐพึงอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรมขนบธรรมเนียม และ
จารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ และพึงจัดให้มีพื้นที่สาธารณะ
สาหรับกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนชุมชน และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ใช้สิทธิและมีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับมีชัย
มาตรา ๑๐๓ สมาชิกวุฒิสภาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
ข. ลักษณะต้องห้าม
(๖) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น เว้นแต่ได้พ้นจากการ
เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบปีนับถึงวันสมัครรับเลือก
(๗) เป็นบุพการี คู่สมรส หรือบุตรของผู้ดารงตาแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ผู้สมัครรับเลือก
เป็นสมาชิกวุฒิสภาในคราวเดียวกัน หรือผู้ดารงตาแหน่งในศาลรัฐธรรมนูญหรือในองค์กร
อิสระ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับมีชัย
มาตรา ๑๗๙ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้อง
(๑) ไม่ดารงตาแหน่งหรือหน้าที่ใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐหรือ
รัฐวิสาหกิจ หรือตาแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับมีชัย
มาตรา ๒๔๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครอง ส่วนท้องถิ่นตามหลัก
แห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามวิธีการ
และรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ
การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบใดให้คานึงถึง เจตนารมณ์
ของประชาชนในท้องถิ่นและความสามารถในการปกครองตนเองในด้านรายได้
จานวนและความหนาแน่นของประชากร และพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบ ประกอบกัน
หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๒๔๗ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอานาจดูแล และจัดทาบริการสาธารณะ
เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและ
สนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ รัฐต้อง
ดาเนินการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ของตนเอง ให้สามารถดาเนินการตามวรรค
หนึ่งได้อย่างเพียงพอ ในระหว่างที่ยังไม่อาจดาเนินการได้ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณเพื่อ
สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามควรแก่กรณี การจัดทาบริการสาธารณะใดที่สมควรให้
เป็นหน้าที่โดยเฉพาะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย
บัญญัติซึ่งต้องสอดคล้องกับรายได้ของท้องถิ่นตามวรรคสอง กฎหมายดังกล่าวให้บัญญัติถึงกลไก
และขั้นตอนในการกระจายอานาจของส่วนราชการให้แก่ท้องถิ่นด้วย
ส่วนท้องถิ่นต้องให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการบริหาร การจัดทาบริการ
สาธารณะ การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา การเงินและการคลัง และการ
กากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งต้องทาเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อการคุ้มครอง
ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นหรือประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวม การป้องกัน
การทุจริต และการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงความเหมาะสมและความ
แตกต่าง ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ และต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับ
การป้องกันการขัดกันแห่งผลประโยชน์ และการป้องกันการก้าวก่ายการปฏิบัติหน้าที่ของ
ข้าราชการส่วนท้องถิ่นด้วย
มาตรา ๒๔๘ การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่
กฎหมายบัญญัติ ซึ่งต้องคานึงถึงความเหมาะสมและความจาเป็นของ แต่ละท้องถิ่น
การจัดให้มีมาตรฐานที่สอดคล้องกัน เพื่อให้สามารถพัฒนาร่วมกันหรือ การ
สับเปลี่ยนบุคลากรระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันได้
มาตรา ๒๔๙ สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง ผู้บริหารท้องถิ่นให้มาจาก
การเลือกตั้งหรือมาจากความเห็นชอบของ สภาท้องถิ่น หรือในกรณีองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ จะให้มาโดยวิธีอื่นก็ได้ แต่ต้องคานึงถึงการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้มี
สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง และหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและ
ผู้บริหารท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติซึ่งต้องคานึงถึงเจตนารมณ์ในการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามแนวทาง ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญด้วย
มาตรา ๒๕๐ ในการดาเนินงาน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาท้องถิ่น และ
ผู้บริหารท้องถิ่นเปิดเผยข้อมูลและดาเนินการให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมด้วย
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา ๒๕๑ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิเข้าชื่อ
กันเพื่อเสนอข้อบัญญัติหรือเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นได้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายบัญญัติ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับบวรศักดิ์
•มาตรา ๑ รัฐต้องให้ความเป็นอิสระแก่องค์กรบริหารท้องถิ่นตามหลักแห่งการ
ปกครองตนเองตามเจตนารมย์ของประชาชนในท้องถิ่น โดยให้มีรูปแบบองค์กร
บริหารท้องถิ่นที่หลากหลาย เหมาะสมกับการบริหารจัดการตามภูมิสังคมแต่ละ
พื้นที่ รวมทั้งต้องกระจายอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ และต้องส่งเสริมให้
องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาบริการสาธารณะ
ตลอดจนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง
และมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
หมวดที่ ๗ การกระจายอานาจและการบริหารท้องถิ่น
•การจัดทาบริการสาธารณะในที่ชุมชน หรือบุคคล สามารถดาเนินการได้
โดยมีมาตรฐาน คุณภาพ และประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าองค์กรบริหาร
ท้องถิ่น
•รัฐหรือองค์กรบริหารท้องถิ่นต้องกระจายภารกิจดังกล่าวให้ชุมชน หรือ
บุคคลดังกล่าว ดาเนินการภายใต้การกากับดูแลที่เหมาะสม ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
มาตรา (๒/๗/-)
มาตรา (๒/๗/-) ๒
• องค์กรบริหารท้องถิ่นต้องบริหารงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล และมีความเป็นอิสระในการ
กาหนดนโยบาย การบริหาร การจัดบริการการสาธารณะ การบริหารงานบุคคล และงานคลัง โดย
ต้องคานึงถึงดุลยภาพระหว่างความเป็นอิสระและการมีมาตรฐาน ความสอดคล้องกับการพัฒนา
ของจังหวัด ภาค และประเทศเป็นส่วนรวม
• องค์กรบริหารท้องถิ่นต้องมีขนาดและศักยภาพที่เหมาะสมกับการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถจัดทา
บริการสาธารณะได้ในรูปแบบที่หลากหลาย สามารถสร้างความร่วมมือกับทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคม ได้ เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าเป็นประโยชน์ และให้บริการประชาชนอย่างทั่วถึง
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามหมวดนี้ ให้มีประมวลกฎหมาย
ท้องถิ่น โดยต้องให้มีการกระจายอานาจที่เพิ่มขึ้น มีหน่วยงานรับผิดชอบการ
กระจายอานาจที่เป็นเอกภาพและสามารถดาเดินการให้การกระจายอานาจเป็น
ผลสาเร็จ มีการจัดสรรภาษีและรายได้ระหว่างรัฐกับองค์กรบริหารท้องถิ่นที่
เหมาะสมกับอานาจหน้าที่ขององค์กรบริหารท้องถิ่นแต่ละประเภท และมีระบบ
ตรวจสอบและประเมินผลการกระจายอานาจ
มาตรา (๒/๗/-) ๒/๑
• การกากับดูแลองค์กรบริหารท้องถิ่นต้องกระทาตามกฎหมายเท่าที่จาเป็นและต้องเป็นไปเพื่อการ
คุ้มครองประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นหรือประโยชน์ของประเทศเป็นส่วนรวม และเป็นหลักประกัน
ให้แก่ประชาชนจากการใช้อานาจขององค์กรบริหารท้องถิ่น เหมาะสมกับรูปแบบขององค์กรบริหารท้องถิ่น และจะ
กระทบกับหลักความเป็นอิสระขององค์กรบริหารท้องถิ่นมิได้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติการกากับดูแลตามวรรค
หนึ่ง รัฐอาจดาเนินการดังนี้
(๑) กาหนดมาตรฐานให้องค์กรบริหารท้องถิ่นปฏิบัติและติดตามตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานนั้น
(๒) ทาสัญญาแผนระหว่างรัฐ ราชการส่วนภูมิภาค และองค์กรบริหารท้องถิ่น
(๓) ส่งเรื่องให้ศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยว่ากฎ คาสั่ง มติ และการกระทาใด ของผู้บริหารท้องถิ่น สภาท้องถิ่น
หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น เป็นไปโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
(๔) การอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา (๒/๗/-) ๓
•ประชาชนหรือชุมชนย่อมมีสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารงานขององค์กรบริหารท้องถิ่น ในการ
กาหนดรูปแบบขององค์กรบริหารท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองท้องถิ่น การ
บริหารงานท้องถิ่น การออกเสียงประชามติระดับท้องถิ่น การตรวจสอบการดาเนินงาน การถอด
ถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น คณะผู้บริหารท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น หรือการเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
•องค์กรบริหารท้องถิ่นมีหน้าที่ต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยอย่างน้อยต้อง
เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร รายงานผลการดาเนินงาน และรายงานงบการเงินและสถานการณ์การคลัง
ท้องถิ่นให้ประชาชนทราบ ส่งเสริมสมัชชาพลเมือง รวมทั้งต้องจัดให้ประชาชนมีส่วนร่วมตัดสินใจใน
การดาเนินงานที่มีผลกระทบต่อประชาชน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา (๒/๗/-) ๔
•เพื่อประโยชน์ในการมีส่วนร่วมของประชาชนตามมาตรานี้ พลเมืองอาจรวมกันเป็น
สมัชชาพลเมืองซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากองค์ประกอบที่หลากหลายจาก
พลเมืองในท้องถิ่น และมีความเหมาะสมกับภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่ มีภารกิจใน
การร่วมกับองค์กรบริหารท้องถิ่นในการดาเนินการตามที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้
•องค์ประกอบ คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม ที่มา วาระการดารงตาแหน่ง
ภารกิจของสมัชชาพลเมืองและการอื่นที่จาเป็น ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
(๑) บุคคลของท้องถิ่นมีสถานะเป็นข้าราชการส่วนท้องถิ่นหรือลูกจ้างส่วนท้องถิ่น และสามารถย้ายหรือ
สับเปลี่ยนสังกัดระหว่างองค์กรบริหารท้องถิ่นรูปแบบต่างกันได้
(๒) ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลขององค์กรบริหารท้องถิ่นทุกรูปแบบ ในระดับชาติและระดับ
จังหวัด ร่วมกันเป็นองค์กรเดียว และมีองค์ประกอบสี่ฝ่าย ประกอบด้วย ผู้แทนของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง ผู้แทนขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้แทนข้าราชการส่วนท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ มี
จานวนเท่ากัน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ส่วนองค์กรบริหารท้องถิ่นรูปแบบพิเศษอาจมีองค์กร
กลางบริหารงานบุคคลเป็นการเฉพาะได้ตามกฎหมายบัญญัติ
(๓) ให้มีคณะกรรมการดาเนินการแต่งตั้งข้าราชการส่วนท้องถิ่นโดยบะบบคุณธรรมในแต่ละจังหวัด เพื่อ
คุ้มครองข้าราชการส่วนท้องถิ่นจากการแทรกแซงของผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิกสภาท้องถิ่น ทั้งนี้
ตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา (๒/๗/-) ๕ การบริหารงานบุคคลขององค์กรบริหารท้องถิ่นต้องเป็นไปตาม
ความเหมาะสมและความจาเป็นของ อบท.และรูปแบบ
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ
ระดับความเชื่อมั่น
รวม เชื่อมั่นมาก ค่อนข้างเชื่อมั่น ไม่ค่อยเชื่อมั่น ไม่เชื่อ มั่น ไม่มีความ
เห็น
ไม่รู้จัก
• แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ 100.0 17.9 63.3 10.3 2.2 6.0 0.3
• แพทย์ในโรงพยาบาลของเอกชน 100.0 17.5 60.9 9.5 1.7 9.7 0.7
• ทหาร 100.0 13.3 59.7 13.7 3.3 9.6 0.4
• โทรทัศน์ 100.0 7.8 62.1 16.3 2.6 10.8 0.4
• ข้าราชการพลเรือน 100.0 5.9 61.1 14.9 2.6 13.2 2.3
• ผู้ว่าราชการจังหวัด 100.0 9.9 56.2 10.1 2.4 14.1 7.3
• ตารวจ 100.0 6.2 51.1 23.9 8.9 9.6 0.3
• สมาชิกสภาท้องถิ่น 100.0 4.1 51.7 21.8 6.0 14.9 1.5
• องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 100.0 4.2 51.5 21.2 6.3 15.5 1.3
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อการทางานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ
(สารวจโดย สานักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
การบริการสาธารณะ
• ไฟฟ้า 88.1
• โรงเรียน 86.2
• สาธารณสุขและศูนย์อนามัย 78.9
• ศูนย์เด็กเล็ก 77.2
• ถนน 77.2
• น้าประปา 73.5
• การดูแลคนชรา 68.4
• การดูแลคนพิการ 64.7
ความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถิ่นจัดให้
(สารวจโดย สานักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า)
การบริการสาธารณะ
• การรักษาความปลอดภัยแก่ประชาชน 60.6
• การศึกษาผู้ใหญ่ 60.0
• การจัดเก็บขยะมูลฝอย 58.1
• รบบขนส่งมวลชน 53.3
• จัดการจราจร 53.0
• จัดการน้าเสีย 51.3
• การฝึกอาชีพ 45.1
0
100
200
300
400
500
600
2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551
กรุงเทพมหานคร
เมืองพัทยา
เทศบาลนคร
เทศบาลเมือง
เทศบาลตาบล
องค์การบริหารส่วนจังหวัด
องค์การบริหารส่วนตาบล
เรื่องกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 6,924 เรื่อง
หรือคิดเป็นร้อยละ ...............ของเรื่องที่รับเข้ามาทั้งหมด (ไม่นับเรื่องที่รับโอนตามมาตรา 128)
จาแนกตามปีงบประมาณ
ลาดับ ประเภท
2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 รวม
เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง เรื่อง
1 อบต. 197 336 547 567 488 457 492 519 395 3,998
2 ทต. 85 173 221 198 182 159 147 228 146 1,539
3 ทม. 28 46 53 60 56 44 48 59 52 446
4 อบจ. 8 30 36 45 49 28 41 109 41 387
5 กทม. 13 35 27 51 36 62 37 53 40 354
6 ทน. 18 27 25 25 25 12 8 27 20 187
7 พัทยา - 1 - 3 - 5 3 - 1 13
รวม 349 648 909 949 836 767 776 995 695 6,924
หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2550 ข้อมูลถึงเดือนเมษายน 2551
กทม. = กรุงเทพมหานคร ทต. = เทศบาลตาบล
ทน. = เทศบาลนคร อบจ. = องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ทม. = เทศบาลเมือง อบต. = องค์การบริหารส่วนตาบล
คณะกรรมการ ป.ป.ช. กล่าวหาร้องเรียน 6,924 เรื่อง
• อยู่ระหว่างดาเนินการจานวน 1,975 เรื่อง
• ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาดาเนินการทางวินัย หรือผู้มีอานาจแต่งตั้งถอดถอน
ดาเนินการตามอานาจหน้าที่ และหรือส่งเรื่องให้พนักงานสอบสวนดาเนินการ
ตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาตามประกาศ คปค. ฉบับที่
31 ข้อ 6 จานวน 2,534 เรื่อง
ทุจริตก่อสร้าง, 13
ฮั้ว, 67
เรียกรับเงิน
บรรจุ, 0
ทุจริตอื่น ๆ, 32
ยักยอก
ทรัพย์, 2
เรียกรับเงินอื่น
ๆ, 3
องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ทุจริตก่อสร้าง, 1
ฮั้ว, 10
เรียกรับเงินบรรจุ, 0
ทุจริตอื่นๆ, 15
ยักยอกทรัพย์, 7
เรียกรับเงินอื่น ๆ, 2
เทศบาลนคร
ทุจริตก่อสร้าง, 14
ฮั้ว, 21
เรียกรับเงินบรรจุ
, 1
ทุจริตอื่น ๆ, 48
ยักยอกทรัพย์, 13
เรียกรับเงินอื่น
ๆ, 4
เทศบาลเมือง
ทุจริตก่อสร้าง, 80
ฮั้ว, 116
เรียกรับเงินบรรจุ, 5ทุจริตอื่น ๆ, 220
ยักยอกทรัพย์, 103 เรียกรับเงินอื่น ๆ, 10
เทศบาลตาบล
องค์การบริหารส่วนตาบล

More Related Content

What's hot

ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกyahapop
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3thnaporn999
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
อำนาจอธิปไตย
อำนาจอธิปไตยอำนาจอธิปไตย
อำนาจอธิปไตยSaiiew Sarana
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพัน พัน
 

What's hot (20)

มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
การเขียนบันทึก
การเขียนบันทึกการเขียนบันทึก
การเขียนบันทึก
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3ระบอบประชาธิปไตย 3
ระบอบประชาธิปไตย 3
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
อำนาจอธิปไตย
อำนาจอธิปไตยอำนาจอธิปไตย
อำนาจอธิปไตย
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 

Viewers also liked

แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชTaraya Srivilas
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...Taraya Srivilas
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45Taraya Srivilas
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกTaraya Srivilas
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนTaraya Srivilas
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558Taraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.Taraya Srivilas
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกTaraya Srivilas
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนTaraya Srivilas
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (20)

แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้ง
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
สู่สังคมที่ยอมรับกันว่า Fair 45
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 

Similar to ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น

การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชTaraya Srivilas
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองดำรง โยธารักษ์
 
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยPoramate Minsiri
 
ธรรมาภิบาลกับการเมืองไทย
ธรรมาภิบาลกับการเมืองไทยธรรมาภิบาลกับการเมืองไทย
ธรรมาภิบาลกับการเมืองไทยTaraya Srivilas
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลWiroj Suknongbueng
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 

Similar to ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น (12)

การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชช
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
 
ธรรมาภิบาลกับการเมืองไทย
ธรรมาภิบาลกับการเมืองไทยธรรมาภิบาลกับการเมืองไทย
ธรรมาภิบาลกับการเมืองไทย
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
04 2555111095027-aniwat-3
04 2555111095027-aniwat-304 2555111095027-aniwat-3
04 2555111095027-aniwat-3
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
ทิศทางการกระจายอำนาจฯ ดร.กระแส ชนะวงศ์
ทิศทางการกระจายอำนาจฯ ดร.กระแส ชนะวงศ์ทิศทางการกระจายอำนาจฯ ดร.กระแส ชนะวงศ์
ทิศทางการกระจายอำนาจฯ ดร.กระแส ชนะวงศ์
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น