SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
Download to read offline
บทที่ 2 นามศัพท์
อาจารย์ ชินวัชร นิลเนตร
2.1 ส่วนประกอบของนามศัทพ์
นามศัพท์ แปลว่า เสียงหรือสาเนียงที่บอกให้รู้ ชื่อคน สัตว์สถานที่ สิ่งของ แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
1) นามนาม (Noun)
2) คุณนาม (adjective)
3) สรรพนาม (Pronoun)
แผนผังแบ่งประเภทคำ
1.นำมศัพท์
นามนาม คุณนาม สัพพนาม
สาธารณนาม อสาธารณนาม ปกติ วิเสส อติวิเสส นิยมส.นาม อนิยมส.นาม
2.กิริยำศัพท์
3. อัพยยศัพท์
กิริยาอาขยาต กิริยากิตก์
อุปสรรค นิบาต ปัจจัย
2.1.1 นามนาม (Noun)
นามนาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สถานที่ วัตถุสิ่งของ เช่น ผู้ชาย ผู้หญิง สุ
นัก แมว ความ หมู กา ไก่ กรุงเทพฯ นครราชสีมา มหาวิทยาลัย โรงเรียน ผลไม้
ดอกไม้หิน รถยนต์คอมพิวเตอร์ ดินสอ ปากกา เป็นต้น นามนามแบ่งออกเป็น 2 คือ
1) สาธารณนาม คือนามที่ใช้ทั่วไปไม่จาเพราะเจาะจง แต่ใช้เรียนได้ทั่วไป ได้แก่
คน สัตว์สถานที่ สิ่งของ เช่น มนุสฺโส : มนุษย์, ปุริโส: ผู้ชาย,อิตฺถี: สตรี, ติรจฺฉาโน :
สัตว์เดรัจฉาน, นคร: เมือง,ปเทโส :ประเทศ,มหาวิทยาลโย : มหาวิทยาลัย, นายโก:
นายก /ผู้นา. ภิกฺขุ :ภิกษุ เป็นต้น
2) อสาธารณนาม คือนามไม่ทั่วไป เป็นชื่อเฉพาะ ได้แก่ เอรวณฺโณ: ช้างเอรวัณ,
เทวนคร: กรุงเทพฯ, เสมานคร: เมืองเสมา(นครราชสีมา)
2.1.2 คุณนาม (Objective)
คุณนาม คือ คาที่บอกลักษณะของของนามว่า สูง ต่า ดา ขาว โง่ ฉลาด ดี ชั่ว ยาว สั้น ยากจน
รวย สวย หล่อ เป็นต้น เช่น มหนฺต (ใหญ่) จุลฺล (เล็ก) สุนฺทร (ดี,งาม,หล่อ) ปาป (ชั่ว/เลว) นีจ
(ต่า) อุจฺจ (สูง) ทีฆ (ยาว) รสฺส(สั้น) ปณฺฑิต (ฉลาด) ทนฺธ (โง่) คาคุณศัพท์เหล่านี้เมื่อนามาใชให้
นามาขยายนาม หรือบอกลักษณะของนาม โดยวางไว้ข้างหน้านามเสมอ เช่น มหนฺโต บุคฺคลโล
(คนใหญ่) จุลฺโล อินฺทรีโย (สารอินทรีย์เล็ก) ปาโป มนุสฺโส (คนบาป) เป็นต้น โดยประกอบ
วิภัตติ และวจนะให้เหมือนนามที่มันขยาย เช่น มหนฺโต ปุริโส (ผู้ชายใหญ่) มหนฺตี อิตฺถี (ผู้หญิง
ใหญ่) มหนฺต สาล (ศาลาใหญ่) เป็นต้นฯ คาคุณนาม เมื่อนาไปใช้โดยไม่เรียงไว้ข้างหน้านาม
จะมีต้องใข้กิริยาที่เป็นธาตุ หุ ธาตูที่แปลว่า เป็น,มี เหมือน verb to be (is, am, are, was, were) ใน
ภาษาอังกฤษที่แปลว่า เป็น อยู่ คือ เช่น ปุริโส มหนฺโต โหติ : The man is big. ผู้ชายตัวใหญ่. อห
สุนฺทโร โหมิ : I am good. (ฉันเป็นคนดี)
คาคุณศัพท์มีสามารถเป็นชั้นได้3 ชึ้น ในการเปรียบเทียบเหมือนภาษาอังกฤษ ชั้นปกติ ชั้นวิ
เสส(ขั้นกว่า) และอติวิเสส(ที่สุด) ซึ่งต้องมีกฎทางไวยากรณ์เหมือนกัน ตัวอย่างในภาษาอังกฤษ
เปรียบชั้น เช่น good (ดี) better (ดีกว่า) best (ดีที่สุด) much (มาก) more (มากว่า) most (มาก
ที่สุด) ในภาษาบาลีก็มีการเปลี่ยนรูปของการเปรียบเทียบคุณในชั้นทั้ง 3 เหมือนกัน
1. ชั้นปกติ (Positive degree) เช่น สุนฺทร(ดี),ปาป(ชั่ว/เลว), อุจฺจ (สูง) นีจ (ต่า) ทีฆ
(ยาว) รสฺส (สั้น) มหนฺต (ใหญ่) จุลฺล (เล็ก) เสต (ขาว) กาฬ (ดา) รตฺต (แดง) นีล (เขียว) ปีต
(เหลือง) ฯ
2. ชั้นวิเสส /ชั้นกว่า (Comparative degree) ให้เติม ปัจจัย (Suffix) คือ อิย หรือ ตร
หลังคาคุณนามนั้น เช่น สุนฺทริย (ดีกว่า) ปาปิย (เลวกว่า) มหนฺตร (ใหญ่กว่า) จุลฺลตร (เล็ก
กว่า) เป็นต้น
3. อติวิเสส (Supertative degree) เป็นการเปลี่ยบเทียบนั้นขั้นสูงสุด โดยเติมปัจจัย
(Suffix) คือ อิฏฺฐ และตม ที่แปลว่า ที่สุดต่อท้ายคาคุณนามนั้น เช่น สุนฺทริฏฺฐ (ดีที่สุด)
มหนฺติฏฺฐ /มหนฺตตม (ใหญ่กว่า) จุลฺลิฏฺฐ /จุลฺลตโม (เล็กที่สุด) เป็นต้น
ชั้นปกติ ชั้นวิเสส เติม ตร ,อิย (กว่า) ชั้นอติวิเสส เติม ตม,อิฏฺฐ (ที่สุด)
สุนฺทร(ดี) สุนฺทรตร/ สุนฺทริย (ดีกว่า) สุนฺทรตม/สุนฺทริฏฺฐ (ดีที่สุด)
ปาป(ชั่ว/เลว ปาปตร/ ปาปิย (บาปกว่า) ปาปตม/ปาปิฏฺฐ (บาปที่สุด)
อุจฺจ (สูง) อุจฺจตร /อุจฺจิย (สูงกว่า) อุจฺจตม/ อุจฺจิฏฺฐ (สูงที่สุด)
นีจ (ต่า) นีจตร /นีจิย นีจตม /นิจิฏฺฐ
ทีฆ (ยาว) ทีฆตร /ทีฆิย ทีฆตม/ ทีฆิฏฺฐ
มหนฺต (ใหญ่) มหนฺตร /มหนฺติย มหนฺตตม /มหนฺติฏฺฐ
รสฺส (สั้น) รสฺสตร / รสฺสิย รสฺสตม / รสฺสิฏฺฐ
จุลฺล (เล็ก) จุลฺลตร /จุลฺลิย จุลฺลตม / จุลฺลิฏฺฐ
เสต (ขาว เสตตร /เสติย เสตตม / เสติฏฺฐ
กาฬ (ดา) กาฬตร / กาฬิย กาฬตม / กาฬิฏฺฐ
ตำรำงเปรียบคุณนำมในแต่ละชั้น
ตารางเปรียบคุณนามในแต่ละชั้น
กาฬ (ดา) กาฬตร / กาฬิย กาฬตม / กาฬิฏฺฐ
รตฺต (แดง) รตฺตตร / รตฺติย รตฺตตม /รตฺติฎฺฐ
นีล (เขียว) นีลตร / นีลิย นีลตม/นีลิฎฺฐ
ปีต (เหลือง) ปีตตร / ปีติย ปีตตม / ปีติฏฺฐ
คุณนาม เวลาใช้ต้องให้เรียงไว้หน้านามนามที่ขยาย ให้มี ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ตรงกัน และแปลไม่ออกสาเนียงอายตนิบาต เช่น สุนฺทโร ธมฺโม : ธรรมดี,
สุนฺทรา กถา : ถ้อยคาดี, สุนฺทร กุล :ตระกูลดี, มหนฺเต รุกฺเข ต้นไม้ ท. ใหญ่
เป็นต้นฯ
2.1.3 สัพพนาม (Promoun)
สัพพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนนามนามที่ออกชื่อมาแล้ว เพื่อไม่ให้ซ้าซาก ซึ่งไม่เพราะหู แบ่งเป็น 2 คือ
1) ปุริสสัพพนาม คาที่ใช้แทนนามนามทั่วไป (Personal Promoun) หมายถึงคาสรรพนามที่ใช้แทนคานามตามบุรุษนามทั้ง
3 กล่าวคือ ปฐมบุรุษ มัธยมบุรุษ และอุตมบุรุษ
(1) ปฐมบุรุษ ได้แก่ บุรุษที่ 1 (ปฐมปุริส) หมายถึงบุคคลที่เราพูดถึง ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษจัดเป็นบุรุษที่
3 ในภาษาบาลีสคือ ต ศัพท์ที่ แปลว่า เขา โดยนาไปแจกด้วยวิภัตตินามทั้ง 7 ซึ่งจะพูดในบทต่อไป
(2) มัธยมบุรุษ ได้แก่บุรุษที่ 2 ในภาษาบาลีเรียก มัชฌิมปุริส คือ ตุมฺห ศัพท์ แปลว่า ท่าน คุณ เป็นต้น ใน
ภาษาอังกฤษ ได้แก่ You
(3) อุดมบุรุษ บาลีเรียกว่า อุตตมปุริส ได้แก่ บุรุษที่ 3 ในภาษาไทยและอังกฤษหมายถึงบุรุษที่ 1 ในภาษาบาลี คือ
อมฺห ศัพท์แปลว่า ข้าพเจ้า กระผม หนู ดิฉัน ภาษาอังกฤษ คือ I
2. วิเสสนสัพพนาม คาที่ใช้ขยายมนาม ทาหน้าที่คล้ายคุณศัพท์ คือ มีลักษณะขยายคานาม ถ้าขยายนามบทใดก็จะ
เปลี่ยนไปตามนามบทนั้น ได้แก่ ย ศัพท์(ใด) เช่น โย ปุคฺคโล (บุคคลใด) ยา วาจา (วาจาใด) ย ผล (ผลไม้ใด) และ ต ศัพท์
(นั้น) เช่น โส ปุคฺคโล (บุคคลนั้น) สา นารี (หญิงคนนั้น) ต ผล (ผลไม้นั้น) เป็นต้น
2.2 นามศัพท์และการแจกวิภัตตินาม
นามศัพท์ คือ นามนาม คุณนาม และสรรพนาม ทั้ง 3 อย่างนี้ นามนามเป็นประธาน คุณนามและ
สัพพนามเป็นบริวาร เพราะเมื่อมีนามนามแล้ว คุณนามและสัพพนามจึงมีได้ เพราะฉะนั้น นามนามจึง
สาคัญที่สุดนามศัพท์มีส่วนประกอบสาคัญ 3 อย่าง คือ ลิงค์ วจนะ และวิภัตติ
2.2.1 ลิงค์ หรือเพศ ของนาม คือ คาพูดที่บ่งเพศของนามนาม เรียกว่า ลิงค์แบ่งเป็น 3 คือ
ปุงลิงค์(เพศชาย) อิตถีลิงค์ (เพศหญิง) นปุงสกลิงค์ไม่ใช่เพศชาย ไม่ใช่เพศหญิง
1) การกาหนดและการแบ่งลักษณของลิงค์ (เพศ)
1.เป็นลิงค์เดียว คือศัพท์เดียว เป็นได้ลิงค์เดียว เช่น ปุริโส บุรุษ เป็นปุงฺลิงค์ได้อย่างเดียว, อิตฺ
ถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์ได้อย่างเดียว, กุล ตระกูล เป็นนปุงฺสกลิงค์ได้อย่างเดียว เป็นต้น
2.เป็น 2 ลิงค์(ทวิลิงค์)ศัพท์เดียว มีรูปอย่างเดียว เป็นได้2 ลิงค์ เช่น อกฺขโร อกฺขร อักขระ
3.นามนามมีมูลศัพท์อย่างเดียว เปลี่ยนสระที่สุดศัพท์เป็นเครื่องหมายให้ต่างลิงค์กัน (โดยลง อา อี อินี
ปัจจัย เครื่องหมายอิตถีลิงค์) เช่น ราชา (ปุงฺ.), ราชินี (อิตฺ), อุปาสโก (ปุงฺ.), อุปาสิกา (อิตฺ.) เป็นต้น
2) คุณนามและสัพพนามเป็นได้ทั้ง 3 ลิงค์ (แล้วแต่นามนามที่มันไปขายาย)ลิงค์
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
(1) จัดตามกาเนิด คือ จัดลิงค์ให้ตรงตามกาเนิดเดิมของนามนั้น เช่น ปุริโส บุรุษ กาเนิด
เป็นปุงฺลิงค์ จัดให้เป็นปุงลิงค์ อิตฺถี หญิง กาเนิดเป็นอิตถีลิงค์ จัดให้เป็นอิตถีลิงค์
จิตฺต จิต กาเนิดเป็นนปุงฺสกลิงค์ จัดให้เป็นนปุงสกลิงค์
(2) จัดตามสมมุติ คือ จัดลิงค์ตามสมมุติของภาษา ไม่ตรงตามกาเนิดเดิมของนามนาม
นั้น เช่น ทาโร เมีย กาเนิดเป็นอิตถีลิงค์ สมมุติให้เป็นปุงลิงค์ เช่น ปเท
โส ประเทศ กาเนิดเป็นนปุงสกลิงค์ สมมุติให้เป็นปุงลิงค์ ภูมิ แผ่นดิน กาเนิดเป็น
นปุงสกลิงค์ สมมุติให้เป็นอิตถีลิงค์ เป็นต้น
2.2.2 วจนะของนาม
วจนะ คือ คาพูดบอกจานวน (ให้ทราบว่าน้อยหรือมาก) แบ่งเป็น 2 คือ
(1) เอกวจนะ คาพูดสาหรับออกชื่อของสิ่งเดียว เช่น ปุริโส ชายคนเดียว อิตฺถี (หญิงคน
เดียว) วตฺถุ (สิ่งของอันเดียว) เป็นต้น
2) พหุวจนะ คาพูดสาหรับออกชื่อของมากกว่าสิ่งเดียว คือตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป เช่น ปุริสา
ชายหลายคน อิตฺถิโย (หญิงหลายคน) วตฺถูนิ (สิ่งของหลายอัน) เป็นต้น
2.2.3 วิภัตติ
วิภัตตินาม คือ สิ่งที่ใช้แจกศัพท์ให้มีรูปต่างๆ เพื่อให้มีเนื้อความเชื่อมต่อกับคาอื่นๆ
ในประโยค วิภัตตินั้นมี 14 ตัว แบ่งเป็น เอกวจนะ 7 พหุวจนะ 7 ดังนี้
วิภัตติ ที่ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ที่ 1 สิ โย
ทุติยา ที่ 2 อ โย
ตติยา ที่ 3 นา หิ
จตุตฺถี ที่ 4 ส น
ปญฺจมี ที่ 5 สฺมา หิ
ฉฏฺฐี ที่ 6 ส น
สตฺตมี ที่ 7 สฺมึ สุ
อาลปนะ - สิ โย
2.3 อายตนิบาต
นามศัพท์ เมื่อประกอบวิภัตติแล้ว จะมีสาเนียงการแปลต่างกันไป ตามวิภัตตินั้น เมื่อ
นาไปใช้มีความหมายต่อเนื่องกับคาอื่นได้ คาที่เชื่อมต่อความหมายของศัพท์ เรียกว่า อายต
นิบาต (ตรงกับบุพบทในภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ ) อายตนิบาต มีดังนี้
อายตนิบาต คาแปลประจาวิภัติทั้ง 7 วิภัติ
วิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ฝ่ายพหุวจนะ
ปฐมา อ. (อ่านว่า อันว่า) อ. - ท. (อ่านว่า อันว่า....ทั้งหลาย)
ทุติยา ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ. ซึ่ง-ท., ..... เฉพาะ-ท.
ตติยา
ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วย
ทั้ง.
ด้วย-ท., ..... ด้วยทั้ง-ท.
จตุตฺถี แก่, เพื่อ, ต่อ. แก่-ท., ...... ต่อ-ท.
ปญฺจมี แต่, จาก, กว่า, เหตุ. แต่-ท., ...... เหตุ-ท.
ฉฏฺฐี แห่ง, ของ, เมื่อ. แห่ง-ท., ...... เมื่อ-ท.
สตฺตมี
ใน, ใกล้, ที่, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ เหนือ,
บน, ณ...
ใน -ท., ...... บน -ท.,ณ -ท.
ฯ
อาลปนะ แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่. แน่ะ-ท.,ดูก่อน ท. ข้าแต่-ท.
ปฐมาวิภัตติ และอาลปนวิภัตติ ไม่มีสาเนียงอายตนิบาต แต่ใช้คาว่า ‘อันว่า’ และ ‘แน่ะ ดูก่อน
ข้าแต่’ แทน ตามลาดับ เพื่อเป็นเครื่องสังเกตวิภัตติ ปฐมาวิภัตติ แบ่งเป็น 2 คือ เป็นประธาน
ในประโยคที่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า
ลิงฺคตฺถ เช่น มหาปญฺโญ อานนฺโทอ.พระอานนท์ ผู้มีปัญญามากเป็นประธานในประโยคที่มี
กิริยาคุมพากย์เรียกว่า สยกตฺตา เช่น อานนฺโท ธมฺม เทเสติ อ.พระอานนท์ ย่อมแสดง ซึ่งธรรม
เป็นอาลปนะ คาสาหรับร้องเรียก อาลปนวิภัตติ ไม่มีวิภัตติเป็นของตนเอง แต่ยืมปฐมาวิภัตติ
มาใช้
2.4 การันต์
การันต์ คือ สระที่สุดแห่งศัพท์ โดยย่อมี 6 คือ อ อา อิ อี อุ อู โดยพิสดารมี 13 คือ
ในปุงลิงค์ มีการันต์ 5 คือ อ อิ อี อุ อู
ในอิตถีลิงค์ มีการันต์ 5 คือ อา อิ อี อุ อู
ในนปุงสกลิงค์ มีการันต์ 3 คือ อ อิ อุ
2.5 การแจกวิภัตตินาม
วิธีแจกนามนาม ด้วยวิภัตตินั้น แจกตามการันต์และลิงค์ (วิภัตติ วจนะ) ศัพท์ที่การันต์และลิงค์เหมือนกัน ให้แจกเป็นแบบ
เดียวกัน เช่น ปุริส อาจริย ปณฺฑิต เป็น อ การันต์ปุงลิงค์เช่นเดียวกัน ให้แจกตามแบบ อ การันต์ปุงลิงค์
1ปุงลิงค์ มีการันต์ 5 ตัว คือ อ,อิ,อี,อุ,อู
อ การันต์ในปุงลิงค์แจกอย่าง ปุริส (ผู้ชาย) ดังนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ปุริโส ปุริสาป
ทุติยา ปุริส ปุริเส
ตติยา ปุริเสน ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
จตุตถี ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถ ปุริสาน
ปญฺจมี ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา ปุริเสหิ, ปุริเสภิ
ฉัตถี ปุริสสฺส ปุริสาน
สตฺตมี ปุริสสฺมึ, ปุริสมฺหิ, ปุริเส ปุริเสสุ
อาปนะ ปุริส ปุริสา
คาอธิบายใน อ การันต์
1. เอา อ กับ สิ เป็น โอ, กับ โย ปฐมา เป็น อา.
2. เอา อ เป็น อ ในที่ปวง, อ กับ โย ทุติยา เป็น เอ.
3. เอา อ กับ นา เป็น เอน หิ และ สุ อยู่หลัง เอา อ เป็น เอ
เอา หิ เป็น ภิ ในที่ทั้งปวง.
4. เอา ส เป็น สฺส แต่ ส จตุตถี เป็น ตฺถ, กับ อ เป็น อาย ได้
น อยู่หลัง ทีฆะสระในที่ทั้งปวง.
5. เอา สฺมา เป็น มฺหา ได้ใน ปุ. นปุ. กับ อ เป็น อา.
6. เอา สฺมึ เป็น มฺหิ ได้ ใน ปุ. นปุ. กับ อ เป็น เอ.
7. อาลปนะ เอกวจนะ คงเป็น อ, พหุวจนะ เป็น อา.
ศัพท์ที่เป็น อ การันต์เหล่านี้แจกเหมือน ปุริส (บุรุษ)
อาจริย อาจารย์ กุมาร เด็ก ขตฺติย กษัตริย์
คณ หมู่ โจร โจร ฉณ มหรสพ
ชน ชน ตุรค ม้า เถน ขโมย
ฝึกแปลสาเนียงอายตนิบาต
ปฐมาวิภัตติ
-นโร นิสีทติ. : อ. คน ย่อมนั่ง – นรา นิสีทนฺติ : อ. คน
ทั้งหลาย ย่อมนั่งฯ ทุติยาวิภัตติ
-อห นร ปุจฺฉามิ. อ.ฉัน ย่อมถาม ซึ่งคน. มย นเร ปุจฺฉามา.
อ.พวกเรา ย่อมถาม ซึ่งคนทั้งหลาย ฯตติยาวิภัตติ
-สกุโณ นเรน ฆยเต. อ.นกถูกฆ่าโดยคน. ปญฺจสีลานิ นเรหิ
รกฺขนฺติ. อ.ศีลห้า ย่อมรักษา โดยคนทั้งหลายฯจตุตถีวิภัตติ
- พุทฺโธ นรสฺส (นราน) ธมฺม เทเสติ. พระพุทธเจ้า ย่อมทรง
แสดงซึ่งธรรม แก่คน/คนทั้งหลายฯ
อิ การันต์ปุงลิงค์แจกอย่าง มุนิ (ผู้รู้)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา มุนิ ม,,มุนิ มุนโย, มุนี มุนโย, มุนี
ทุติยา มุนึ มุนโย, มุนี
ตติยา มุนินา มุนีหิ, มุนีภิ
จตุตถี มุนิสฺส, มุนิโน มุนีน
ปญฺจมี มุนิสฺมา, มุนิมฺหา มุนีหิ, มุนีภิ
ฉัตถี มุนิสฺส, มุนิโน มุนีน
สตฺตมี มุนิสฺมึ, มุนิมฺหิ มุนิสุ
อาปนะ มุนิ มุนโย, มุนี
คาอธิบายใน อุ การันต์
1. สระที่มิใช่ อ อยู่หน้า ลบ สิ เสีย, โย
อยู่หลัง เอา อิ ปุ. เป็น อ ก็ได้
ลบ โย เสียแล้ว ทีฆะ สระ อิ อุ ใน
ลิงค์ทั้ง 3 ก็ได้
2. อิ อี อุ อู ใน ปุ. นปุ. คง นา ไว้, หิ น
สุ อยู่หลัง ทีฆะ อ อิ อุ เป็นอา อี อู ใน
ลิงค์ทั้งปวง
3. เอา ส เป็น สฺส ได้ปุ. นปุ. ข้างหน้าเป็น
สระที่มิใช่ อ เอา เป็น โน ได้2 ลิงค์นั้น
4. อาลปนะ มีคติแห่ง ปฐมา.
ศัพท์ อิ การันต์ปุงลิงค์เหล่านี้แจกเหมือน มุนิ ศัทพ์
อคฺคิ เปลวไฟ วิธิ วิธี
ถปติ ช่างไม้ อหิ งู
มณิ แก้วมณี ปติ เจ้า, ผัว
อริ ข้าศึก วีหิ ข้าวเปลือก
นิธิ ขุมทรัพย์ สมาธิ สมาธิ
อี การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอย่าง เสฏฺฐี (เศรษฐี)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา เสฏฺฐี เสฏฺฐิโน เสฏฺฐี
ทุติยา เสฏฺฐึ เสฏฺฐิน เสฏฺฐิโน เสฏฺฐี
ตติยา เสฏฺฐินา เสฏฺฐีหิ เสฏฺฐีภิ
จตุตถี เสฏฺฐิสฺส เสฏฺฐิโน เสฏฺฐีน
ปญฺจมี เสฏฺฐิสฺมา เสฏฺฐิมฺหา เสฏฺฐีหิ เสฏฺฐีภิ
ฉตฺถี เสฏฺฐิสฺส เสฏฺฐิโน เสฏฺฐีน
สตฺตมี เสฏฺฐิสฺมึ เสฏฺฐิมฺหิ เสฏฺฐีสุ
อาปนะ เสฏฺฐิ เสฏฺฐิโน เสฏฺฐี
คาอธิบายใน อี การันต์
1. เอา อ เป็น น ได้บ้าง
2. อี อู ปุ. อยู่หน้า เอา โย เป็น โน
แล้ว รัสสะสระตัวหน้าเสีย หรือ ลบ
โย ก็ได้
3. วิภัตติ เอกวจนะ ทั้งปวง ยก
ปฐมา เสีย และ โย อยู่หลังต้อง
รัสสะ อี อู ใน ปุ. อิตฺถี.
ศัทพ์ที่เป็น อี การันต์ เหล่านี้แจกเหมือน เสฏฺฐี–เศรษฐี
ตปสี คนมีตปะ ทณฺฑี คนมีไม้เท้า
เมธาวี คนมีปัญญา สิขี นกยูง
ภาณี คนช่างพูด โภคี คนมีโภคะ
มนฺตี คนมีความคิด สุขี คนมีความสุข
อุ การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอย่าง ครุ (ครู)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ครุ ครโว, ครู
ทุติยา ครุ ครโว, ครู
ตติยา ครุนา ครูหิ, ครูภิ
จตุตถี ครุสฺส ครุโน, ครูน
ปญฺจมี ครุสฺสมา, ครุมฺหา, ครุมฺหา ครูหิ, ครูภิ
ฉัตถี ครุสฺส, ครุโน, ครูน
สตฺตมี ครุสฺมึ, ครุมฺหิ ครูสุ
อาปนะ ครุ ครเว, ครโว,
ศัพท์เหล่านี้แจกตาม ครุ ศัทพ์
ภิกฺขุ ภิกษุ ริปุ ข้าศึก
สตฺตุ ศัตรู เสตุ สะพาน
เหตุ เหตุ เกตุ ธง
ชนฺตุ สัตว์เกิด ปสุ สัตว์เลี้ยง
พนฺธุ พวกพ้อง พพฺพุ เสือ/ปลา/แมว
อู การันต์ปุงลิงค์แจกอย่าง วิญญู (ผู้รู้วิเศษ)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา วิญฺญู วิญฺญุโน ,วิญฺญู
ทุติยา วิญฺญุ วิญูญุโน, วิญฺญู
ตติยา วิญฺญุนา วิญฺญูหิ, วิญฺญูภิ
จตุตถี วิญฺญุสฺส, วิญฺญุโน วิญฺญูน
ปญฺจมี วิญฺญุสฺมา, วิญฺญุมฺหา วิญฺญูหิ, วิญฺญูภิ
ฉัตถี วิญฺญุสฺส, วิญฺญุโน วิญฺญูน
สตฺตมี วิญฺญุสฺมึ, วิญฺญุมฺหิ วิญฺญูสุ
อาปนะ วิญฺญุ วิญฺญุโน, วิญฺญู
วิธีเปลี่ยนวิภัตติทั้งปวง เหมือน อี การันต์ แปลกแต่ อ คง อ ไว้เท่านั้น
ศัทพ์เหล่านี้แจกเหมือน วิญฺญู
สยมฺภู ผู้เป็นเอง กตญฺญู ผู้รู้อุปการะที่ผู้อื่นทาแล้ว
เวทคู ผู้ถึงพระเวท ปารคู ผู้ถึงฝั่ง
อภิภู พระผู้เป็นยิ่ง สพฺพญฺญู ผู้รู้สิ่งทั้งปวง
2) อิตถีลิงค์ มี 5 การันต์ คือ อา อิ อี อุ อู
อา การันต์แจกเหมือนกัน กญฺญา (นางสาวน้อย)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา กญฺญา กญฺญาโย, กญฺญา
ทุติยา กญฺญ กญฺญาโญ, กญฺญา
ตติยา กญฺญาย กญฺญาหิ, กญฺญาภิ
จตุตถี กญฺญาย กญฺญาน
ปัญจมี กญฺญาย กญฺญาหิ, กญฺญาภิ
ฉัตถี กญฺญาย กญฺญาน
สัตตมี กญฺญาย,กญฺญาย กญฺญาสุ
อาลปนะ กญฺเญ กญฺญาโย, กญฺญา
คาอธิบายใน อา การันต์
1. เอา อ เป็นนิคหิต แล้ว รัสสะ
อา ข้างหน้า.
2. อา อยู่หน้า เอา วิภัตติ เอก
วจนะ คือ นา ส สฺมา สฺมึ กับ อา
เป็น อาย.
3. เอา สฺมึ เป็น ย บ้างก็ได้.
4. อา เอกวจนะ เอา อา เป็น เอ.
ศัทพ์ที่เป็น อา การันต์ แจกเหมือน กญฺญา คือ
อจฺฉรา นางอัปสร อาภา รัศมี
อิกฺขณิกา หญิงแม่มด อีสา งอนไถ
อุกฺกา เล็น เอสิกา เสาระเนียด
โอชา โอชา กจฺฉา รักแร้
คทา ตะบอง ทาริกา เด็กหญิง
อิ การันต์อิตถีลิงค์แจกอย่าง รัตติ (ราตรี)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา รตฺติ รตฺติโย, รตฺตี
ทุติยา รตฺตึ รตฺติโย, รตฺตี
ตติยา รตฺติยา รตฺตีหิ,รตฺตีภิ
จตุตถี รตฺติยา รตฺตีน
ปัญจมี รตฺติยา,รตฺยา รตฺตีหิ,รตฺตีภิ
ฉัตถี รตฺติยา รตฺตีน
สัตตมี รตฺติยา,รตฺติย,รตฺย รตฺตีสุ
อาลปนะ รตฺติ รตฺติโย, รตฺตี
คาอธิบายใน อิการันต์
1. อิ อี อุ อู อิตถีลิงค์ อยู่ข้างหน้า เอา
วิภัตติ เอกวจนะ คือ นา ส สฺมา
สฺมึ เป็น ยา
2. อิ อิตถีลิงค์ อยู่ข้างหน้า เอา สฺมา เป็น
อา เอา สฺมึ เป็น อ แล้ว เอา
อิ เป็น ย ได้บ้าง
ศัพท์เหล่านี้แจกตาม รตฺติ
อาณิ ลิ่ม อิทฺธิ ฤทธิ์
อีติ จัญไร อุกฺขลิ หม้อข้าว
อูมิ คลื่น กฏิ สะเอว
ขนฺติ ความอดทน คณฺฑิ ระฆัง
ฉวิ ผิว รติ- ความยินดี
อี การันต์แจกอย่าง นารี (ผู้หญิง) ดังนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา นารี นาริโย, นารี
ทุติยา นารึ นาริโย, นารี
ตติยา นาริยา นารีหิ, นารีภิ
จตุตถี นาริยา นารีน
ปัญจมี นาริยา นารีหิ, นารีภิ
ฉัตถี นาริยา นารีน
สัตตมี นาริยา,นาริย นารีสุ
อาลปนะ นาริ นาริโย,นารี
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน นารี
อุ กำรันต์ในอิตถีลิงค์แจกเหมือน รชฺชุ(เชือก)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา รชฺชุ รชฺชุโย, รชฺชู
ทุติยา รชฺชุ รชฺชุโย, รชฺชู
ตติยา รชฺชุยา รชฺชูหิ, รชฺชูภิ
จตุตถี รชฺชุยา รชฺชูน
ปัญจมี รชฺชุยา รชฺชูหิ, รชฺชูภิ
ฉัตถี รชฺชุยา รชฺชูสุ
สัตตมี รชฺชุยา,รชฺชุย รชฺชูสุ
อาลปนะ รชฺชุ รชฺชุโย, รชฺชู
กุมารี เด็กหญิง ปฐวี แผ่นดิน
อิตฺถี หญิง ฆรณี หญิงแม่มด
สิมฺพลี ต้นงิ้ว มาตุลานี ป้ า/น้า
ธานี เมือง กุกุฏี แม่ไก่
วิชนี พัด สขี เพื่อนหญิง
เทวี พระราชินี.
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน รชฺชุ
วิชฺชุ สายฟ้ า อุรุ ดาว
กาสุ หลุม เธนุ แม่โคนม
ยาคุ ข้าวต้ม ลาวุ น้าเต้า
กเรณู ช้างตัวเมีย สสฺสุ แม่ผัว
อู การันต์ในอิตถีลิงค์แจกอย่าง วธู (หญิงสาว)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา วธู วธุโย, วธู
ทุติยา วธุ วธุโย, วธู
ตติยา วธุยา วธูหิ, วธูภิ
จตุตถี วธุยา วธูน
ปัญจมี วธุยา วธูหิ, วธูภิ
ฉัตถี วธุยา วธูน
สตฺตมี วธุยา,วธุย วธูสุ
อาลปนะ วธุ วธุโย, วธู
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน วธู
ภู แผ่นดิน สินฺธู แม่น้าสินธู
ชมฺพู ต้นหว้า วิธู เถาวัลย์
จมู เสนา สรภู ตุ๊กแก
3.นปุงสกลิงค์ มี 3 การันต์ คือ อ,อิ,อุ
อ การันต์ในนปุงสกลิงค์แจกอย่าง กุล (ตระกูล)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา กุล กุลานิ
ทุติยา กุล กุลานิ
ตติยา กุเลน กุเลหิ, กุเลภิ
จตุตถี กุลสฺส, กุลาย, กุลตฺถ กุลาน
ปัญจมี กุลสฺมา, กุลมฺหา, กุลา กุเลหิ, กุเลภิ
ฉัตถี กุลสฺส กุลาน
สตฺตมี กุลสฺมึ, กุลมฺหิ. กุเล กุเลสุ
อาลปนะ กุล กุลานิ
คาอธิบายใน อ การันต์
1. อ นปุ. อยู่หน้า เอา สิ เป็น อ
2. เอา โย เป็น นิ ใน นปุ. ทั้งสิ้น, และ
ทีฆะสระเบื้องต้น,
3. อาลปนะทั้งสองมีคติแห่ง ปฐมา
เหลือนั้นเหมือน อ การันต์ ใน ปุ.
ทั้งสิ้น
ศัพท์ที่เป็น อ การันต์ในนปุ. แจกตาม กุล ศัพท์
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
องฺค องค์ ฉตฺต ฉัตร, ร่ม
อิณ หนี้ ชล น้า
อุทร ท้อง ตล พื้น
โอฏฺฐ ริมฝีปาก ธน ทรัพย์
กฏฺฐ ไม้ ปณฺณ ใบไม้, หนังสือ
กมล ดอกบัว ผล ผลไม้
ฆร เรือน พล กาลัง,พล
จกฺก จักร, ล้อ ภตฺต ข้าวสวย
มชฺช น้าเมา รตน แก้ว
ยนฺต ยนต์ วตฺถ ผ้า
อิ การันต์ นปุง.แจกอย่าง อกฺขิ (นัยน์ตา)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา อกฺขิ อกฺขีนิ, อกฺขี
ทุติยา อกฺขึ อกฺขีนิ, อกฺขี
ตติยา อกฺขินา อกฺขีหิ, อกฺขีภิ
จตุตถี อกฺขิสฺส,อกฺขิโน อกฺขีน
ปัญจมี อกฺขิสฺมา, อกฺขิมฺหา อกฺขีหิ, อกฺขีภิ
ฉัตถี อกฺขิสฺส, อกฺขิโน อกฺขีน
สตฺตมี อกฺขิสฺมึ, อกฺขิมฺหิ อกฺขีสุ
อาลปนะ อกฺขิ อกฺขีนิ,อกฺขี
ศัพท์ที่เป็น อิ การันต์ในนปุ.เหล่านี้แจกตาม อกฺขิ
อฎฺฐิ- กระดูก อจฺจิ -เปลวไฟ สปฺปิ-เนยใส ทธิ- นมส้ม วาริ -น้า สตฺถิ -ตระโพก
อุ การันต์ในนปุง.แจกอย่าง วตฺถุ (วัตถุ)
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา วตฺถุ วตฺถูนิ, วตฺถู
ทุติยา วตฺถุ วตฺถูนิ,วตฺถู
ตติยา วตฺถุนา วตฺถูหิ, วตฺถูภิ
จตุตถี วตฺถุสฺส, วตฺถุโน วตฺถูน
ปัญจมี วตฺถุสฺมา, วตฺถุมฺหิ วตฺถูหิ,วตฺถูภิ
ฉัตถี วตฺถุสฺส, วตฺถุโน วตฺถูน
สตฺตมี วตฺถุสฺมึ, วตฺถุมฺหิ วตฺถูสุ
อาลปนะ วตฺถุ วตฺถูนิ, วตฺถู
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน วตฺถุ
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
อมฺพุ น้า ชตุ ยาง
อสฺสุ น้าตา ธนุ ธนู
อายุ อายุ มธุ น้าผึ้ง
จกฺขุ นัยน์ตา มสฺสุ หนวด
วปุ กาย สชฺฌุ เงิน
2.6 กติปยศัพท์
กติปยศัพท์ แปลว่า ศัพท์จาพวกเล็กๆน้อยๆ มีวิธีแจกเฉพาะตนต่างหาก ได้แก่ศัพท์ต่อไปนี้ คือ
อตฺต (ตัวตน) พฺรหฺม (พรหม) ราช(พระราชา) ภควนฺตุ (พระผู้มีพระภาคเจ้า) ภวนฺต (ผู้เจริญ) อรหนฺต (พระ
อรหันต์) สตฺถุ (พระศาสบรรดาศัพท์เหล่านี้ บางศัพท์ก็เปนลิงค์เดียว บางศัพท์ก็เปนสองลิง์ค ในที่นี้จะ
แสดงแบบที่ไม่เหมือนกันแบบซึ่งแจกแล้วข้างต้นเท่านั้น ศัพท์ใดที่เป็น๒ ลิงค์แจกไว้แตลิงค์ดียว พึ่งเข้าใจ
เถิดวาอีกลิงค์หนึ่งแจกตามการันต์ที่มีมาแลวในลิงค์ทั้ง ๓ เหมือนหนึ่ง ราชศัพท์เป็ น ๒ ลิงค์จะแจกแต่
แบบที่เป็นปุลิงค์ แบบที่เป็นอิตถีลิงค์จะ
ไม่แจก เพราะ ราชา ศัพท์ในอิตถีงลิงค์เป็น ราชินี มีวิธีแจกเหมือน อีการันต์ในอิตถีลิงค์ข้างต้น.
อตฺต (ตน) เป็นปุงลิงค์ นิยมแจกเฉพาะ เอกวจนะ หากต้องการใช้เป็นพหุวจนะจะวางไว้ 2 คาดังนี้
วิภัตติ เอกวจนะ
ปฐมา อตฺตา
ทุติยา อตฺตาน
ตติยา อตฺตนา
จตุตถี อตฺตโน
ปัญจมี อตฺตนา
ฉัตถี อตฺตโน
สตฺตมี อตฺตนิ
อาลปนะ อตฺต
พฺรหฺม (พรหม) เป็น ปุงลิงค์ (เพศชาย) แจกได้ทั้ง 2 วจนะดังนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา พฺรหฺมา พฺรหฺมาโน
ทุติยา พฺรหฺมาน พฺรหฺมโน
ตติยา พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ,พฺรหฺเมภิ
จตุตถี พฺรหฺมุโน พฺรหฺมาน
ปัญจมี พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ, พฺรหฺเมภิ
ฉัตถี พฺรหฺมุโน พฺรหฺมาน
สตฺตมี พฺรหฺมนิ พฺรหฺเมสุ
อาลปนะ พฺรหฺเม พฺรหฺมาโน
วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์
1.เอา อ ที่สุด แห่ง พฺรหฺม กับ สิ เป็น อา, กับ โย เป็น อาโน.
2.เอา อ กับ อ เป็น อาน.
3.นา ส อยู่หลัง เอา อ ที่สุดแห่ง พฺรหฺม เป็นอุ แล้วคง นา ไว้.
4.เอา ส เป็น โน , ถ้าไม่เอา ส เป็น โน ไม่ต้องเอา อ เป็น อุ.
5.เอา สฺมา วิภัตติ เป็น นา.
6.เอา สฺมึ วิภัตติ เป็น นิ.
7.เอา อาลปนะ เอกวจนะ เป็น เอ.
ราช (พระราชา) เป็น ปุงลิงค์ (เพศชาย) แจกได้ทั้ง 2 วจนะดังนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ราชา ราชาโน
ทุติยา ราชาน ราชาโน
ตติยา รญฺญา ราชูหิ, ราชูภิ
จตุตถี รญฺโญ, ราชิโน รญฺญ, ราชูน
ปัญจมี รญฺญา ราชูหิ, ราชูภิ
ฉัตถี รญฺโญ, ราชิโน รญฺญ,ราชูน
สตฺตมี รญฺเญ, ราชินิ ราชูสุ
อาลปนะ ราช ราชาโน
ศัพท์สมาส มี ราช ศัพท์ เป็นที่สุด เหมือน มหาราช แจกเหมือน อย่างนี้ได้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา มหาราชา มหาราชาโน
ทุติยา มหาราช มหาราเช
ตติยา มหาราเชน มหาราเชหิ มหาราเชภิ
จตุตถี มหาราชสฺส ฯลฯ มหาราชาน
ปัญจมี มหาราชสฺมา ฯลฯ มหาราเชหิ มหาราเชภิ
ฉัตถี มหาราชสฺส มหาราชาน
สตฺตมี มหาราชสฺมึ ฯลฯ มหาราเชสุ
อาลปนะ มหาราช มหาราชาโน
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน มหาราช
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
อนุราช พระราชาน้อย นาคราช นาคผู้พระราชา
อภิราช พระราชาผู้ยิ่ง มิคราช เนื้อผู้พระราชา
อุปราช อุปราช สุปณฺณราช ครุฑผู้พระราชา
จกฺกวตฺติราช พระราชาผู้จักรพรรดิ หสราช หงษ์ผู้พระราชา
เทวราช เทวดาผู้พระราชา
ภควนฺตุ (พระผู้มีพระภาคเจ้า) เป็นปุงลิงค์ แจกดังนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ภควา ภควนฺตา, ภควนฺโต
ทุติยา ภควนฺต ภควนฺเต, ภควนฺโต
ตติยา ภควตา ภควนฺเตหิ , ภควนฺเตภิ
จตุตถี ภควโต ภควนฺตาน
ปัญจมี ภควตา ภควนฺเตหิ , ภควนฺเตภิ
ฉัตถี ภควโต ภควนฺตาน
สตฺตมี ภควติ ภควนฺเตสุ
อาลปนะ ภควา ภควนฺตา, ภควนฺโต
วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์
1.เอา นฺตุ ปัจจัย เป็น นฺต ได้
2.เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา, เอา โย เป็น อา เป็น โอ,
3.เอา นฺตุ กับ นา เป็น ตา, กับ ส เป็น โต, กับ ส เป็น ตกับ สฺมึ เป็น ติ,
4.สฺมา มีคติแห่ง นา.
5.เอา นฺตุ กับ อาลปนะ เอก. เป็น อ เป็น อา, แบบนี้ เอา อุ ที่ นฺตุ เป็น อ แล้วแจกเหมือน
อ การันต์ ใน ปุ. บ้างก็ได้.
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน ภควนฺตุ
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
อายสฺมนฺตุ คนมีอายุ คุณวนฺตุ คนมีคุณ
จกฺขุมนฺตุ คนมีจักษุ ชุติมนฺตุ คนมีความโพลง
ธนวนฺตุ คนมีทรัพย์ ธิติมนฺตุ คนมีปัญญา
ปญฺญวนฺตุ คนมีปัญญา ปุญฺญวนฺตุ คนมีบุญ
พนฺธุมนฺตุ คนมีพวกพ้อง สติมนฺตุ คนมีสติ
ข้อควรจาใน ภควนฺต ศัพท์
ศัพท์ที่นามาแจกตาม ภควนฺตุ ได้ศัพท์นั้นต้องประกอบด้วย วนฺตุ,มนฺตุ และอิมนฺต,ตวนฺตุ ปัจจัย
นอกจากที่กล่าวนี้นามาแจกตามไม่ได้. เฉพาะ วนฺตุ และ มนฺตุ ปัจจัย ใช้ประกอบกับศัพท์ต่างกัน คือ วนฺตุ
ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็น อ การันต์, มนฺตุ ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็น อิ การันต์หรือ อุ การันต์
ภควนฺตุ เป็นได้เฉพาะปุลิงค์อย่างเดียว.ฝ่ายพหุวจนะ ถ้ามีคาว่า ตา หรือ เต อยู่ท้ายศัพท์เช่น คาว่า ภควนฺตา
,ภควนฺเต ใช้เป็นทฺวิวจนะ. สวน ภควนฺโต และ ที่นอกจาก ภควนฺตา,ภควนฺเต ใช้เป็น พหุวจนะทั้งนั้น อร
หันฺต์ (พระอรหันต์ ) เป็นทฺวิลิงค์ ในปุลิงค์แจกเหมือน ภควนฺตุ แปลกแต ป. เอก. เป็น อรหา,อรห์ เท่านั้น
อิตถีลิงค์ ลง อี ปัจจัย เป็นเครื่องหมายที่ทายศัพท์ เป็นอรหนฺตี แจกอย่าง อี การันต์ (นารี) ในอิตถีลิงค์ อร
หา เอา นฺต กับ สิ เป็น อา อรห์ เอา นฺต กับ สิ เปน อ.
ศัพท์ที่มี นฺต เป็นที่สุด ซึ่งเป็นศัพท์ คุณนาม เช่น มหนฺต จะนามาแจกตามแบบนี้ก็ได้ แต่ไม่ทั่วไป ทุก
วิภัตติ. ถ้าเป็นศัพท์นามนาม เช่น กมมนฺต จะนามาแจกตามแบบนี้ไม่ได้เลย
ภวนฺต (ผู้เจริญ) เป็น ทฺวิลิงค์ ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ภว ภวนฺตา ภวนฺโต
ทุติยา ภวนฺต ภวนฺเต ภวนฺโต
ตติยา ภวตาโภตา ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ
จตุตถี ภวโต โภโต ภวต ภวนฺตาน
ปัญจมี ภวตาโภตา ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ
ฉัตถี ภวโต โภโต ภวต ภวนฺตาน
สตฺตมี ภวนฺเต ภวนฺเตสุ
อาลปนะ โภ ภวนฺตา ภวนฺโต โภนฺตา โภนฺโต
วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์
1.เอา นฺต กับ สิ เป็น อ.
2.เอา ภว เป็น โภ ได้บ้าง.
3.อาลปนะ เอก. เอา ภวนฺต เป็น โภ.
4.นอกนั้นเหมือน ภควนฺตุ.
5.ศัพท์ที่มี อนฺต เป็นที่สุด บางวิภัตติ จะแจกเหมือน อ การันต์ ใน ปุ.
นปุ. ก็ได้ เพราะเป็นการง่ายจึงไม่แสดงไว้ในที่นี้.
สตฺถุ (ผู้สอน) เป็นปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา สตฺถา สตฺถาโร
ทุติยา สตฺถาร สตฺถาโร
ตติยา สตฺถารา สตฺถุนา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ
จตุตถี สตฺถุ สตฺถุโน สตฺถาราน
ปัญจมี สตฺถารา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ
ฉัตถี สตฺถุ สตฺถุโน สตฺถาราน
สตฺตมี สตฺถริ สตฺถาเรสุ
อาลปนะ สตฺถา สตฺถาโร
วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์
1.เอา อุ การันต์ กับ สิ เป็น อา.
2.วิภัตติอื่นนอกจาก สิ และ ส เอา อ การันต์ เป็น อาร แล้ว
เอา โย เป็น โอ นา เป็น อา สฺมึ เป็น อิ แล้วลบ อ
ที่สุดแห่งสระ อาร เสีย.
3.ลบ ส บ้างก็ได้.
4.เมื่อเอา สฺมึ เป็น อิ แล้ว ต้องรัสสะ อาร เป็น อร.
5.ศัพท์มี ตุ ปัจจัย เป็นที่สุดใน ปุ. แจกอย่างนี้
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน สตฺถุ
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
กตฺตุ ผู้ทา ขตฺตุ ผู้ขุด
ญาตุ ผู้รู้ ทาตุ ผู้ให้
นตฺตุ หลาน เนตุ ผู้นาไป
ภตฺตุ ผู้เลี้ยง, ผัว วตฺตุ ผู้กล่าว
โสตุ ผู้ฟัง หนฺตุ ผู้ฆ่า ปิตุ (พ่อ) เป็น ปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ปิตา ปิตโร
ทุติยา ปิตร ปิตโร
ตติยา ปิตรา ปิตุนา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปิตูหิ ปิตูภิ
จตุตถี ปิตุ ปิตุโน ปิตราน ปิตูน
ปัญจมี ปิตรา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปิตูหิ ปิตูภิ
ฉัตถี ปิตุ ปิตุโน ปิตราน ปิตูน
สตฺตมี ปิตริ ปิตเรสุ ปิตูสุ
อาลปนะ ปิตา ปิตโร
ภาตุ พี่ชาย น้องชาย,ชามาตุ ลูกเขย 2 ศัพท์นี้ แจกเหมือน ปิตุ.วิธีเปลี่ยนวิภัตติและ
การันต์เหมือน สตฺถุ แปลกแต่ อาเทสเป็น อร แทน อาร ในวิภัตติทั้งปวง อาลปนะนั้น เมื่อ
วาตามแบบเป็นอย่างนี้ แต่คาพูดและวิธีเขียนหนังสือไม่ใช่ ใช้ตาต แทน,เอก. ตาต พหุ. ตา
ตา ใช้ได้ทั่วไปทั้งเรียกบิดาหรอบ ตรเหมือนภาษาของเรา คาว่า ตาต (พอ)ถ้าเป็นวิภัตติอื่น
เป็นชื่อของบิดา ถาเป็น อาลปนะ ใช้เรียกได้ทั้งบิดาทั้งบุตร. ปตุ ศัพท์ถาประกอบกับ โต
ปัจจัย ต้องเอาสระที่สุดของตนเปน อิ เปน ปติโร แม้ศัพท์อื่นที่คล้ายคลึงกัน ก็เอาสระที่สุด
ของตนเป็น อิ ได้ เช่น มาติโตภาติโต เป็นต้น. ใช้ ภาติกา แทนภาตุได้บ้าง และแจกตาม
แบบ อ การันต์ใน ปุ. ได้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา มาตา มาตโร
ทุติยา มาตร มาตโร
ตติยา มาตรา มาตุยา มาตราหิ มาตราภิ มาตูหิ มาตูภิ
จตุตถี มาตุ มาตุยา มาตราน มาตูน
ปัญจมี มาตรา มาตราหิ มาตราภิ มาตูหิ มาตูภิ
ฉัตถี มาตุ มาตุยา มาตราน มาตูน
สตฺตมี มาตริ มาตราสุ มาตูสุ
อาลปนะ มาตา มาตโร
มาตุ (มารดา) เป็น อิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
2.7 มโนคณะ ศัพท์
ศัพท์ 12 ศัพท์ มี มน ศัพท์เป็นต้น ที่จะว่าต่อไปนี้ เรียกว่า มโนคณะ เพราะเป็นหมู่แห่ง มน ศัพท์
มโนคณะศัพท์ 12 ศัพท์
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
มน ใจ เตช เดช
อย เหล็ก ปย น้านม
อุร อก ยส ยศ
เจต ใจ วจ วาจา
ตป ความร้อน วย วัย
ตม มืด สิร หัว
การแจกวิภัตติของศัพท์เหล่านี้ คล้ายกับวิธีแจก อ การันต์ในปุลิงค์
และนปุสกลิงค์แต่มีแปลกอยู่ 5 วิภัตติ คือ นา (ต.) กับ สฺมา (ปฺ.) เปน อา ส.
ทั้งสอง (จ.กับ ฉ.) เปน โอ,สฺมึ เปน อิ แล้วลงตัวอักษรใหม่คือ ส ซึ่ง
เรียกว่า ลง ส อาคม ตอที่ท้ายศัพท์มโนคณะนี้จึงเปน สา เปน โส เปน สิ ดัง
จะแจกให้เห็นเปนตัวอย่าง
มน ศัพท์เป็น ทฺวิลิงค์คือเป็น ปลิงค์และ นปุสกลิงค์
มน ศัพท์เป็น ปุลิงค์แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา มโน มนา
ทุติยา มน มเน
ตติยา มนสา มเนน มเนหิ มเนภิ
จตุตถี มนโส มนสฺส มนาน
ปัญจมี มนสฺมา มนมฺหา มนา มเนหิ มเนภิ
ฉัตถี มนโส มนสฺส มนาน
สตฺตมี มนสิ มเน มนมฺหิ มนสฺมึ มเนสุ
อาลปนะ มน มนา
กมฺม (กรรม) เป็นนปุสกลิงค์แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา กมฺม กมฺมานิ
ทุติยา กมฺม กมฺมานิ
ตติยา กมฺมุนา กมฺเมหิ กมฺเมภิ
จตุตถี กมฺมุโน กมฺมาน
ปัญจมี กมฺมุนา กมฺเมหิ กมฺเมภิ
ฉัตถี กมฺมุโน กมฺมาน
สตฺตมี กมฺมนิ กมฺเมสุ
อาลปนะ กมฺม กมฺมานิ
วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์
1. นา ส อยู่หลัง เอา อ ที่สุดแห่ง กมฺม เป็น อุ แล้ว คง นา ไว้เอา ส เป็น โน
2. เอา สฺมึ เป็น นิ ได้บ้าง
โค (โค) สามัญ ไม่นิยมว่าผู้เมีย แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา โค คาโว
ทุติยา คาว คาวุ คาโว
ตติยา คาเวน คาเวหิ คาเวภิ
จตุตถี คาวสฺส คุนฺน คาวาน
ปัญจมี คาวสฺมา คาวมฺหา คาวา โคหิ โคภิ คาเวหิ คาเวภิ
ฉัตถี คาวสฺส คุนฺน คาวาน
สตฺตมี คาวสฺมึ คาวมฺหิ คาเว คาเวสุ
อาลปนะ คาว คาโว
วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์
1. วิภัตติทั้งปวงยกเว้นแต่ สิ อยูหลัง เอา โค เป็น คว คาว ได้.
ที่แสดงไว้ที่นี้ แต่ คาว อย่างเดียว พอเป็นตัวอย่าง.
2. อ อยู่หลัง เอา โอ แห่ง โค เป็น อาวุ ได้บ้าง.
3. เอา โย ทั้งสอง เป็น โอ.
4. เอา โอ แห่ง โค เป็น อุ แล้วซ้อน น.
5. โค ใน ปุ. เป็น โคณ, ใน อิตฺ. เป็น คาวี แจกตามการันต์ในลิงค์นั้น ๆ.
ศัพท์พิเศษ 6 ศัพท์
1. ศัพท์ทั้งหลาย ๖ คือ ปุม ชาย,สา หมา (ไม่นิยมว่าผู้เมีย) อทฺธา กาลยืดยาว, มฆว ชื่อพระอินทร์ ,ยุวห
นุ่ม, สข เพื่อน,เหล่านี้ ไม่ค่อยมีคาใช้นักถึงใช้บ้างก็เป็นบางวิภัตติ ไม่ทั่วไป เช่น
ปุม เป็นปุลิงค์มีที่ใช้แต่ ปฐมา วิภัตติ เอาวจนะ เป็น ปุมา เท่านั้น.
2. สา เป็นคากลาง ๆ ไม่นิยมว่าตัวผู้หรือตัวเมีย เหมือนกับศัพท์คือ โค มีที่ใช้แต่ ป. เอก. สา ในปุลิงค์
เป็น สุนข (แจกตามแบบ อ การันต์ในปุลิงค์ปุริส) ในอิตถีลิงค์เป็น สุนขี (แจกตามนี้แจกตามแบบการันต์
ในลิงค์นั้น ๆ .
3. อทฺธา เป็นปุลิงค์มีที่ใช้บ้างแต่ เอก. ป.อทฺธา ทุ. อทฺธาน ต. อทฺธนา จ. ฉ. อทฺธุโน ส. อทฺธาเน เท่านั้น
(เหมือน กมฺม โดยมาก).
4. มฆว เป็นปุลิงค์ (แจกตามแบบ อ การันตฺในปุลิงค์ปุริส) แปลกแต่ ป. เอก. เป็ น มฆวา เท่านั้น.
5. ยุวป์นทฺวิลิงค์ (ปุ. อิต.) ในปุลิงค์ใช้มาแต่ ป. เอก. ยุวา ในอิตถีลิงค์เป็น ยุวตี แจกตามแบบ อีก การันต์
ในลิงค์นั้น.
6. สข เป็นทฺวิลิงค์ (ปุ. อิตฺ.)ใช้แต่ ปุ.ป. เอก. สขา ในอิตถีลิงค์เป็น สุขี แจกตามแบบ อี การันต์ในลิงค์
นั้น.
2.8 สัพพนาม
1. สัพพนามนั้น แบ่งเป็น 2 คือ ปุริสสัพพนาม 1, วิเสสนสัพพนาม 1,
2. ปุริสสัพพนาม เป็นศัพท์สาหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้วข้างต้น เพื่อจะไม่ให้เป็นการ
ซ้าซาก นับตามบุรุษที่ท่านจัดไว้ในอาขยาต เป็น 3 คือ ต ศัพท์, ตุมฺห ศัพท์, อมฺห ศัพท์,
3. วิเสสนสัพพนาม คล้ายคุณนาม แต่มีวิธีแจกที่ไม่เหมือนคุณนาม แบ่งเป็น 2 คือ อนิยม 1, นิยม 1,
4. ศัพท์เหล่านี้ คือ ย, อญฺญ, อญฺญตร, อญฺญตม, ปร, อปร, กตร, กตม, เอก, เอกจฺจ, สพฺพ, กึ เป็น อนิยม
5. ศัพท์เหล่านี้ คือ ต, เอต, อิม, อมุ เป็น นิยม
วิธีแจกปุริสสัพพนาม
ต ศัพท์ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา โส เต
ทุติยา ต น เต เน
ตติยา เตน เตหิ
จตุตถี ตสฺส อสฺส เตส เตสาน เนส เนสาน
ปัญจมี ตสฺมา อสฺมา ตมฺหา เตหิ
ฉัตถี ตสฺส อสฺส เตส เตสาน เนส เนสาน
สตฺตมี ตสฺมึ อสฺมึ ตมฺหิ เตสุ
วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์
1.สิ อยู่หลัง เอา ต ที่มิใช่ นปุ. เป็น ส. อ อยู่หน้า เอา โย ทั้งสอง เป็น เอ, เอา ต เป็น น ได้บ้าง
2. สฺมา สฺมึ อยู่หลัง เอา ต เป็น อ ได้บ้าง ในลิงค์ทั้งปวง.
3.เอา น เป็น ส เป็น สาน แล้ว เอา อ ข้างหน้า เป็น เอ
4.เอา ต เป็น อ แล้วห้ามมิให้แปลง สฺมา เป็น มฺหา แปลง สฺมึ เป็น มฺหิ
ต ศัพท์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา สา ตา
ทุติยา ต น ตา นา
ตติยา ตาย ตาหิ
จตุตถี ตสฺสา อสฺสา ติสฺสา ติสฺสาย ตาส ตาสาน
ปัญจมี ตาย ตาหิ
ฉัตถี ตสฺสา อสฺสา ติสฺสา ติสฺสาย ตาส ตาสาน
สตฺตมี ตาย ตสฺส อสฺส ติสฺส ตาสุ
วิธีเปลี่ยนวิภัตติและการันต์
1. ใน อิตถีลิงค์ เอา อ การันต์ เป็น อา และ ลบ โย ทั้ง 2 เสีย.
2. เอา ส เป็น สฺสา เป็น สฺสาย แล้ว รัสสะ การันต์ให้เป็น อ บ้าง แปลงเป็น อิ บ้าง.
3. เอา สฺมึ เป็น สฺส แล้ว รัสสะ การันต์ให้เป็น อ บ้าง แปลงเป็น อิ บ้าง
4. ต ศัพท์ใน นปุ. แจกเหมือน ใน ปุ. แปลกแต่ ป. เอก. ต,
5. ทุ. พหุ. ตานิ เท่านั้น นอกนั้น เหมือนใน ปุ.
ตุมฺห (ท่าน) ทั้ง 2 ลิงค์ แจกอย่างเดียวกัน อย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ตฺว ตุว ตุมฺเห โว
ทุติยา ต ตฺว ตุว ตุมฺเห โว
ตติยา ตยา ตฺวยาเต ตุมฺเหหิ โว
จตุตถี ตุยฺห ตุมฺห ตว เต ตุมฺหาก โว
ปัญจมี ตยา ตุมฺเหหิ
ฉัตถี ตุยฺห ตุมฺห ตว เต ตุมฺหาก โว
สตฺตมี ตยิ ตฺวยิ ตุมฺเหสุ
อมฺห (ข้า) ทั้ง 2 ลิงค์ แจกอย่างเดียวกัน อย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา อห มย โน
ทุติยา ม มม อมฺเหโน
ตติยา มยา เม อมฺเหหิ โน
จตุตถี มยฺห อมฺห มม มม เม อมฺหาก อสฺมาก โน
ปัญจมี มยา อมฺเหหิ
ฉัตถี มยฺห อมฺห มม มม เม อมฺหาก อสฺมาก โน
สตฺตมี มยิ อมฺเหสุ
วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์
1. ตุมฺห ศัพท์ที่อาเทศผิดจากรูป ตุมฺห ทีเดียว พึงรู้ว่า เอาวิภัตตินั้นๆ กับ
ตุมฺห เป็นอย่างนี้
2. ตุมฺห อมฺห อยู่หน้า เอา น เป็น อาก.
3. เต โว มี บทอื่นนาหน้าจึงมีได้.
4. อมฺห ศัพท์ เอา อมฺห กับ วิภัตติ นั้นๆ เป็นรูปนั้นๆ.
5. เม โน มีบทอื่นนาหน้าจึงมีได้.
วิธีแจกอนิยม วิเสสนสัพพนาม
ย ศัพท์ (ใด) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา โย เย
ทุติยา ย เย
ตติยา เยน เยหิ
จตุตถี ยสฺส เยส เยสาน
ปัญจมี ยสฺมายมฺหา เยหิ
ฉัตถี ยสฺส เยส เยสาน
สตฺตมี ยสฺมึ ยมฺหิ เยสุ
ย ศัพท์ (ใด) ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา ยา ยา
ทุติยา ย ยา
ตติยา ยาย ยาหิ
จตุตถี ยสฺสา ยาส ยาสาน
ปัญจมี ยาย ยาหิ
ฉัตถี ยสฺสา ยาส ยาสาน
สตฺตมี ยสฺส ยาสุ
ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน ย ศัพท์
ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล
อญฺญ อื่น กตม คนไหน
ปร อื่น กตร คนไหน
อปร อื่นอีก เอก คนหนึ่ง, พวกหนึ่ง,
อญฺญตร คนใดคนหนึ่ง เอกจฺจ บางคน, บางพวก,
อญฺญตม คนใดคนหนึ่ง อุภย ทั้งสอง
กึ อะไร, ใคร สพฺพ ทั้งปวง
วิธีแจกนิยมวิเสสนสัพพนาม
เอต ศัพท์ (นั่น) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา เอโส เอเต
ทุติยา เอต เอน เอเต
ตติยา เอเตน เอเตหิ เอเตภิ
จตุตถี เอตสฺส เอเตส เอเตสาน
ปัญจมี เอตสฺมา เอตมฺหา เอเตหิ เอเตภิ
ฉัตถี เอตสฺส เอเตส เอเตสาน
สตฺตมี เอตสฺมึ เอตมฺหิ เอเตสุเอต ศัพท์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา เอสา เอตา
ทุติยา เอต เอน เอตา
ตติยา เอตาย เอตาหิ เอตาภิ
จตุตถี เอตสฺสา เอติสฺสา เอติสฺสาย เอตาส เอตาสาน
ปัญจมี เอตาย เอตาหิ เอตาภิ
ฉัตถี เอตสฺสา เอติสฺสา เอติสฺสาย เอตาส เอตาสาน
สตฺตมี เอตสฺส เอติสฺส เอตาสุ
วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์
1. เพราะ สิ วิภัติ แปลง ต ของ ต ศัพท์ และ เอต ศัพท์ ในปุงลิงค์และอิตถีลิงค์ เป็น ส
2. แปลง ต เป็น น บ้าง
3. เพราะ ส,สฺมา,สฺมึ, แปลง ต เป็น อ
4. หลังสัพนาม แปลง น เป็น ส และ สาน และแปลง อ เป็น เอ
อิม ศัพท์ (นี้) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา อย อิเม
ทุติยา อิม อิเม
ตติยา อิมินา อเนน อิเมหิ อิเมภิ
จตุตถี อิมสฺส อสฺส อิเมส อิเมสาน
ปัญจมี อิมสฺมา อิมมฺหา อสฺมา อิเมหิ อิเมภิ
ฉัตถี อิมสฺส อสฺส อิเมส อิเมสาน
สตฺตมี อิมสฺมึ อิมมฺหิ อสฺมึ อิเมสุ
อิม ศัพท์ (นี้) ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา อย อิมา
ทุติยา อิม อิมา
ตติยา อิมาย อิมาหิ อิมาภิ
จตุตถี อิมิสฺสา อิมิสฺสาย อสฺสา อิมาส อิมาสาน
ปัญจมี อิมาย อิมาหิ อิมาภิ
ฉัตถี อิมิสฺสา อิมิสฺสาย อสฺสา อิมาส อิมาสาน
สตฺตมี อิมิสฺส อสฺส อิมาสุ
อมุ ศัพท์ (โน้น) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา อมุ อมู
ทุติยา อมุ อมู
ตติยา อมุนา อมูหิ อมูภิ
จตุตถี อมุสฺส อมุโน อมูส อมูสาน
ปัญจมี อมุสฺมา อมุมฺหา อมูหิ อมูภิ
ฉัตถี อมุสฺส อมุโน อมูส อมูสาน
สตฺตมี อมุสฺมึ อมุมฺหิ อมูสุ
อมุ ศัพท์ (โน้น) ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ปฐมา อมุ อมู
ทุติยา อมุ อมู
ตติยา อมุยา อมูหิ อมูภิ
จตุตถี อมุสฺสา อมูส อมูสาน
ปัญจมี อมุยา อมูหิ อมูภิ
ฉัตถี อมุสฺสา อมูส อมูสาน
สตฺตมี อมุสฺส อมูสุ
วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์
1. เพราะ สิ วิภัติ แปลง อิม เป็น อย แล้ว ลบ สิ เสีย
2. เพราะ สิ ปฐมา. และ อ ทุติยา. (นปุงค์.) แปลง อิม เป็น อิท บ้าง
3. เพราะ นา ตติยา. แปลง อิม เป็น อน และ อิมิ
4. เพราะ สุ,น, หิ (ปุงลิงค์และนปุงค์.) แปลง อิม เป็น เอ เพราะ ส,สฺมา,สมึ, ส
,สา แปลง อิม เป็น อ
2.9 การใช้ กึ ศัพท์ กึ ศัพท์ที่ใช้เป็นคาถาม
ใช้อย่างปุริสสัพพนาม คือ ใช้ลาพังตัวเอง ไม่ต้องประกอบกับนามนาม แปลว่า ใคร อะไร เช่น
โก คาม อาคจฺฉติ ? อ.ใคร ย่อมมา สู่บ้าน
กึ เต หตฺเถ โหติ ? อ.อะไร ย่อมมี ในมือ ของท่าน ?
กสฺส สุนโข อาวาเส รวติ ? อ.สุนัข ของใคร ย่อมร้อง ในวัด ?
ใช้เป็นวิเสสนสัพพนามแท้ คือ ใช้ประกอบกับนามนาม แปลว่า อะไร ไหน เช่น
โก สามเณโร ปตฺเต โธวติ ? อ.สามเณร รูปไหน ย่อมล้าง ซึ่งบาตร ท. ? กา ทาริกา อุยฺยาน คจฺฉติ ? อ.เด็กหญิง ไร
ย่อมไป สู่สวน ?
กึ ผล ปิฏเก โหติ ? อ.ผลไม้ อะไร ย่อมมี ในกระจาด ?
ใช้ กึ ศัพท์เป็นนิบาต เป็นคาถาม แปลว่า หรือ เช่น
กึ ปเนต อาวุโส ปฏิรูป ? ดูก่อนอาวุโส ก็ อันนั่น สมควร หรือ ? บางทีประโยคคาถามนั้นไม่มี กึ แต่ใช้วิธีเรียงกิริยาไว้
ต้นประโยคก็มี เช่น อตฺถิ ปนายสฺมโต โกจิ เวยฺยาวจฺจกโร ? ก็ ใครๆ เป็นไวยาวัจกร ของท่านผู้มีอายุ ม อยู่ หรือ ?
ใช้ กึ ศัพท์ เป็นนิบาต เป็นคาถามถึงเหตุที่เป็น แปลว่า ทาไม เช่น กึ ปาลิต ปมชฺชสิ ? ดูก่อนปาลิตะ อ.ท่าน ประมาทอยู่ ทาไม?
กึ ศัพท์ที่มี จิ ต่อท้าย ไม่ใช้เป็นคาถาม
กึ ศัพท์ตามปกติแปลว่า ใคร อะไร แต่ถ้ามี จิ ต่อท้าย ให้แปลซ้าสองหนว่า ใครๆ ไรๆ อะไรๆ เช่น
โกจิ อ.ใครๆ
โกจิ ชโน อ.ชน ไรๆ
กาจิ อิตฺถิโย อ.หญิงไรๆ
กิญฺจิ ธน อ.ทรัพย์อะไรๆ
อีกอย่างหนึ่ง แปลว่า น้อย าง เช่น
กิญฺจิ ธน อ.ทรัพย์ น้อยหนึ่ง โกจิ ปุริโส อ.บุรุษ บางคน
เมื่อเป็นพหุวจนะ แปลว่า บางพวก บางเหล่า เช่น
เกจิ ชนา อ.ชน ท. บางพวก กาจิ อิตฺถิโย อ.หญิง ท. บางเหล่า กานิจิ ภาชนานิ อ.ภาชนะ ท. บางพวก
วิธีแจก กึ ศัพท์ ที่มี จิ ต่อท้าย
ให้นา จิ ไปต่อท้ายศัพท์ที่แจกแล้วตามวิภัตตินั้นๆ เช่น โกจิ เกจิ กาจิ กานิจิ
ถ้าวิภัตติใด ลงท้ายด้วยนิคคหิต ( ) ให้แปลงนิคคหิตเป็น อญฺ เช่น
ก + จิ = กญฺจิ กึ + จิ = กิญฺจิ กสฺมึ + จิ = กสฺมิญฺจิ
กึ ศัพท์ที่มี ย นาหน้า และมี จิ ต่อท้าย
เมื่อมี ย นาหน้า และมี จิ ต่อท้าย กึ ศัพท์ ให้แปลว่า คนใดคนหนึ่ง, สิ่งใดสิ่งหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น โยโกจิ ยากา
จิ ยงฺกิญฺจิ
2.9 สังขยาศัพท์ : การนับในภาษาบาลี
สังขยา คือ การนับจานวน จัดเป็นคุณนาม เพราะบอกปริมาณหรือลาดับ ของนามนามหรือ
สัพพนาม แปลว่า การนับหมายถึง ศัพท์ที่เป็นเครื่องนับนามนาม แบ่งเป็น 2 คือ
ปกติสังขยา คือ นับนามนามโดยปกติ เพื่อให้รู้ว่านามนามนั้นมีประมาณเท่าใด เช่น
เอก 1, ทฺวิ 2, ติ 3, จตุ 4 เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ทส ทิวสา วัน 10 วัน นับจานวนวันทุกวัน
รวมเป็น 10 วัน
ปกติสังขยา
ศัพท์บาลี คาแปล
เอก 1
ทฺวิ 2
ติ 3
จตุ 4
ปญฺจ 5
ฉ 6
สตฺต 7
อฏฺฐ 8
นว 9
ทส 10
เอกาทส 11
ทฺวาทส/พารส 12
เตรส 13
จตุทฺทส/จุทฺทส 14
ปญฺจทส/ปณฺณรส 15
โสฬส 16
สตฺตรส 17
อฏฐารส 18
เอกูนวีสติ/อูนวีส 19
วีส/วีสติ 20
เอกวีสติ 21
ทฺวาวีสติ/พาวิสติ 22
เตวีสติ 23
จตุวีสติ 24
ปญฺจวีสติ 25
ฉพฺพีสติ 26
สตฺตวีสติ 27
อฏฐวีสติ 28
เอกูนตึส/อูนตึส 29
ตึส/ตึสติ 30
เอกตฺตึส 31
ทฺวตฺตึส/พตฺตึส 32
เตตฺตึส 33
จตุตฺตึส 34
ปญฺจตฺตึส 35
ฉตฺตึส 36
สตฺตตฺตึส 37
อฏฺฐตฺตึส 38
เอกูนจตฺตาฬีส, อูนจตฺตาฬีส 39
จตฺตาฬีส/ตาฬีส 40
เอกจตฺตาฬีส 41
เทวฺจตฺตาฬีส 42
เตจตฺตาฬีส 43
จตุจตฺตาฬีส 44
ปญฺจจตฺตาฬีส 45
ฉจตฺตาฬีส 46
สตฺตจตฺตาฬีส 47
อฏฺฐจตฺตาฬี 48
เอกูนปญฺญาส/อูนปญฺญาส 49
ปญฺญาส, ปณฺณาส 50
สฏฺฐี 60
สตฺตติ 70
อสีติ 80
นวุติ 90
สต 100
สหสฺส 1000
ทสสหสฺส 10000
สตสหสฺส,/ลกฺข 100000
ทสสตสหสฺส 1000000
โกฏิ โกฏิ
ปกติสังขยานี้ ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์ท่านแบ่งเป็น ๒ พวก ตั้งแต่
เอก ถึง จตุ จัดเป็น สัพพนาม ตั้งแต่ปฺจ ไป เป็น คุณนาม.
ปูรณสังขยา คือ นับนามนามที่เต็มในที่นั้นๆ เจาะจงนับเอาแต่หน่วยเดียว
ตัวอย่างเช่น ทสม ทิวส วันที่ 10 กล่าวถึงวันสุดท้ายวันเดียวเท่านั้น คือวันที่
10 มิได้กล่าวถึงวันทั้ง 10 วัน (ดังนั้น ปูรณสังขยาจึงเป็นเอกวจนะเสมอ)
ปูรณสังขยา เป็นได้ทั้ง 3 ลิงค์
ปุงลิงค์ อิตถีลิงค์ นปุงสกลิงค์ คาแปล
ปฐโม ปฐมา ปฐม ที่ 1
ทุติโย ทุติยา ทุติย ที่ 2
ตติโย ตติยา ตติย ที่ 3
จตุตฺโถ จุตุตถี/จตุตฺถา จตุตฺถ ที่ 4
ปญฺจโม ปญฺจมี/ปญฺจมา ปญฺจม ที่ 5
ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐี/ฉฏฺฐา ฉฏฺฐ ที่ 6
สตฺตโม สตฺตมา/สตฺตมี สตฺตม ที่ 7
อฏฺฐโม อฏฺฐมา/อฏฺฐมี อฏฺฐม ที่ 8
นวโม นวมา/นวมี นวม ที่ 9
ทสโม ทสมา/ ทสมี ทสม ที่ 10
ปูรณสังขยา เป็นได้ทั้ง 3 ลิงค์
เอกาทสโม เอกาทสี/เอกาทสึ เอกาทสม ที่ 11
ทฺวาทสโม/พารสโม ทฺวาทสี/ พารสี ทฺวาทสม /พารสม ที่ 12
เตรสโม เตรสี เตรสม ที่ 13
จตุทฺทสโม /จุทฺทสโม จตุทฺทสี/ จาตุทฺทสี จตุทฺทสม ที่ 14
ปณฺณรสโม /ปญฺจทสโม ปณฺณรสี /ปญฺจทสี ปณฺณรสม ที่ 15
โสฬสโม โสฬสี โสฬสม ที่ 16
สตฺตรสโม/ สตฺตทสโม สตฺตรสี สตฺตรสม ที 17
อฏฺฐารสโม/อฏฺฐาทสโม อฏฺฐารสี อฏฺฐารสม ที่ 18
เอกูนวีสติโม เอกูนวีสติมา เอกูนวีสติม ที่ 19
วีสติโม วีสติมา วีสติม ที่ 20
อุปสัค
อติ ยิ่ง เกิน ล่วง
อธิ ยิ่ง ใหญ่ทับ
อนุ น้อย ภายหลัง ตาม
อป ปราศ หลีก
อปิ หรือ ปิ ใกล้
บน
อภิ ยิ่ง ใหญ่ จาเพาะ ข้างหน้า
อว หรือ โอ ลง
อา ทั่ว ยิ่ง กลับความ
อุ ขึ้น นอก
อุป เข้าไป ใกล้มั่น
ทุ ชั่ว ยาก
นิ เข้า ลง
นิ ไม่มี ออก
ป ทั่ว ข้างหน้า ก่อน ออก
ปฏิ เฉพาะ ตอบ ทวน กลับ
ปรา กลับความ
ปริ รอบวิ วิเศษ แจ้ง ต่าง
ส พร้อม กับ ดี
สุ ดี งาม ง่าย.
อัพยยศัพท์
อัพยยศัพท์ (Affixation)คือ ศัพท์ที่แจกด้วยวิภัตติ 7 หมวด เหมือนนามนามไม่ได้ คงรูปอยู่อย่าง
เดิม แบ่งเป็น 3 คือ อุปสัค (prefix) นิบาต (Averd) ปัจจัย (suffix)
อุปสัค แปลว่า ขัดข้องอุปสัค ใช้นาหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น เมื่อนาหน้านาม* มีอาการคล้าย
คุณศัพท์ เมื่อนาหน้ากิริยา มีอาการคล้ายกิริยาวิเสสนะ (* เฉพาะนามนามและคุณนาม) ใช้นาหน้านาม
นามให้วิเศษขึ้น มีอาการคล้ายคุณศัพท์ เช่น อติปณฺฑิโต เป็นบัณฑิตยิ่ง อธิสกฺกาโร สักการะยิ่ง
ใช้นาหน้าคุณนาม ให้มีเนื้อความดียิ่งขึ้น เช่น อติสุนทโร ดียิ่ง อภิปฺปสนฺโน เลื่อมใสยิ่ง สุคนฺโธ มี
กลิ่นดี
ใช้นาหน้ากิริยา มีอาการคล้ายกิริยาวิเสสนะ เช่น อติกฺกมติ ย่อมก้าวล่วง อธิเสติ ย่อมนอนทับ
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์

More Related Content

What's hot

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 

What's hot (20)

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 

Viewers also liked

นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์Prasit Koeiklang
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นPrasit Koeiklang
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82Korrakot Intanon
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีTheyok Tanya
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์Tongsamut vorasan
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์Prasit Koeiklang
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาคAnchalee BuddhaBucha
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1Gawewat Dechaapinun
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีJutarat Piamrod
 

Viewers also liked (20)

นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์
 
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้นไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
ความถนัดทางภาษาบาลี (PAT 7.6) รหัสวิชา 82
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
 
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
1 08+อธิบายบาลีไวยากรณ์+นามและอัพพยศัพท์
 
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
ไวยากรณ์เบื้องต้น วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์
 
อธิบายสมาส
อธิบายสมาสอธิบายสมาส
อธิบายสมาส
 
อธิบายอาขยาต
อธิบายอาขยาตอธิบายอาขยาต
อธิบายอาขยาต
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
แปลอุภยพากย์
แปลอุภยพากย์แปลอุภยพากย์
แปลอุภยพากย์
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาคภาษาบาลี ชุดที่ ๒   โครงสร้างวจีวิภาค
ภาษาบาลี ชุดที่ ๒ โครงสร้างวจีวิภาค
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
เพาเวอพอย ภาษาบาลี 1
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔บาลีไวยากรณ์ ๔
บาลีไวยากรณ์ ๔
 
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลีPat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
Pat7.6 ความถนัดทางภาษาบาลี
 

Similar to บทที่ 2 นามศัพท์

นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำspeedpiyawat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Thanit Lawyer
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Anan Pakhing
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speechkrupeatie
 
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้duangchan
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 

Similar to บทที่ 2 นามศัพท์ (20)

นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
งานชนิดของคำ
งานชนิดของคำงานชนิดของคำ
งานชนิดของคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
คำสมาสศาสตร์ต้องรู้
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 

More from Gawewat Dechaapinun

เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรGawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlGawewat Dechaapinun
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsGawewat Dechaapinun
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesGawewat Dechaapinun
 

More from Gawewat Dechaapinun (20)

Chapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defectsChapter 5 glazes defects
Chapter 5 glazes defects
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณบทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๒ ศาสนาโบราณ
 
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรบทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
บทที่ 8 แนวคิดและความเชื่อเรื่องผีในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถร
 
งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7งานนำเสนอ7
งานนำเสนอ7
 
งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6งานนำเสนอ6
งานนำเสนอ6
 
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5งานนำเสนอ5
งานนำเสนอ5
 
งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4งานนำเสนอ4
งานนำเสนอ4
 
Chapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and controlChapter 4 properties of glazes and control
Chapter 4 properties of glazes and control
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturingChapter 3 glaze manufacturing
Chapter 3 glaze manufacturing
 
Chapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculationsChapter 2.3 glaze calculations
Chapter 2.3 glaze calculations
 
Chapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classificationsChapter 2.1 glaze classifications
Chapter 2.1 glaze classifications
 
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixturesChapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
Chapter 1.3 properties of glass crystalline mixtures
 

บทที่ 2 นามศัพท์

  • 1. บทที่ 2 นามศัพท์ อาจารย์ ชินวัชร นิลเนตร
  • 2. 2.1 ส่วนประกอบของนามศัทพ์ นามศัพท์ แปลว่า เสียงหรือสาเนียงที่บอกให้รู้ ชื่อคน สัตว์สถานที่ สิ่งของ แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 1) นามนาม (Noun) 2) คุณนาม (adjective) 3) สรรพนาม (Pronoun) แผนผังแบ่งประเภทคำ 1.นำมศัพท์ นามนาม คุณนาม สัพพนาม สาธารณนาม อสาธารณนาม ปกติ วิเสส อติวิเสส นิยมส.นาม อนิยมส.นาม 2.กิริยำศัพท์ 3. อัพยยศัพท์ กิริยาอาขยาต กิริยากิตก์ อุปสรรค นิบาต ปัจจัย
  • 3. 2.1.1 นามนาม (Noun) นามนาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สถานที่ วัตถุสิ่งของ เช่น ผู้ชาย ผู้หญิง สุ นัก แมว ความ หมู กา ไก่ กรุงเทพฯ นครราชสีมา มหาวิทยาลัย โรงเรียน ผลไม้ ดอกไม้หิน รถยนต์คอมพิวเตอร์ ดินสอ ปากกา เป็นต้น นามนามแบ่งออกเป็น 2 คือ 1) สาธารณนาม คือนามที่ใช้ทั่วไปไม่จาเพราะเจาะจง แต่ใช้เรียนได้ทั่วไป ได้แก่ คน สัตว์สถานที่ สิ่งของ เช่น มนุสฺโส : มนุษย์, ปุริโส: ผู้ชาย,อิตฺถี: สตรี, ติรจฺฉาโน : สัตว์เดรัจฉาน, นคร: เมือง,ปเทโส :ประเทศ,มหาวิทยาลโย : มหาวิทยาลัย, นายโก: นายก /ผู้นา. ภิกฺขุ :ภิกษุ เป็นต้น 2) อสาธารณนาม คือนามไม่ทั่วไป เป็นชื่อเฉพาะ ได้แก่ เอรวณฺโณ: ช้างเอรวัณ, เทวนคร: กรุงเทพฯ, เสมานคร: เมืองเสมา(นครราชสีมา)
  • 4. 2.1.2 คุณนาม (Objective) คุณนาม คือ คาที่บอกลักษณะของของนามว่า สูง ต่า ดา ขาว โง่ ฉลาด ดี ชั่ว ยาว สั้น ยากจน รวย สวย หล่อ เป็นต้น เช่น มหนฺต (ใหญ่) จุลฺล (เล็ก) สุนฺทร (ดี,งาม,หล่อ) ปาป (ชั่ว/เลว) นีจ (ต่า) อุจฺจ (สูง) ทีฆ (ยาว) รสฺส(สั้น) ปณฺฑิต (ฉลาด) ทนฺธ (โง่) คาคุณศัพท์เหล่านี้เมื่อนามาใชให้ นามาขยายนาม หรือบอกลักษณะของนาม โดยวางไว้ข้างหน้านามเสมอ เช่น มหนฺโต บุคฺคลโล (คนใหญ่) จุลฺโล อินฺทรีโย (สารอินทรีย์เล็ก) ปาโป มนุสฺโส (คนบาป) เป็นต้น โดยประกอบ วิภัตติ และวจนะให้เหมือนนามที่มันขยาย เช่น มหนฺโต ปุริโส (ผู้ชายใหญ่) มหนฺตี อิตฺถี (ผู้หญิง ใหญ่) มหนฺต สาล (ศาลาใหญ่) เป็นต้นฯ คาคุณนาม เมื่อนาไปใช้โดยไม่เรียงไว้ข้างหน้านาม จะมีต้องใข้กิริยาที่เป็นธาตุ หุ ธาตูที่แปลว่า เป็น,มี เหมือน verb to be (is, am, are, was, were) ใน ภาษาอังกฤษที่แปลว่า เป็น อยู่ คือ เช่น ปุริโส มหนฺโต โหติ : The man is big. ผู้ชายตัวใหญ่. อห สุนฺทโร โหมิ : I am good. (ฉันเป็นคนดี) คาคุณศัพท์มีสามารถเป็นชั้นได้3 ชึ้น ในการเปรียบเทียบเหมือนภาษาอังกฤษ ชั้นปกติ ชั้นวิ เสส(ขั้นกว่า) และอติวิเสส(ที่สุด) ซึ่งต้องมีกฎทางไวยากรณ์เหมือนกัน ตัวอย่างในภาษาอังกฤษ เปรียบชั้น เช่น good (ดี) better (ดีกว่า) best (ดีที่สุด) much (มาก) more (มากว่า) most (มาก ที่สุด) ในภาษาบาลีก็มีการเปลี่ยนรูปของการเปรียบเทียบคุณในชั้นทั้ง 3 เหมือนกัน
  • 5. 1. ชั้นปกติ (Positive degree) เช่น สุนฺทร(ดี),ปาป(ชั่ว/เลว), อุจฺจ (สูง) นีจ (ต่า) ทีฆ (ยาว) รสฺส (สั้น) มหนฺต (ใหญ่) จุลฺล (เล็ก) เสต (ขาว) กาฬ (ดา) รตฺต (แดง) นีล (เขียว) ปีต (เหลือง) ฯ 2. ชั้นวิเสส /ชั้นกว่า (Comparative degree) ให้เติม ปัจจัย (Suffix) คือ อิย หรือ ตร หลังคาคุณนามนั้น เช่น สุนฺทริย (ดีกว่า) ปาปิย (เลวกว่า) มหนฺตร (ใหญ่กว่า) จุลฺลตร (เล็ก กว่า) เป็นต้น 3. อติวิเสส (Supertative degree) เป็นการเปลี่ยบเทียบนั้นขั้นสูงสุด โดยเติมปัจจัย (Suffix) คือ อิฏฺฐ และตม ที่แปลว่า ที่สุดต่อท้ายคาคุณนามนั้น เช่น สุนฺทริฏฺฐ (ดีที่สุด) มหนฺติฏฺฐ /มหนฺตตม (ใหญ่กว่า) จุลฺลิฏฺฐ /จุลฺลตโม (เล็กที่สุด) เป็นต้น
  • 6. ชั้นปกติ ชั้นวิเสส เติม ตร ,อิย (กว่า) ชั้นอติวิเสส เติม ตม,อิฏฺฐ (ที่สุด) สุนฺทร(ดี) สุนฺทรตร/ สุนฺทริย (ดีกว่า) สุนฺทรตม/สุนฺทริฏฺฐ (ดีที่สุด) ปาป(ชั่ว/เลว ปาปตร/ ปาปิย (บาปกว่า) ปาปตม/ปาปิฏฺฐ (บาปที่สุด) อุจฺจ (สูง) อุจฺจตร /อุจฺจิย (สูงกว่า) อุจฺจตม/ อุจฺจิฏฺฐ (สูงที่สุด) นีจ (ต่า) นีจตร /นีจิย นีจตม /นิจิฏฺฐ ทีฆ (ยาว) ทีฆตร /ทีฆิย ทีฆตม/ ทีฆิฏฺฐ มหนฺต (ใหญ่) มหนฺตร /มหนฺติย มหนฺตตม /มหนฺติฏฺฐ รสฺส (สั้น) รสฺสตร / รสฺสิย รสฺสตม / รสฺสิฏฺฐ จุลฺล (เล็ก) จุลฺลตร /จุลฺลิย จุลฺลตม / จุลฺลิฏฺฐ เสต (ขาว เสตตร /เสติย เสตตม / เสติฏฺฐ กาฬ (ดา) กาฬตร / กาฬิย กาฬตม / กาฬิฏฺฐ ตำรำงเปรียบคุณนำมในแต่ละชั้น ตารางเปรียบคุณนามในแต่ละชั้น กาฬ (ดา) กาฬตร / กาฬิย กาฬตม / กาฬิฏฺฐ รตฺต (แดง) รตฺตตร / รตฺติย รตฺตตม /รตฺติฎฺฐ นีล (เขียว) นีลตร / นีลิย นีลตม/นีลิฎฺฐ ปีต (เหลือง) ปีตตร / ปีติย ปีตตม / ปีติฏฺฐ คุณนาม เวลาใช้ต้องให้เรียงไว้หน้านามนามที่ขยาย ให้มี ลิงค์ วจนะ วิภัตติ ตรงกัน และแปลไม่ออกสาเนียงอายตนิบาต เช่น สุนฺทโร ธมฺโม : ธรรมดี, สุนฺทรา กถา : ถ้อยคาดี, สุนฺทร กุล :ตระกูลดี, มหนฺเต รุกฺเข ต้นไม้ ท. ใหญ่ เป็นต้นฯ
  • 7. 2.1.3 สัพพนาม (Promoun) สัพพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนนามนามที่ออกชื่อมาแล้ว เพื่อไม่ให้ซ้าซาก ซึ่งไม่เพราะหู แบ่งเป็น 2 คือ 1) ปุริสสัพพนาม คาที่ใช้แทนนามนามทั่วไป (Personal Promoun) หมายถึงคาสรรพนามที่ใช้แทนคานามตามบุรุษนามทั้ง 3 กล่าวคือ ปฐมบุรุษ มัธยมบุรุษ และอุตมบุรุษ (1) ปฐมบุรุษ ได้แก่ บุรุษที่ 1 (ปฐมปุริส) หมายถึงบุคคลที่เราพูดถึง ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษจัดเป็นบุรุษที่ 3 ในภาษาบาลีสคือ ต ศัพท์ที่ แปลว่า เขา โดยนาไปแจกด้วยวิภัตตินามทั้ง 7 ซึ่งจะพูดในบทต่อไป (2) มัธยมบุรุษ ได้แก่บุรุษที่ 2 ในภาษาบาลีเรียก มัชฌิมปุริส คือ ตุมฺห ศัพท์ แปลว่า ท่าน คุณ เป็นต้น ใน ภาษาอังกฤษ ได้แก่ You (3) อุดมบุรุษ บาลีเรียกว่า อุตตมปุริส ได้แก่ บุรุษที่ 3 ในภาษาไทยและอังกฤษหมายถึงบุรุษที่ 1 ในภาษาบาลี คือ อมฺห ศัพท์แปลว่า ข้าพเจ้า กระผม หนู ดิฉัน ภาษาอังกฤษ คือ I 2. วิเสสนสัพพนาม คาที่ใช้ขยายมนาม ทาหน้าที่คล้ายคุณศัพท์ คือ มีลักษณะขยายคานาม ถ้าขยายนามบทใดก็จะ เปลี่ยนไปตามนามบทนั้น ได้แก่ ย ศัพท์(ใด) เช่น โย ปุคฺคโล (บุคคลใด) ยา วาจา (วาจาใด) ย ผล (ผลไม้ใด) และ ต ศัพท์ (นั้น) เช่น โส ปุคฺคโล (บุคคลนั้น) สา นารี (หญิงคนนั้น) ต ผล (ผลไม้นั้น) เป็นต้น
  • 8. 2.2 นามศัพท์และการแจกวิภัตตินาม นามศัพท์ คือ นามนาม คุณนาม และสรรพนาม ทั้ง 3 อย่างนี้ นามนามเป็นประธาน คุณนามและ สัพพนามเป็นบริวาร เพราะเมื่อมีนามนามแล้ว คุณนามและสัพพนามจึงมีได้ เพราะฉะนั้น นามนามจึง สาคัญที่สุดนามศัพท์มีส่วนประกอบสาคัญ 3 อย่าง คือ ลิงค์ วจนะ และวิภัตติ 2.2.1 ลิงค์ หรือเพศ ของนาม คือ คาพูดที่บ่งเพศของนามนาม เรียกว่า ลิงค์แบ่งเป็น 3 คือ ปุงลิงค์(เพศชาย) อิตถีลิงค์ (เพศหญิง) นปุงสกลิงค์ไม่ใช่เพศชาย ไม่ใช่เพศหญิง 1) การกาหนดและการแบ่งลักษณของลิงค์ (เพศ) 1.เป็นลิงค์เดียว คือศัพท์เดียว เป็นได้ลิงค์เดียว เช่น ปุริโส บุรุษ เป็นปุงฺลิงค์ได้อย่างเดียว, อิตฺ ถี หญิง เป็นอิตถีลิงค์ได้อย่างเดียว, กุล ตระกูล เป็นนปุงฺสกลิงค์ได้อย่างเดียว เป็นต้น 2.เป็น 2 ลิงค์(ทวิลิงค์)ศัพท์เดียว มีรูปอย่างเดียว เป็นได้2 ลิงค์ เช่น อกฺขโร อกฺขร อักขระ 3.นามนามมีมูลศัพท์อย่างเดียว เปลี่ยนสระที่สุดศัพท์เป็นเครื่องหมายให้ต่างลิงค์กัน (โดยลง อา อี อินี ปัจจัย เครื่องหมายอิตถีลิงค์) เช่น ราชา (ปุงฺ.), ราชินี (อิตฺ), อุปาสโก (ปุงฺ.), อุปาสิกา (อิตฺ.) เป็นต้น
  • 9. 2) คุณนามและสัพพนามเป็นได้ทั้ง 3 ลิงค์ (แล้วแต่นามนามที่มันไปขายาย)ลิงค์ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ (1) จัดตามกาเนิด คือ จัดลิงค์ให้ตรงตามกาเนิดเดิมของนามนั้น เช่น ปุริโส บุรุษ กาเนิด เป็นปุงฺลิงค์ จัดให้เป็นปุงลิงค์ อิตฺถี หญิง กาเนิดเป็นอิตถีลิงค์ จัดให้เป็นอิตถีลิงค์ จิตฺต จิต กาเนิดเป็นนปุงฺสกลิงค์ จัดให้เป็นนปุงสกลิงค์ (2) จัดตามสมมุติ คือ จัดลิงค์ตามสมมุติของภาษา ไม่ตรงตามกาเนิดเดิมของนามนาม นั้น เช่น ทาโร เมีย กาเนิดเป็นอิตถีลิงค์ สมมุติให้เป็นปุงลิงค์ เช่น ปเท โส ประเทศ กาเนิดเป็นนปุงสกลิงค์ สมมุติให้เป็นปุงลิงค์ ภูมิ แผ่นดิน กาเนิดเป็น นปุงสกลิงค์ สมมุติให้เป็นอิตถีลิงค์ เป็นต้น
  • 10. 2.2.2 วจนะของนาม วจนะ คือ คาพูดบอกจานวน (ให้ทราบว่าน้อยหรือมาก) แบ่งเป็น 2 คือ (1) เอกวจนะ คาพูดสาหรับออกชื่อของสิ่งเดียว เช่น ปุริโส ชายคนเดียว อิตฺถี (หญิงคน เดียว) วตฺถุ (สิ่งของอันเดียว) เป็นต้น 2) พหุวจนะ คาพูดสาหรับออกชื่อของมากกว่าสิ่งเดียว คือตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป เช่น ปุริสา ชายหลายคน อิตฺถิโย (หญิงหลายคน) วตฺถูนิ (สิ่งของหลายอัน) เป็นต้น
  • 11. 2.2.3 วิภัตติ วิภัตตินาม คือ สิ่งที่ใช้แจกศัพท์ให้มีรูปต่างๆ เพื่อให้มีเนื้อความเชื่อมต่อกับคาอื่นๆ ในประโยค วิภัตตินั้นมี 14 ตัว แบ่งเป็น เอกวจนะ 7 พหุวจนะ 7 ดังนี้ วิภัตติ ที่ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ที่ 1 สิ โย ทุติยา ที่ 2 อ โย ตติยา ที่ 3 นา หิ จตุตฺถี ที่ 4 ส น ปญฺจมี ที่ 5 สฺมา หิ ฉฏฺฐี ที่ 6 ส น สตฺตมี ที่ 7 สฺมึ สุ อาลปนะ - สิ โย
  • 12. 2.3 อายตนิบาต นามศัพท์ เมื่อประกอบวิภัตติแล้ว จะมีสาเนียงการแปลต่างกันไป ตามวิภัตตินั้น เมื่อ นาไปใช้มีความหมายต่อเนื่องกับคาอื่นได้ คาที่เชื่อมต่อความหมายของศัพท์ เรียกว่า อายต นิบาต (ตรงกับบุพบทในภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ ) อายตนิบาต มีดังนี้ อายตนิบาต คาแปลประจาวิภัติทั้ง 7 วิภัติ วิภัตติ ฝ่ายเอกวจนะ ฝ่ายพหุวจนะ ปฐมา อ. (อ่านว่า อันว่า) อ. - ท. (อ่านว่า อันว่า....ทั้งหลาย) ทุติยา ซึ่ง, สู่, ยัง, สิ้น, ตลอด, กะ, เฉพาะ. ซึ่ง-ท., ..... เฉพาะ-ท. ตติยา ด้วย, โดย, อัน, ตาม, เพราะ, มี, ด้วย ทั้ง. ด้วย-ท., ..... ด้วยทั้ง-ท. จตุตฺถี แก่, เพื่อ, ต่อ. แก่-ท., ...... ต่อ-ท. ปญฺจมี แต่, จาก, กว่า, เหตุ. แต่-ท., ...... เหตุ-ท. ฉฏฺฐี แห่ง, ของ, เมื่อ. แห่ง-ท., ...... เมื่อ-ท. สตฺตมี ใน, ใกล้, ที่, ครั้นเมื่อ, ในเพราะ เหนือ, บน, ณ... ใน -ท., ...... บน -ท.,ณ -ท. ฯ อาลปนะ แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่. แน่ะ-ท.,ดูก่อน ท. ข้าแต่-ท.
  • 13. ปฐมาวิภัตติ และอาลปนวิภัตติ ไม่มีสาเนียงอายตนิบาต แต่ใช้คาว่า ‘อันว่า’ และ ‘แน่ะ ดูก่อน ข้าแต่’ แทน ตามลาดับ เพื่อเป็นเครื่องสังเกตวิภัตติ ปฐมาวิภัตติ แบ่งเป็น 2 คือ เป็นประธาน ในประโยคที่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ เรียกว่า ลิงฺคตฺถ เช่น มหาปญฺโญ อานนฺโทอ.พระอานนท์ ผู้มีปัญญามากเป็นประธานในประโยคที่มี กิริยาคุมพากย์เรียกว่า สยกตฺตา เช่น อานนฺโท ธมฺม เทเสติ อ.พระอานนท์ ย่อมแสดง ซึ่งธรรม เป็นอาลปนะ คาสาหรับร้องเรียก อาลปนวิภัตติ ไม่มีวิภัตติเป็นของตนเอง แต่ยืมปฐมาวิภัตติ มาใช้ 2.4 การันต์ การันต์ คือ สระที่สุดแห่งศัพท์ โดยย่อมี 6 คือ อ อา อิ อี อุ อู โดยพิสดารมี 13 คือ ในปุงลิงค์ มีการันต์ 5 คือ อ อิ อี อุ อู ในอิตถีลิงค์ มีการันต์ 5 คือ อา อิ อี อุ อู ในนปุงสกลิงค์ มีการันต์ 3 คือ อ อิ อุ
  • 14. 2.5 การแจกวิภัตตินาม วิธีแจกนามนาม ด้วยวิภัตตินั้น แจกตามการันต์และลิงค์ (วิภัตติ วจนะ) ศัพท์ที่การันต์และลิงค์เหมือนกัน ให้แจกเป็นแบบ เดียวกัน เช่น ปุริส อาจริย ปณฺฑิต เป็น อ การันต์ปุงลิงค์เช่นเดียวกัน ให้แจกตามแบบ อ การันต์ปุงลิงค์ 1ปุงลิงค์ มีการันต์ 5 ตัว คือ อ,อิ,อี,อุ,อู อ การันต์ในปุงลิงค์แจกอย่าง ปุริส (ผู้ชาย) ดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ปุริโส ปุริสาป ทุติยา ปุริส ปุริเส ตติยา ปุริเสน ปุริเสหิ, ปุริเสภิ จตุตถี ปุริสสฺส, ปุริสาย, ปุริสตฺถ ปุริสาน ปญฺจมี ปุริสสฺมา, ปุริสมฺหา, ปุริสา ปุริเสหิ, ปุริเสภิ ฉัตถี ปุริสสฺส ปุริสาน สตฺตมี ปุริสสฺมึ, ปุริสมฺหิ, ปุริเส ปุริเสสุ อาปนะ ปุริส ปุริสา
  • 15. คาอธิบายใน อ การันต์ 1. เอา อ กับ สิ เป็น โอ, กับ โย ปฐมา เป็น อา. 2. เอา อ เป็น อ ในที่ปวง, อ กับ โย ทุติยา เป็น เอ. 3. เอา อ กับ นา เป็น เอน หิ และ สุ อยู่หลัง เอา อ เป็น เอ เอา หิ เป็น ภิ ในที่ทั้งปวง. 4. เอา ส เป็น สฺส แต่ ส จตุตถี เป็น ตฺถ, กับ อ เป็น อาย ได้ น อยู่หลัง ทีฆะสระในที่ทั้งปวง. 5. เอา สฺมา เป็น มฺหา ได้ใน ปุ. นปุ. กับ อ เป็น อา. 6. เอา สฺมึ เป็น มฺหิ ได้ ใน ปุ. นปุ. กับ อ เป็น เอ. 7. อาลปนะ เอกวจนะ คงเป็น อ, พหุวจนะ เป็น อา.
  • 16. ศัพท์ที่เป็น อ การันต์เหล่านี้แจกเหมือน ปุริส (บุรุษ) อาจริย อาจารย์ กุมาร เด็ก ขตฺติย กษัตริย์ คณ หมู่ โจร โจร ฉณ มหรสพ ชน ชน ตุรค ม้า เถน ขโมย ฝึกแปลสาเนียงอายตนิบาต ปฐมาวิภัตติ -นโร นิสีทติ. : อ. คน ย่อมนั่ง – นรา นิสีทนฺติ : อ. คน ทั้งหลาย ย่อมนั่งฯ ทุติยาวิภัตติ -อห นร ปุจฺฉามิ. อ.ฉัน ย่อมถาม ซึ่งคน. มย นเร ปุจฺฉามา. อ.พวกเรา ย่อมถาม ซึ่งคนทั้งหลาย ฯตติยาวิภัตติ -สกุโณ นเรน ฆยเต. อ.นกถูกฆ่าโดยคน. ปญฺจสีลานิ นเรหิ รกฺขนฺติ. อ.ศีลห้า ย่อมรักษา โดยคนทั้งหลายฯจตุตถีวิภัตติ - พุทฺโธ นรสฺส (นราน) ธมฺม เทเสติ. พระพุทธเจ้า ย่อมทรง แสดงซึ่งธรรม แก่คน/คนทั้งหลายฯ
  • 17. อิ การันต์ปุงลิงค์แจกอย่าง มุนิ (ผู้รู้) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา มุนิ ม,,มุนิ มุนโย, มุนี มุนโย, มุนี ทุติยา มุนึ มุนโย, มุนี ตติยา มุนินา มุนีหิ, มุนีภิ จตุตถี มุนิสฺส, มุนิโน มุนีน ปญฺจมี มุนิสฺมา, มุนิมฺหา มุนีหิ, มุนีภิ ฉัตถี มุนิสฺส, มุนิโน มุนีน สตฺตมี มุนิสฺมึ, มุนิมฺหิ มุนิสุ อาปนะ มุนิ มุนโย, มุนี คาอธิบายใน อุ การันต์ 1. สระที่มิใช่ อ อยู่หน้า ลบ สิ เสีย, โย อยู่หลัง เอา อิ ปุ. เป็น อ ก็ได้ ลบ โย เสียแล้ว ทีฆะ สระ อิ อุ ใน ลิงค์ทั้ง 3 ก็ได้ 2. อิ อี อุ อู ใน ปุ. นปุ. คง นา ไว้, หิ น สุ อยู่หลัง ทีฆะ อ อิ อุ เป็นอา อี อู ใน ลิงค์ทั้งปวง 3. เอา ส เป็น สฺส ได้ปุ. นปุ. ข้างหน้าเป็น สระที่มิใช่ อ เอา เป็น โน ได้2 ลิงค์นั้น 4. อาลปนะ มีคติแห่ง ปฐมา.
  • 18. ศัพท์ อิ การันต์ปุงลิงค์เหล่านี้แจกเหมือน มุนิ ศัทพ์ อคฺคิ เปลวไฟ วิธิ วิธี ถปติ ช่างไม้ อหิ งู มณิ แก้วมณี ปติ เจ้า, ผัว อริ ข้าศึก วีหิ ข้าวเปลือก นิธิ ขุมทรัพย์ สมาธิ สมาธิ อี การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอย่าง เสฏฺฐี (เศรษฐี) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา เสฏฺฐี เสฏฺฐิโน เสฏฺฐี ทุติยา เสฏฺฐึ เสฏฺฐิน เสฏฺฐิโน เสฏฺฐี ตติยา เสฏฺฐินา เสฏฺฐีหิ เสฏฺฐีภิ จตุตถี เสฏฺฐิสฺส เสฏฺฐิโน เสฏฺฐีน ปญฺจมี เสฏฺฐิสฺมา เสฏฺฐิมฺหา เสฏฺฐีหิ เสฏฺฐีภิ ฉตฺถี เสฏฺฐิสฺส เสฏฺฐิโน เสฏฺฐีน สตฺตมี เสฏฺฐิสฺมึ เสฏฺฐิมฺหิ เสฏฺฐีสุ อาปนะ เสฏฺฐิ เสฏฺฐิโน เสฏฺฐี คาอธิบายใน อี การันต์ 1. เอา อ เป็น น ได้บ้าง 2. อี อู ปุ. อยู่หน้า เอา โย เป็น โน แล้ว รัสสะสระตัวหน้าเสีย หรือ ลบ โย ก็ได้ 3. วิภัตติ เอกวจนะ ทั้งปวง ยก ปฐมา เสีย และ โย อยู่หลังต้อง รัสสะ อี อู ใน ปุ. อิตฺถี.
  • 19. ศัทพ์ที่เป็น อี การันต์ เหล่านี้แจกเหมือน เสฏฺฐี–เศรษฐี ตปสี คนมีตปะ ทณฺฑี คนมีไม้เท้า เมธาวี คนมีปัญญา สิขี นกยูง ภาณี คนช่างพูด โภคี คนมีโภคะ มนฺตี คนมีความคิด สุขี คนมีความสุข
  • 20. อุ การันต์ ในปุงลิงค์ แจกอย่าง ครุ (ครู) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ครุ ครโว, ครู ทุติยา ครุ ครโว, ครู ตติยา ครุนา ครูหิ, ครูภิ จตุตถี ครุสฺส ครุโน, ครูน ปญฺจมี ครุสฺสมา, ครุมฺหา, ครุมฺหา ครูหิ, ครูภิ ฉัตถี ครุสฺส, ครุโน, ครูน สตฺตมี ครุสฺมึ, ครุมฺหิ ครูสุ อาปนะ ครุ ครเว, ครโว,
  • 21. ศัพท์เหล่านี้แจกตาม ครุ ศัทพ์ ภิกฺขุ ภิกษุ ริปุ ข้าศึก สตฺตุ ศัตรู เสตุ สะพาน เหตุ เหตุ เกตุ ธง ชนฺตุ สัตว์เกิด ปสุ สัตว์เลี้ยง พนฺธุ พวกพ้อง พพฺพุ เสือ/ปลา/แมว อู การันต์ปุงลิงค์แจกอย่าง วิญญู (ผู้รู้วิเศษ) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา วิญฺญู วิญฺญุโน ,วิญฺญู ทุติยา วิญฺญุ วิญูญุโน, วิญฺญู ตติยา วิญฺญุนา วิญฺญูหิ, วิญฺญูภิ จตุตถี วิญฺญุสฺส, วิญฺญุโน วิญฺญูน ปญฺจมี วิญฺญุสฺมา, วิญฺญุมฺหา วิญฺญูหิ, วิญฺญูภิ ฉัตถี วิญฺญุสฺส, วิญฺญุโน วิญฺญูน สตฺตมี วิญฺญุสฺมึ, วิญฺญุมฺหิ วิญฺญูสุ อาปนะ วิญฺญุ วิญฺญุโน, วิญฺญู วิธีเปลี่ยนวิภัตติทั้งปวง เหมือน อี การันต์ แปลกแต่ อ คง อ ไว้เท่านั้น
  • 22. ศัทพ์เหล่านี้แจกเหมือน วิญฺญู สยมฺภู ผู้เป็นเอง กตญฺญู ผู้รู้อุปการะที่ผู้อื่นทาแล้ว เวทคู ผู้ถึงพระเวท ปารคู ผู้ถึงฝั่ง อภิภู พระผู้เป็นยิ่ง สพฺพญฺญู ผู้รู้สิ่งทั้งปวง 2) อิตถีลิงค์ มี 5 การันต์ คือ อา อิ อี อุ อู อา การันต์แจกเหมือนกัน กญฺญา (นางสาวน้อย) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา กญฺญา กญฺญาโย, กญฺญา ทุติยา กญฺญ กญฺญาโญ, กญฺญา ตติยา กญฺญาย กญฺญาหิ, กญฺญาภิ จตุตถี กญฺญาย กญฺญาน ปัญจมี กญฺญาย กญฺญาหิ, กญฺญาภิ ฉัตถี กญฺญาย กญฺญาน สัตตมี กญฺญาย,กญฺญาย กญฺญาสุ อาลปนะ กญฺเญ กญฺญาโย, กญฺญา คาอธิบายใน อา การันต์ 1. เอา อ เป็นนิคหิต แล้ว รัสสะ อา ข้างหน้า. 2. อา อยู่หน้า เอา วิภัตติ เอก วจนะ คือ นา ส สฺมา สฺมึ กับ อา เป็น อาย. 3. เอา สฺมึ เป็น ย บ้างก็ได้. 4. อา เอกวจนะ เอา อา เป็น เอ.
  • 23. ศัทพ์ที่เป็น อา การันต์ แจกเหมือน กญฺญา คือ อจฺฉรา นางอัปสร อาภา รัศมี อิกฺขณิกา หญิงแม่มด อีสา งอนไถ อุกฺกา เล็น เอสิกา เสาระเนียด โอชา โอชา กจฺฉา รักแร้ คทา ตะบอง ทาริกา เด็กหญิง อิ การันต์อิตถีลิงค์แจกอย่าง รัตติ (ราตรี) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา รตฺติ รตฺติโย, รตฺตี ทุติยา รตฺตึ รตฺติโย, รตฺตี ตติยา รตฺติยา รตฺตีหิ,รตฺตีภิ จตุตถี รตฺติยา รตฺตีน ปัญจมี รตฺติยา,รตฺยา รตฺตีหิ,รตฺตีภิ ฉัตถี รตฺติยา รตฺตีน สัตตมี รตฺติยา,รตฺติย,รตฺย รตฺตีสุ อาลปนะ รตฺติ รตฺติโย, รตฺตี คาอธิบายใน อิการันต์ 1. อิ อี อุ อู อิตถีลิงค์ อยู่ข้างหน้า เอา วิภัตติ เอกวจนะ คือ นา ส สฺมา สฺมึ เป็น ยา 2. อิ อิตถีลิงค์ อยู่ข้างหน้า เอา สฺมา เป็น อา เอา สฺมึ เป็น อ แล้ว เอา อิ เป็น ย ได้บ้าง
  • 24. ศัพท์เหล่านี้แจกตาม รตฺติ อาณิ ลิ่ม อิทฺธิ ฤทธิ์ อีติ จัญไร อุกฺขลิ หม้อข้าว อูมิ คลื่น กฏิ สะเอว ขนฺติ ความอดทน คณฺฑิ ระฆัง ฉวิ ผิว รติ- ความยินดี อี การันต์แจกอย่าง นารี (ผู้หญิง) ดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา นารี นาริโย, นารี ทุติยา นารึ นาริโย, นารี ตติยา นาริยา นารีหิ, นารีภิ จตุตถี นาริยา นารีน ปัญจมี นาริยา นารีหิ, นารีภิ ฉัตถี นาริยา นารีน สัตตมี นาริยา,นาริย นารีสุ อาลปนะ นาริ นาริโย,นารี
  • 25. ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน นารี อุ กำรันต์ในอิตถีลิงค์แจกเหมือน รชฺชุ(เชือก) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา รชฺชุ รชฺชุโย, รชฺชู ทุติยา รชฺชุ รชฺชุโย, รชฺชู ตติยา รชฺชุยา รชฺชูหิ, รชฺชูภิ จตุตถี รชฺชุยา รชฺชูน ปัญจมี รชฺชุยา รชฺชูหิ, รชฺชูภิ ฉัตถี รชฺชุยา รชฺชูสุ สัตตมี รชฺชุยา,รชฺชุย รชฺชูสุ อาลปนะ รชฺชุ รชฺชุโย, รชฺชู กุมารี เด็กหญิง ปฐวี แผ่นดิน อิตฺถี หญิง ฆรณี หญิงแม่มด สิมฺพลี ต้นงิ้ว มาตุลานี ป้ า/น้า ธานี เมือง กุกุฏี แม่ไก่ วิชนี พัด สขี เพื่อนหญิง เทวี พระราชินี.
  • 26. ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน รชฺชุ วิชฺชุ สายฟ้ า อุรุ ดาว กาสุ หลุม เธนุ แม่โคนม ยาคุ ข้าวต้ม ลาวุ น้าเต้า กเรณู ช้างตัวเมีย สสฺสุ แม่ผัว อู การันต์ในอิตถีลิงค์แจกอย่าง วธู (หญิงสาว) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา วธู วธุโย, วธู ทุติยา วธุ วธุโย, วธู ตติยา วธุยา วธูหิ, วธูภิ จตุตถี วธุยา วธูน ปัญจมี วธุยา วธูหิ, วธูภิ ฉัตถี วธุยา วธูน สตฺตมี วธุยา,วธุย วธูสุ อาลปนะ วธุ วธุโย, วธู ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน วธู ภู แผ่นดิน สินฺธู แม่น้าสินธู ชมฺพู ต้นหว้า วิธู เถาวัลย์ จมู เสนา สรภู ตุ๊กแก
  • 27. 3.นปุงสกลิงค์ มี 3 การันต์ คือ อ,อิ,อุ อ การันต์ในนปุงสกลิงค์แจกอย่าง กุล (ตระกูล) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา กุล กุลานิ ทุติยา กุล กุลานิ ตติยา กุเลน กุเลหิ, กุเลภิ จตุตถี กุลสฺส, กุลาย, กุลตฺถ กุลาน ปัญจมี กุลสฺมา, กุลมฺหา, กุลา กุเลหิ, กุเลภิ ฉัตถี กุลสฺส กุลาน สตฺตมี กุลสฺมึ, กุลมฺหิ. กุเล กุเลสุ อาลปนะ กุล กุลานิ คาอธิบายใน อ การันต์ 1. อ นปุ. อยู่หน้า เอา สิ เป็น อ 2. เอา โย เป็น นิ ใน นปุ. ทั้งสิ้น, และ ทีฆะสระเบื้องต้น, 3. อาลปนะทั้งสองมีคติแห่ง ปฐมา เหลือนั้นเหมือน อ การันต์ ใน ปุ. ทั้งสิ้น
  • 28. ศัพท์ที่เป็น อ การันต์ในนปุ. แจกตาม กุล ศัพท์ ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล องฺค องค์ ฉตฺต ฉัตร, ร่ม อิณ หนี้ ชล น้า อุทร ท้อง ตล พื้น โอฏฺฐ ริมฝีปาก ธน ทรัพย์ กฏฺฐ ไม้ ปณฺณ ใบไม้, หนังสือ กมล ดอกบัว ผล ผลไม้ ฆร เรือน พล กาลัง,พล จกฺก จักร, ล้อ ภตฺต ข้าวสวย มชฺช น้าเมา รตน แก้ว ยนฺต ยนต์ วตฺถ ผ้า
  • 29. อิ การันต์ นปุง.แจกอย่าง อกฺขิ (นัยน์ตา) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อกฺขิ อกฺขีนิ, อกฺขี ทุติยา อกฺขึ อกฺขีนิ, อกฺขี ตติยา อกฺขินา อกฺขีหิ, อกฺขีภิ จตุตถี อกฺขิสฺส,อกฺขิโน อกฺขีน ปัญจมี อกฺขิสฺมา, อกฺขิมฺหา อกฺขีหิ, อกฺขีภิ ฉัตถี อกฺขิสฺส, อกฺขิโน อกฺขีน สตฺตมี อกฺขิสฺมึ, อกฺขิมฺหิ อกฺขีสุ อาลปนะ อกฺขิ อกฺขีนิ,อกฺขี ศัพท์ที่เป็น อิ การันต์ในนปุ.เหล่านี้แจกตาม อกฺขิ อฎฺฐิ- กระดูก อจฺจิ -เปลวไฟ สปฺปิ-เนยใส ทธิ- นมส้ม วาริ -น้า สตฺถิ -ตระโพก
  • 30. อุ การันต์ในนปุง.แจกอย่าง วตฺถุ (วัตถุ) วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา วตฺถุ วตฺถูนิ, วตฺถู ทุติยา วตฺถุ วตฺถูนิ,วตฺถู ตติยา วตฺถุนา วตฺถูหิ, วตฺถูภิ จตุตถี วตฺถุสฺส, วตฺถุโน วตฺถูน ปัญจมี วตฺถุสฺมา, วตฺถุมฺหิ วตฺถูหิ,วตฺถูภิ ฉัตถี วตฺถุสฺส, วตฺถุโน วตฺถูน สตฺตมี วตฺถุสฺมึ, วตฺถุมฺหิ วตฺถูสุ อาลปนะ วตฺถุ วตฺถูนิ, วตฺถู ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน วตฺถุ ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล อมฺพุ น้า ชตุ ยาง อสฺสุ น้าตา ธนุ ธนู อายุ อายุ มธุ น้าผึ้ง จกฺขุ นัยน์ตา มสฺสุ หนวด วปุ กาย สชฺฌุ เงิน
  • 31. 2.6 กติปยศัพท์ กติปยศัพท์ แปลว่า ศัพท์จาพวกเล็กๆน้อยๆ มีวิธีแจกเฉพาะตนต่างหาก ได้แก่ศัพท์ต่อไปนี้ คือ อตฺต (ตัวตน) พฺรหฺม (พรหม) ราช(พระราชา) ภควนฺตุ (พระผู้มีพระภาคเจ้า) ภวนฺต (ผู้เจริญ) อรหนฺต (พระ อรหันต์) สตฺถุ (พระศาสบรรดาศัพท์เหล่านี้ บางศัพท์ก็เปนลิงค์เดียว บางศัพท์ก็เปนสองลิง์ค ในที่นี้จะ แสดงแบบที่ไม่เหมือนกันแบบซึ่งแจกแล้วข้างต้นเท่านั้น ศัพท์ใดที่เป็น๒ ลิงค์แจกไว้แตลิงค์ดียว พึ่งเข้าใจ เถิดวาอีกลิงค์หนึ่งแจกตามการันต์ที่มีมาแลวในลิงค์ทั้ง ๓ เหมือนหนึ่ง ราชศัพท์เป็ น ๒ ลิงค์จะแจกแต่ แบบที่เป็นปุลิงค์ แบบที่เป็นอิตถีลิงค์จะ ไม่แจก เพราะ ราชา ศัพท์ในอิตถีงลิงค์เป็น ราชินี มีวิธีแจกเหมือน อีการันต์ในอิตถีลิงค์ข้างต้น.
  • 32. อตฺต (ตน) เป็นปุงลิงค์ นิยมแจกเฉพาะ เอกวจนะ หากต้องการใช้เป็นพหุวจนะจะวางไว้ 2 คาดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ ปฐมา อตฺตา ทุติยา อตฺตาน ตติยา อตฺตนา จตุตถี อตฺตโน ปัญจมี อตฺตนา ฉัตถี อตฺตโน สตฺตมี อตฺตนิ อาลปนะ อตฺต พฺรหฺม (พรหม) เป็น ปุงลิงค์ (เพศชาย) แจกได้ทั้ง 2 วจนะดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา พฺรหฺมา พฺรหฺมาโน ทุติยา พฺรหฺมาน พฺรหฺมโน ตติยา พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ,พฺรหฺเมภิ จตุตถี พฺรหฺมุโน พฺรหฺมาน ปัญจมี พฺรหฺมุนา พฺรหฺเมหิ, พฺรหฺเมภิ ฉัตถี พฺรหฺมุโน พฺรหฺมาน สตฺตมี พฺรหฺมนิ พฺรหฺเมสุ อาลปนะ พฺรหฺเม พฺรหฺมาโน
  • 33. วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์ 1.เอา อ ที่สุด แห่ง พฺรหฺม กับ สิ เป็น อา, กับ โย เป็น อาโน. 2.เอา อ กับ อ เป็น อาน. 3.นา ส อยู่หลัง เอา อ ที่สุดแห่ง พฺรหฺม เป็นอุ แล้วคง นา ไว้. 4.เอา ส เป็น โน , ถ้าไม่เอา ส เป็น โน ไม่ต้องเอา อ เป็น อุ. 5.เอา สฺมา วิภัตติ เป็น นา. 6.เอา สฺมึ วิภัตติ เป็น นิ. 7.เอา อาลปนะ เอกวจนะ เป็น เอ.
  • 34. ราช (พระราชา) เป็น ปุงลิงค์ (เพศชาย) แจกได้ทั้ง 2 วจนะดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ราชา ราชาโน ทุติยา ราชาน ราชาโน ตติยา รญฺญา ราชูหิ, ราชูภิ จตุตถี รญฺโญ, ราชิโน รญฺญ, ราชูน ปัญจมี รญฺญา ราชูหิ, ราชูภิ ฉัตถี รญฺโญ, ราชิโน รญฺญ,ราชูน สตฺตมี รญฺเญ, ราชินิ ราชูสุ อาลปนะ ราช ราชาโน
  • 35. ศัพท์สมาส มี ราช ศัพท์ เป็นที่สุด เหมือน มหาราช แจกเหมือน อย่างนี้ได้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา มหาราชา มหาราชาโน ทุติยา มหาราช มหาราเช ตติยา มหาราเชน มหาราเชหิ มหาราเชภิ จตุตถี มหาราชสฺส ฯลฯ มหาราชาน ปัญจมี มหาราชสฺมา ฯลฯ มหาราเชหิ มหาราเชภิ ฉัตถี มหาราชสฺส มหาราชาน สตฺตมี มหาราชสฺมึ ฯลฯ มหาราเชสุ อาลปนะ มหาราช มหาราชาโน
  • 36. ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน มหาราช ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล อนุราช พระราชาน้อย นาคราช นาคผู้พระราชา อภิราช พระราชาผู้ยิ่ง มิคราช เนื้อผู้พระราชา อุปราช อุปราช สุปณฺณราช ครุฑผู้พระราชา จกฺกวตฺติราช พระราชาผู้จักรพรรดิ หสราช หงษ์ผู้พระราชา เทวราช เทวดาผู้พระราชา ภควนฺตุ (พระผู้มีพระภาคเจ้า) เป็นปุงลิงค์ แจกดังนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ภควา ภควนฺตา, ภควนฺโต ทุติยา ภควนฺต ภควนฺเต, ภควนฺโต ตติยา ภควตา ภควนฺเตหิ , ภควนฺเตภิ จตุตถี ภควโต ภควนฺตาน ปัญจมี ภควตา ภควนฺเตหิ , ภควนฺเตภิ ฉัตถี ภควโต ภควนฺตาน สตฺตมี ภควติ ภควนฺเตสุ อาลปนะ ภควา ภควนฺตา, ภควนฺโต
  • 37. วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์ 1.เอา นฺตุ ปัจจัย เป็น นฺต ได้ 2.เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา, เอา โย เป็น อา เป็น โอ, 3.เอา นฺตุ กับ นา เป็น ตา, กับ ส เป็น โต, กับ ส เป็น ตกับ สฺมึ เป็น ติ, 4.สฺมา มีคติแห่ง นา. 5.เอา นฺตุ กับ อาลปนะ เอก. เป็น อ เป็น อา, แบบนี้ เอา อุ ที่ นฺตุ เป็น อ แล้วแจกเหมือน อ การันต์ ใน ปุ. บ้างก็ได้. ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน ภควนฺตุ ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล อายสฺมนฺตุ คนมีอายุ คุณวนฺตุ คนมีคุณ จกฺขุมนฺตุ คนมีจักษุ ชุติมนฺตุ คนมีความโพลง ธนวนฺตุ คนมีทรัพย์ ธิติมนฺตุ คนมีปัญญา ปญฺญวนฺตุ คนมีปัญญา ปุญฺญวนฺตุ คนมีบุญ พนฺธุมนฺตุ คนมีพวกพ้อง สติมนฺตุ คนมีสติ
  • 38. ข้อควรจาใน ภควนฺต ศัพท์ ศัพท์ที่นามาแจกตาม ภควนฺตุ ได้ศัพท์นั้นต้องประกอบด้วย วนฺตุ,มนฺตุ และอิมนฺต,ตวนฺตุ ปัจจัย นอกจากที่กล่าวนี้นามาแจกตามไม่ได้. เฉพาะ วนฺตุ และ มนฺตุ ปัจจัย ใช้ประกอบกับศัพท์ต่างกัน คือ วนฺตุ ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็น อ การันต์, มนฺตุ ใช้ประกอบกับศัพท์ที่เป็น อิ การันต์หรือ อุ การันต์ ภควนฺตุ เป็นได้เฉพาะปุลิงค์อย่างเดียว.ฝ่ายพหุวจนะ ถ้ามีคาว่า ตา หรือ เต อยู่ท้ายศัพท์เช่น คาว่า ภควนฺตา ,ภควนฺเต ใช้เป็นทฺวิวจนะ. สวน ภควนฺโต และ ที่นอกจาก ภควนฺตา,ภควนฺเต ใช้เป็น พหุวจนะทั้งนั้น อร หันฺต์ (พระอรหันต์ ) เป็นทฺวิลิงค์ ในปุลิงค์แจกเหมือน ภควนฺตุ แปลกแต ป. เอก. เป็น อรหา,อรห์ เท่านั้น อิตถีลิงค์ ลง อี ปัจจัย เป็นเครื่องหมายที่ทายศัพท์ เป็นอรหนฺตี แจกอย่าง อี การันต์ (นารี) ในอิตถีลิงค์ อร หา เอา นฺต กับ สิ เป็น อา อรห์ เอา นฺต กับ สิ เปน อ. ศัพท์ที่มี นฺต เป็นที่สุด ซึ่งเป็นศัพท์ คุณนาม เช่น มหนฺต จะนามาแจกตามแบบนี้ก็ได้ แต่ไม่ทั่วไป ทุก วิภัตติ. ถ้าเป็นศัพท์นามนาม เช่น กมมนฺต จะนามาแจกตามแบบนี้ไม่ได้เลย
  • 39. ภวนฺต (ผู้เจริญ) เป็น ทฺวิลิงค์ ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ภว ภวนฺตา ภวนฺโต ทุติยา ภวนฺต ภวนฺเต ภวนฺโต ตติยา ภวตาโภตา ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ จตุตถี ภวโต โภโต ภวต ภวนฺตาน ปัญจมี ภวตาโภตา ภวนฺเตหิ ภวนฺเตภิ ฉัตถี ภวโต โภโต ภวต ภวนฺตาน สตฺตมี ภวนฺเต ภวนฺเตสุ อาลปนะ โภ ภวนฺตา ภวนฺโต โภนฺตา โภนฺโต วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์ 1.เอา นฺต กับ สิ เป็น อ. 2.เอา ภว เป็น โภ ได้บ้าง. 3.อาลปนะ เอก. เอา ภวนฺต เป็น โภ. 4.นอกนั้นเหมือน ภควนฺตุ. 5.ศัพท์ที่มี อนฺต เป็นที่สุด บางวิภัตติ จะแจกเหมือน อ การันต์ ใน ปุ. นปุ. ก็ได้ เพราะเป็นการง่ายจึงไม่แสดงไว้ในที่นี้.
  • 40. สตฺถุ (ผู้สอน) เป็นปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สตฺถา สตฺถาโร ทุติยา สตฺถาร สตฺถาโร ตติยา สตฺถารา สตฺถุนา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ จตุตถี สตฺถุ สตฺถุโน สตฺถาราน ปัญจมี สตฺถารา สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ ฉัตถี สตฺถุ สตฺถุโน สตฺถาราน สตฺตมี สตฺถริ สตฺถาเรสุ อาลปนะ สตฺถา สตฺถาโร วิธีเปลี่ยน วิภัตติ และการันต์ 1.เอา อุ การันต์ กับ สิ เป็น อา. 2.วิภัตติอื่นนอกจาก สิ และ ส เอา อ การันต์ เป็น อาร แล้ว เอา โย เป็น โอ นา เป็น อา สฺมึ เป็น อิ แล้วลบ อ ที่สุดแห่งสระ อาร เสีย. 3.ลบ ส บ้างก็ได้. 4.เมื่อเอา สฺมึ เป็น อิ แล้ว ต้องรัสสะ อาร เป็น อร. 5.ศัพท์มี ตุ ปัจจัย เป็นที่สุดใน ปุ. แจกอย่างนี้
  • 41. ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน สตฺถุ ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล กตฺตุ ผู้ทา ขตฺตุ ผู้ขุด ญาตุ ผู้รู้ ทาตุ ผู้ให้ นตฺตุ หลาน เนตุ ผู้นาไป ภตฺตุ ผู้เลี้ยง, ผัว วตฺตุ ผู้กล่าว โสตุ ผู้ฟัง หนฺตุ ผู้ฆ่า ปิตุ (พ่อ) เป็น ปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ปิตา ปิตโร ทุติยา ปิตร ปิตโร ตติยา ปิตรา ปิตุนา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปิตูหิ ปิตูภิ จตุตถี ปิตุ ปิตุโน ปิตราน ปิตูน ปัญจมี ปิตรา ปิตเรหิ ปิตเรภิ ปิตูหิ ปิตูภิ ฉัตถี ปิตุ ปิตุโน ปิตราน ปิตูน สตฺตมี ปิตริ ปิตเรสุ ปิตูสุ อาลปนะ ปิตา ปิตโร
  • 42. ภาตุ พี่ชาย น้องชาย,ชามาตุ ลูกเขย 2 ศัพท์นี้ แจกเหมือน ปิตุ.วิธีเปลี่ยนวิภัตติและ การันต์เหมือน สตฺถุ แปลกแต่ อาเทสเป็น อร แทน อาร ในวิภัตติทั้งปวง อาลปนะนั้น เมื่อ วาตามแบบเป็นอย่างนี้ แต่คาพูดและวิธีเขียนหนังสือไม่ใช่ ใช้ตาต แทน,เอก. ตาต พหุ. ตา ตา ใช้ได้ทั่วไปทั้งเรียกบิดาหรอบ ตรเหมือนภาษาของเรา คาว่า ตาต (พอ)ถ้าเป็นวิภัตติอื่น เป็นชื่อของบิดา ถาเป็น อาลปนะ ใช้เรียกได้ทั้งบิดาทั้งบุตร. ปตุ ศัพท์ถาประกอบกับ โต ปัจจัย ต้องเอาสระที่สุดของตนเปน อิ เปน ปติโร แม้ศัพท์อื่นที่คล้ายคลึงกัน ก็เอาสระที่สุด ของตนเป็น อิ ได้ เช่น มาติโตภาติโต เป็นต้น. ใช้ ภาติกา แทนภาตุได้บ้าง และแจกตาม แบบ อ การันต์ใน ปุ. ได้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา มาตา มาตโร ทุติยา มาตร มาตโร ตติยา มาตรา มาตุยา มาตราหิ มาตราภิ มาตูหิ มาตูภิ จตุตถี มาตุ มาตุยา มาตราน มาตูน ปัญจมี มาตรา มาตราหิ มาตราภิ มาตูหิ มาตูภิ ฉัตถี มาตุ มาตุยา มาตราน มาตูน สตฺตมี มาตริ มาตราสุ มาตูสุ อาลปนะ มาตา มาตโร มาตุ (มารดา) เป็น อิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้
  • 43. 2.7 มโนคณะ ศัพท์ ศัพท์ 12 ศัพท์ มี มน ศัพท์เป็นต้น ที่จะว่าต่อไปนี้ เรียกว่า มโนคณะ เพราะเป็นหมู่แห่ง มน ศัพท์ มโนคณะศัพท์ 12 ศัพท์ ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล มน ใจ เตช เดช อย เหล็ก ปย น้านม อุร อก ยส ยศ เจต ใจ วจ วาจา ตป ความร้อน วย วัย ตม มืด สิร หัว การแจกวิภัตติของศัพท์เหล่านี้ คล้ายกับวิธีแจก อ การันต์ในปุลิงค์ และนปุสกลิงค์แต่มีแปลกอยู่ 5 วิภัตติ คือ นา (ต.) กับ สฺมา (ปฺ.) เปน อา ส. ทั้งสอง (จ.กับ ฉ.) เปน โอ,สฺมึ เปน อิ แล้วลงตัวอักษรใหม่คือ ส ซึ่ง เรียกว่า ลง ส อาคม ตอที่ท้ายศัพท์มโนคณะนี้จึงเปน สา เปน โส เปน สิ ดัง จะแจกให้เห็นเปนตัวอย่าง
  • 44. มน ศัพท์เป็น ทฺวิลิงค์คือเป็น ปลิงค์และ นปุสกลิงค์ มน ศัพท์เป็น ปุลิงค์แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา มโน มนา ทุติยา มน มเน ตติยา มนสา มเนน มเนหิ มเนภิ จตุตถี มนโส มนสฺส มนาน ปัญจมี มนสฺมา มนมฺหา มนา มเนหิ มเนภิ ฉัตถี มนโส มนสฺส มนาน สตฺตมี มนสิ มเน มนมฺหิ มนสฺมึ มเนสุ อาลปนะ มน มนา
  • 45. กมฺม (กรรม) เป็นนปุสกลิงค์แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา กมฺม กมฺมานิ ทุติยา กมฺม กมฺมานิ ตติยา กมฺมุนา กมฺเมหิ กมฺเมภิ จตุตถี กมฺมุโน กมฺมาน ปัญจมี กมฺมุนา กมฺเมหิ กมฺเมภิ ฉัตถี กมฺมุโน กมฺมาน สตฺตมี กมฺมนิ กมฺเมสุ อาลปนะ กมฺม กมฺมานิ วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์ 1. นา ส อยู่หลัง เอา อ ที่สุดแห่ง กมฺม เป็น อุ แล้ว คง นา ไว้เอา ส เป็น โน 2. เอา สฺมึ เป็น นิ ได้บ้าง
  • 46. โค (โค) สามัญ ไม่นิยมว่าผู้เมีย แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา โค คาโว ทุติยา คาว คาวุ คาโว ตติยา คาเวน คาเวหิ คาเวภิ จตุตถี คาวสฺส คุนฺน คาวาน ปัญจมี คาวสฺมา คาวมฺหา คาวา โคหิ โคภิ คาเวหิ คาเวภิ ฉัตถี คาวสฺส คุนฺน คาวาน สตฺตมี คาวสฺมึ คาวมฺหิ คาเว คาเวสุ อาลปนะ คาว คาโว วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์ 1. วิภัตติทั้งปวงยกเว้นแต่ สิ อยูหลัง เอา โค เป็น คว คาว ได้. ที่แสดงไว้ที่นี้ แต่ คาว อย่างเดียว พอเป็นตัวอย่าง. 2. อ อยู่หลัง เอา โอ แห่ง โค เป็น อาวุ ได้บ้าง. 3. เอา โย ทั้งสอง เป็น โอ. 4. เอา โอ แห่ง โค เป็น อุ แล้วซ้อน น. 5. โค ใน ปุ. เป็น โคณ, ใน อิตฺ. เป็น คาวี แจกตามการันต์ในลิงค์นั้น ๆ.
  • 47. ศัพท์พิเศษ 6 ศัพท์ 1. ศัพท์ทั้งหลาย ๖ คือ ปุม ชาย,สา หมา (ไม่นิยมว่าผู้เมีย) อทฺธา กาลยืดยาว, มฆว ชื่อพระอินทร์ ,ยุวห นุ่ม, สข เพื่อน,เหล่านี้ ไม่ค่อยมีคาใช้นักถึงใช้บ้างก็เป็นบางวิภัตติ ไม่ทั่วไป เช่น ปุม เป็นปุลิงค์มีที่ใช้แต่ ปฐมา วิภัตติ เอาวจนะ เป็น ปุมา เท่านั้น. 2. สา เป็นคากลาง ๆ ไม่นิยมว่าตัวผู้หรือตัวเมีย เหมือนกับศัพท์คือ โค มีที่ใช้แต่ ป. เอก. สา ในปุลิงค์ เป็น สุนข (แจกตามแบบ อ การันต์ในปุลิงค์ปุริส) ในอิตถีลิงค์เป็น สุนขี (แจกตามนี้แจกตามแบบการันต์ ในลิงค์นั้น ๆ . 3. อทฺธา เป็นปุลิงค์มีที่ใช้บ้างแต่ เอก. ป.อทฺธา ทุ. อทฺธาน ต. อทฺธนา จ. ฉ. อทฺธุโน ส. อทฺธาเน เท่านั้น (เหมือน กมฺม โดยมาก). 4. มฆว เป็นปุลิงค์ (แจกตามแบบ อ การันตฺในปุลิงค์ปุริส) แปลกแต่ ป. เอก. เป็ น มฆวา เท่านั้น. 5. ยุวป์นทฺวิลิงค์ (ปุ. อิต.) ในปุลิงค์ใช้มาแต่ ป. เอก. ยุวา ในอิตถีลิงค์เป็น ยุวตี แจกตามแบบ อีก การันต์ ในลิงค์นั้น. 6. สข เป็นทฺวิลิงค์ (ปุ. อิตฺ.)ใช้แต่ ปุ.ป. เอก. สขา ในอิตถีลิงค์เป็น สุขี แจกตามแบบ อี การันต์ในลิงค์ นั้น.
  • 48. 2.8 สัพพนาม 1. สัพพนามนั้น แบ่งเป็น 2 คือ ปุริสสัพพนาม 1, วิเสสนสัพพนาม 1, 2. ปุริสสัพพนาม เป็นศัพท์สาหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้วข้างต้น เพื่อจะไม่ให้เป็นการ ซ้าซาก นับตามบุรุษที่ท่านจัดไว้ในอาขยาต เป็น 3 คือ ต ศัพท์, ตุมฺห ศัพท์, อมฺห ศัพท์, 3. วิเสสนสัพพนาม คล้ายคุณนาม แต่มีวิธีแจกที่ไม่เหมือนคุณนาม แบ่งเป็น 2 คือ อนิยม 1, นิยม 1, 4. ศัพท์เหล่านี้ คือ ย, อญฺญ, อญฺญตร, อญฺญตม, ปร, อปร, กตร, กตม, เอก, เอกจฺจ, สพฺพ, กึ เป็น อนิยม 5. ศัพท์เหล่านี้ คือ ต, เอต, อิม, อมุ เป็น นิยม วิธีแจกปุริสสัพพนาม ต ศัพท์ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา โส เต ทุติยา ต น เต เน ตติยา เตน เตหิ จตุตถี ตสฺส อสฺส เตส เตสาน เนส เนสาน ปัญจมี ตสฺมา อสฺมา ตมฺหา เตหิ ฉัตถี ตสฺส อสฺส เตส เตสาน เนส เนสาน สตฺตมี ตสฺมึ อสฺมึ ตมฺหิ เตสุ
  • 49. วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์ 1.สิ อยู่หลัง เอา ต ที่มิใช่ นปุ. เป็น ส. อ อยู่หน้า เอา โย ทั้งสอง เป็น เอ, เอา ต เป็น น ได้บ้าง 2. สฺมา สฺมึ อยู่หลัง เอา ต เป็น อ ได้บ้าง ในลิงค์ทั้งปวง. 3.เอา น เป็น ส เป็น สาน แล้ว เอา อ ข้างหน้า เป็น เอ 4.เอา ต เป็น อ แล้วห้ามมิให้แปลง สฺมา เป็น มฺหา แปลง สฺมึ เป็น มฺหิ ต ศัพท์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา สา ตา ทุติยา ต น ตา นา ตติยา ตาย ตาหิ จตุตถี ตสฺสา อสฺสา ติสฺสา ติสฺสาย ตาส ตาสาน ปัญจมี ตาย ตาหิ ฉัตถี ตสฺสา อสฺสา ติสฺสา ติสฺสาย ตาส ตาสาน สตฺตมี ตาย ตสฺส อสฺส ติสฺส ตาสุ
  • 50. วิธีเปลี่ยนวิภัตติและการันต์ 1. ใน อิตถีลิงค์ เอา อ การันต์ เป็น อา และ ลบ โย ทั้ง 2 เสีย. 2. เอา ส เป็น สฺสา เป็น สฺสาย แล้ว รัสสะ การันต์ให้เป็น อ บ้าง แปลงเป็น อิ บ้าง. 3. เอา สฺมึ เป็น สฺส แล้ว รัสสะ การันต์ให้เป็น อ บ้าง แปลงเป็น อิ บ้าง 4. ต ศัพท์ใน นปุ. แจกเหมือน ใน ปุ. แปลกแต่ ป. เอก. ต, 5. ทุ. พหุ. ตานิ เท่านั้น นอกนั้น เหมือนใน ปุ. ตุมฺห (ท่าน) ทั้ง 2 ลิงค์ แจกอย่างเดียวกัน อย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ตฺว ตุว ตุมฺเห โว ทุติยา ต ตฺว ตุว ตุมฺเห โว ตติยา ตยา ตฺวยาเต ตุมฺเหหิ โว จตุตถี ตุยฺห ตุมฺห ตว เต ตุมฺหาก โว ปัญจมี ตยา ตุมฺเหหิ ฉัตถี ตุยฺห ตุมฺห ตว เต ตุมฺหาก โว สตฺตมี ตยิ ตฺวยิ ตุมฺเหสุ
  • 51. อมฺห (ข้า) ทั้ง 2 ลิงค์ แจกอย่างเดียวกัน อย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อห มย โน ทุติยา ม มม อมฺเหโน ตติยา มยา เม อมฺเหหิ โน จตุตถี มยฺห อมฺห มม มม เม อมฺหาก อสฺมาก โน ปัญจมี มยา อมฺเหหิ ฉัตถี มยฺห อมฺห มม มม เม อมฺหาก อสฺมาก โน สตฺตมี มยิ อมฺเหสุ วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์ 1. ตุมฺห ศัพท์ที่อาเทศผิดจากรูป ตุมฺห ทีเดียว พึงรู้ว่า เอาวิภัตตินั้นๆ กับ ตุมฺห เป็นอย่างนี้ 2. ตุมฺห อมฺห อยู่หน้า เอา น เป็น อาก. 3. เต โว มี บทอื่นนาหน้าจึงมีได้. 4. อมฺห ศัพท์ เอา อมฺห กับ วิภัตติ นั้นๆ เป็นรูปนั้นๆ. 5. เม โน มีบทอื่นนาหน้าจึงมีได้.
  • 52. วิธีแจกอนิยม วิเสสนสัพพนาม ย ศัพท์ (ใด) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา โย เย ทุติยา ย เย ตติยา เยน เยหิ จตุตถี ยสฺส เยส เยสาน ปัญจมี ยสฺมายมฺหา เยหิ ฉัตถี ยสฺส เยส เยสาน สตฺตมี ยสฺมึ ยมฺหิ เยสุ
  • 53. ย ศัพท์ (ใด) ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา ยา ยา ทุติยา ย ยา ตติยา ยาย ยาหิ จตุตถี ยสฺสา ยาส ยาสาน ปัญจมี ยาย ยาหิ ฉัตถี ยสฺสา ยาส ยาสาน สตฺตมี ยสฺส ยาสุ ศัพท์เหล่านี้แจกเหมือน ย ศัพท์ ศัพท์ คาแปล ศัพท์ คาแปล อญฺญ อื่น กตม คนไหน ปร อื่น กตร คนไหน อปร อื่นอีก เอก คนหนึ่ง, พวกหนึ่ง, อญฺญตร คนใดคนหนึ่ง เอกจฺจ บางคน, บางพวก, อญฺญตม คนใดคนหนึ่ง อุภย ทั้งสอง กึ อะไร, ใคร สพฺพ ทั้งปวง
  • 54. วิธีแจกนิยมวิเสสนสัพพนาม เอต ศัพท์ (นั่น) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา เอโส เอเต ทุติยา เอต เอน เอเต ตติยา เอเตน เอเตหิ เอเตภิ จตุตถี เอตสฺส เอเตส เอเตสาน ปัญจมี เอตสฺมา เอตมฺหา เอเตหิ เอเตภิ ฉัตถี เอตสฺส เอเตส เอเตสาน สตฺตมี เอตสฺมึ เอตมฺหิ เอเตสุเอต ศัพท์ ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา เอสา เอตา ทุติยา เอต เอน เอตา ตติยา เอตาย เอตาหิ เอตาภิ จตุตถี เอตสฺสา เอติสฺสา เอติสฺสาย เอตาส เอตาสาน ปัญจมี เอตาย เอตาหิ เอตาภิ ฉัตถี เอตสฺสา เอติสฺสา เอติสฺสาย เอตาส เอตาสาน สตฺตมี เอตสฺส เอติสฺส เอตาสุ
  • 55. วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์ 1. เพราะ สิ วิภัติ แปลง ต ของ ต ศัพท์ และ เอต ศัพท์ ในปุงลิงค์และอิตถีลิงค์ เป็น ส 2. แปลง ต เป็น น บ้าง 3. เพราะ ส,สฺมา,สฺมึ, แปลง ต เป็น อ 4. หลังสัพนาม แปลง น เป็น ส และ สาน และแปลง อ เป็น เอ อิม ศัพท์ (นี้) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อย อิเม ทุติยา อิม อิเม ตติยา อิมินา อเนน อิเมหิ อิเมภิ จตุตถี อิมสฺส อสฺส อิเมส อิเมสาน ปัญจมี อิมสฺมา อิมมฺหา อสฺมา อิเมหิ อิเมภิ ฉัตถี อิมสฺส อสฺส อิเมส อิเมสาน สตฺตมี อิมสฺมึ อิมมฺหิ อสฺมึ อิเมสุ
  • 56. อิม ศัพท์ (นี้) ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อย อิมา ทุติยา อิม อิมา ตติยา อิมาย อิมาหิ อิมาภิ จตุตถี อิมิสฺสา อิมิสฺสาย อสฺสา อิมาส อิมาสาน ปัญจมี อิมาย อิมาหิ อิมาภิ ฉัตถี อิมิสฺสา อิมิสฺสาย อสฺสา อิมาส อิมาสาน สตฺตมี อิมิสฺส อสฺส อิมาสุ อมุ ศัพท์ (โน้น) ในปุงลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อมุ อมู ทุติยา อมุ อมู ตติยา อมุนา อมูหิ อมูภิ จตุตถี อมุสฺส อมุโน อมูส อมูสาน ปัญจมี อมุสฺมา อมุมฺหา อมูหิ อมูภิ ฉัตถี อมุสฺส อมุโน อมูส อมูสาน สตฺตมี อมุสฺมึ อมุมฺหิ อมูสุ
  • 57. อมุ ศัพท์ (โน้น) ในอิตถีลิงค์ แจกอย่างนี้ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ปฐมา อมุ อมู ทุติยา อมุ อมู ตติยา อมุยา อมูหิ อมูภิ จตุตถี อมุสฺสา อมูส อมูสาน ปัญจมี อมุยา อมูหิ อมูภิ ฉัตถี อมุสฺสา อมูส อมูสาน สตฺตมี อมุสฺส อมูสุ วิธีเปลี่ยนวิภัตติ และการันต์ 1. เพราะ สิ วิภัติ แปลง อิม เป็น อย แล้ว ลบ สิ เสีย 2. เพราะ สิ ปฐมา. และ อ ทุติยา. (นปุงค์.) แปลง อิม เป็น อิท บ้าง 3. เพราะ นา ตติยา. แปลง อิม เป็น อน และ อิมิ 4. เพราะ สุ,น, หิ (ปุงลิงค์และนปุงค์.) แปลง อิม เป็น เอ เพราะ ส,สฺมา,สมึ, ส ,สา แปลง อิม เป็น อ
  • 58. 2.9 การใช้ กึ ศัพท์ กึ ศัพท์ที่ใช้เป็นคาถาม ใช้อย่างปุริสสัพพนาม คือ ใช้ลาพังตัวเอง ไม่ต้องประกอบกับนามนาม แปลว่า ใคร อะไร เช่น โก คาม อาคจฺฉติ ? อ.ใคร ย่อมมา สู่บ้าน กึ เต หตฺเถ โหติ ? อ.อะไร ย่อมมี ในมือ ของท่าน ? กสฺส สุนโข อาวาเส รวติ ? อ.สุนัข ของใคร ย่อมร้อง ในวัด ? ใช้เป็นวิเสสนสัพพนามแท้ คือ ใช้ประกอบกับนามนาม แปลว่า อะไร ไหน เช่น โก สามเณโร ปตฺเต โธวติ ? อ.สามเณร รูปไหน ย่อมล้าง ซึ่งบาตร ท. ? กา ทาริกา อุยฺยาน คจฺฉติ ? อ.เด็กหญิง ไร ย่อมไป สู่สวน ? กึ ผล ปิฏเก โหติ ? อ.ผลไม้ อะไร ย่อมมี ในกระจาด ? ใช้ กึ ศัพท์เป็นนิบาต เป็นคาถาม แปลว่า หรือ เช่น กึ ปเนต อาวุโส ปฏิรูป ? ดูก่อนอาวุโส ก็ อันนั่น สมควร หรือ ? บางทีประโยคคาถามนั้นไม่มี กึ แต่ใช้วิธีเรียงกิริยาไว้ ต้นประโยคก็มี เช่น อตฺถิ ปนายสฺมโต โกจิ เวยฺยาวจฺจกโร ? ก็ ใครๆ เป็นไวยาวัจกร ของท่านผู้มีอายุ ม อยู่ หรือ ? ใช้ กึ ศัพท์ เป็นนิบาต เป็นคาถามถึงเหตุที่เป็น แปลว่า ทาไม เช่น กึ ปาลิต ปมชฺชสิ ? ดูก่อนปาลิตะ อ.ท่าน ประมาทอยู่ ทาไม?
  • 59. กึ ศัพท์ที่มี จิ ต่อท้าย ไม่ใช้เป็นคาถาม กึ ศัพท์ตามปกติแปลว่า ใคร อะไร แต่ถ้ามี จิ ต่อท้าย ให้แปลซ้าสองหนว่า ใครๆ ไรๆ อะไรๆ เช่น โกจิ อ.ใครๆ โกจิ ชโน อ.ชน ไรๆ กาจิ อิตฺถิโย อ.หญิงไรๆ กิญฺจิ ธน อ.ทรัพย์อะไรๆ อีกอย่างหนึ่ง แปลว่า น้อย าง เช่น กิญฺจิ ธน อ.ทรัพย์ น้อยหนึ่ง โกจิ ปุริโส อ.บุรุษ บางคน เมื่อเป็นพหุวจนะ แปลว่า บางพวก บางเหล่า เช่น เกจิ ชนา อ.ชน ท. บางพวก กาจิ อิตฺถิโย อ.หญิง ท. บางเหล่า กานิจิ ภาชนานิ อ.ภาชนะ ท. บางพวก วิธีแจก กึ ศัพท์ ที่มี จิ ต่อท้าย ให้นา จิ ไปต่อท้ายศัพท์ที่แจกแล้วตามวิภัตตินั้นๆ เช่น โกจิ เกจิ กาจิ กานิจิ ถ้าวิภัตติใด ลงท้ายด้วยนิคคหิต ( ) ให้แปลงนิคคหิตเป็น อญฺ เช่น ก + จิ = กญฺจิ กึ + จิ = กิญฺจิ กสฺมึ + จิ = กสฺมิญฺจิ กึ ศัพท์ที่มี ย นาหน้า และมี จิ ต่อท้าย เมื่อมี ย นาหน้า และมี จิ ต่อท้าย กึ ศัพท์ ให้แปลว่า คนใดคนหนึ่ง, สิ่งใดสิ่งหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น โยโกจิ ยากา จิ ยงฺกิญฺจิ
  • 60. 2.9 สังขยาศัพท์ : การนับในภาษาบาลี สังขยา คือ การนับจานวน จัดเป็นคุณนาม เพราะบอกปริมาณหรือลาดับ ของนามนามหรือ สัพพนาม แปลว่า การนับหมายถึง ศัพท์ที่เป็นเครื่องนับนามนาม แบ่งเป็น 2 คือ ปกติสังขยา คือ นับนามนามโดยปกติ เพื่อให้รู้ว่านามนามนั้นมีประมาณเท่าใด เช่น เอก 1, ทฺวิ 2, ติ 3, จตุ 4 เป็นต้น ตัวอย่างเช่น ทส ทิวสา วัน 10 วัน นับจานวนวันทุกวัน รวมเป็น 10 วัน
  • 61. ปกติสังขยา ศัพท์บาลี คาแปล เอก 1 ทฺวิ 2 ติ 3 จตุ 4 ปญฺจ 5 ฉ 6 สตฺต 7 อฏฺฐ 8 นว 9 ทส 10 เอกาทส 11 ทฺวาทส/พารส 12 เตรส 13 จตุทฺทส/จุทฺทส 14 ปญฺจทส/ปณฺณรส 15 โสฬส 16 สตฺตรส 17 อฏฐารส 18 เอกูนวีสติ/อูนวีส 19 วีส/วีสติ 20 เอกวีสติ 21 ทฺวาวีสติ/พาวิสติ 22 เตวีสติ 23 จตุวีสติ 24 ปญฺจวีสติ 25 ฉพฺพีสติ 26 สตฺตวีสติ 27 อฏฐวีสติ 28 เอกูนตึส/อูนตึส 29 ตึส/ตึสติ 30
  • 62. เอกตฺตึส 31 ทฺวตฺตึส/พตฺตึส 32 เตตฺตึส 33 จตุตฺตึส 34 ปญฺจตฺตึส 35 ฉตฺตึส 36 สตฺตตฺตึส 37 อฏฺฐตฺตึส 38 เอกูนจตฺตาฬีส, อูนจตฺตาฬีส 39 จตฺตาฬีส/ตาฬีส 40 เอกจตฺตาฬีส 41 เทวฺจตฺตาฬีส 42 เตจตฺตาฬีส 43 จตุจตฺตาฬีส 44 ปญฺจจตฺตาฬีส 45 ฉจตฺตาฬีส 46 สตฺตจตฺตาฬีส 47 อฏฺฐจตฺตาฬี 48 เอกูนปญฺญาส/อูนปญฺญาส 49 ปญฺญาส, ปณฺณาส 50 สฏฺฐี 60 สตฺตติ 70 อสีติ 80 นวุติ 90 สต 100 สหสฺส 1000 ทสสหสฺส 10000 สตสหสฺส,/ลกฺข 100000 ทสสตสหสฺส 1000000 โกฏิ โกฏิ
  • 63. ปกติสังขยานี้ ในคัมภีร์ศัพทศาสตร์ท่านแบ่งเป็น ๒ พวก ตั้งแต่ เอก ถึง จตุ จัดเป็น สัพพนาม ตั้งแต่ปฺจ ไป เป็น คุณนาม. ปูรณสังขยา คือ นับนามนามที่เต็มในที่นั้นๆ เจาะจงนับเอาแต่หน่วยเดียว ตัวอย่างเช่น ทสม ทิวส วันที่ 10 กล่าวถึงวันสุดท้ายวันเดียวเท่านั้น คือวันที่ 10 มิได้กล่าวถึงวันทั้ง 10 วัน (ดังนั้น ปูรณสังขยาจึงเป็นเอกวจนะเสมอ)
  • 64. ปูรณสังขยา เป็นได้ทั้ง 3 ลิงค์ ปุงลิงค์ อิตถีลิงค์ นปุงสกลิงค์ คาแปล ปฐโม ปฐมา ปฐม ที่ 1 ทุติโย ทุติยา ทุติย ที่ 2 ตติโย ตติยา ตติย ที่ 3 จตุตฺโถ จุตุตถี/จตุตฺถา จตุตฺถ ที่ 4 ปญฺจโม ปญฺจมี/ปญฺจมา ปญฺจม ที่ 5 ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐี/ฉฏฺฐา ฉฏฺฐ ที่ 6 สตฺตโม สตฺตมา/สตฺตมี สตฺตม ที่ 7 อฏฺฐโม อฏฺฐมา/อฏฺฐมี อฏฺฐม ที่ 8 นวโม นวมา/นวมี นวม ที่ 9 ทสโม ทสมา/ ทสมี ทสม ที่ 10
  • 65. ปูรณสังขยา เป็นได้ทั้ง 3 ลิงค์ เอกาทสโม เอกาทสี/เอกาทสึ เอกาทสม ที่ 11 ทฺวาทสโม/พารสโม ทฺวาทสี/ พารสี ทฺวาทสม /พารสม ที่ 12 เตรสโม เตรสี เตรสม ที่ 13 จตุทฺทสโม /จุทฺทสโม จตุทฺทสี/ จาตุทฺทสี จตุทฺทสม ที่ 14 ปณฺณรสโม /ปญฺจทสโม ปณฺณรสี /ปญฺจทสี ปณฺณรสม ที่ 15 โสฬสโม โสฬสี โสฬสม ที่ 16 สตฺตรสโม/ สตฺตทสโม สตฺตรสี สตฺตรสม ที 17 อฏฺฐารสโม/อฏฺฐาทสโม อฏฺฐารสี อฏฺฐารสม ที่ 18 เอกูนวีสติโม เอกูนวีสติมา เอกูนวีสติม ที่ 19 วีสติโม วีสติมา วีสติม ที่ 20
  • 66. อุปสัค อติ ยิ่ง เกิน ล่วง อธิ ยิ่ง ใหญ่ทับ อนุ น้อย ภายหลัง ตาม อป ปราศ หลีก อปิ หรือ ปิ ใกล้ บน อภิ ยิ่ง ใหญ่ จาเพาะ ข้างหน้า อว หรือ โอ ลง อา ทั่ว ยิ่ง กลับความ อุ ขึ้น นอก อุป เข้าไป ใกล้มั่น ทุ ชั่ว ยาก นิ เข้า ลง นิ ไม่มี ออก ป ทั่ว ข้างหน้า ก่อน ออก ปฏิ เฉพาะ ตอบ ทวน กลับ ปรา กลับความ ปริ รอบวิ วิเศษ แจ้ง ต่าง ส พร้อม กับ ดี สุ ดี งาม ง่าย.
  • 67. อัพยยศัพท์ อัพยยศัพท์ (Affixation)คือ ศัพท์ที่แจกด้วยวิภัตติ 7 หมวด เหมือนนามนามไม่ได้ คงรูปอยู่อย่าง เดิม แบ่งเป็น 3 คือ อุปสัค (prefix) นิบาต (Averd) ปัจจัย (suffix) อุปสัค แปลว่า ขัดข้องอุปสัค ใช้นาหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น เมื่อนาหน้านาม* มีอาการคล้าย คุณศัพท์ เมื่อนาหน้ากิริยา มีอาการคล้ายกิริยาวิเสสนะ (* เฉพาะนามนามและคุณนาม) ใช้นาหน้านาม นามให้วิเศษขึ้น มีอาการคล้ายคุณศัพท์ เช่น อติปณฺฑิโต เป็นบัณฑิตยิ่ง อธิสกฺกาโร สักการะยิ่ง ใช้นาหน้าคุณนาม ให้มีเนื้อความดียิ่งขึ้น เช่น อติสุนทโร ดียิ่ง อภิปฺปสนฺโน เลื่อมใสยิ่ง สุคนฺโธ มี กลิ่นดี ใช้นาหน้ากิริยา มีอาการคล้ายกิริยาวิเสสนะ เช่น อติกฺกมติ ย่อมก้าวล่วง อธิเสติ ย่อมนอนทับ