SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
เมืองแห่งความหลากหลาย
presented by ลุงเอก
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
รูปแบบ “สันติภาพ” บนความแตกต่าง
กรณีศึกษา :
ชุมชนย่านกุฎีจีน, ย่านคลองตะเคียน และ ชุมชน อ.ละงู จ.สตูล ประเทศ
อิหร่าน ประเทศตุรกี ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ความสาคัญของการศึกษา
การศึกษาเรื่อง “สันติภาพ” บนความแตกต่างของวัฒนธรรม เป็นเรื่องที่
อยู่ในความสนใจของทุกชาติ โดยมีจุดประสงค์เดียวกันคือ แสวงหา
ความสันติสุขอย่างยั่งยืน
นโยบายของคณะรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภาเมื่อ 23 สิงหาคม 2554 “…ส่งเสริม
ความเข้าใจอันดีและสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา เพื่อ
นาหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
สร้างแรงจูงใจให้ประชาชนใช้หลักธรรมในการดารงชีวิตมากขึ้น…”
ความสาคัญของการศึกษา
และจากรากเหง้าของความขัดแย้งในภาคใต้ ได้แก่ 1)
ประชาชนในพื้นที่มีความรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม 2)
ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกลุ่มคนต่างๆ ทั้งในและนอก
พื้นที่ 3) ความทรงจาในบาดแผลทางประวัติศาสตร์ของรัฐ
ปัตตานีในอดีต และ 4) โครงสร้างการจัดการปกครอง (4ส1
ทาการศึกษา พ.ศ.2552)
ความสาคัญของการศึกษา
จากพื้นที่กรณีศึกษาที่เป็นรูปแบบ “สันติภาพ” บนความ
แตกต่าง ทั้งชุมชนกุฎีจีน ชุมชนคลองตะเคียน ชุมชนใน ต.
กาแพง อ.ละงู จ.สตูล และ กรณีการยุติความขัดแย้งและ
ความรุนแรง จาก 3 ประเทศ ทาให้นักศึกษามีความสนใจ
ศึกษาปัจจัยที่ทาให้เกิด “รูปแบบสันติภาพ” โดยมี
วัตถุประสงค์ ดังนี้
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษารูปแบบสันติภาพ (Peace model) ในสังคมพหุวัฒนธรรม
2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ทาให้เกิดสันติภาพ
3. เพื่อเปรียบเทียบรูปแบบสันติภาพของ 3 พื้นที่ คือ
1) ชุมชนย่านกุฎีจีน เขตธนบุรี กทม.
2) ชุมชนย่านคลองตะเคียน อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา
3) ชุมชน ต.กาแพง อ.ละงู จ.สตูล
4) ประเทศอิหร่าน
5) ประเทศตุรกี
6) ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
4. เพื่อเชื่อมโยงรูปแบบสันติภาพไปยังพื้นที่ขัดแย้งและรุนแรงในสาม
จังหวัดชายแดนภาคใต้
5. เพื่อเผยแพร่รูปแบบสันติภาพไปยังพื้นที่ที่เกิดความขัดแย้งและ
สังคมโดยรวม
ประโยชน์ของการศึกษา
 1. เพื่อได้รับองค์ความรู้ด้านรูปแบบสันติภาพของ 3 พื้นที่ในประเทศ คือ ชุมชนย่านกุฎีจีน ชุมชน
คลองตะเคียน และชุมชนอาเภอละงู และ 3 พื้นที่ในต่างประเทศ คือ ประเทศอิหร่าน ประเทศ
ตุรกี และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
 2. เพื่อสามารถนาองค์ความรู้ไปเป็นแนวทางนาไปปฏิบัติด้านนโยบายศาสนา ศิลปะ และ
วัฒนธรรม ภายใต้นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ของพื้นที่ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 3. เพื่อเชื่อมโยงรูปแบบสันติภาพไปยังพื้นที่ขัดแย้งและรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 4. เพื่อเผยแพร่รูปแบบสันติภาพไปยังพื้นที่ที่เกิดความขัดแย้งและสังคมโดยรวม
ปัจจัยรูปแบบสันติภาพบนความแตกต่าง
วิถีชีวิตที่สันติสุข
มีความเท่าเทียมกัน
การมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน
มีความยุติธรรม
ปลอดจากความรุนแรงในทุกด้าน
สันติภาพยั่งยืน
สันติวิธี
แนวคิดทฤษฎีสันติภาพ
1.Galtung (3)
2.Lederach (4)
3.Adam Curle (4)
4.Harvard (4)
1.ข้อเสนอเชิงรุก (4ส1)
2.ตัวแบบสันติธานี
(4ส2)
3.โครงสร้างการศึกษาที่
เหมาะสมกับวิถีใต้ (4ส3)
ความขัดแย้ง
บาดแผลทางประวัติศาสตร์
ความเหลี่ยมล้า
แยกขั้วความรุนแรง
ความเห็นต่าง
ความไม่ไว้เนื้อเชื่อใจ
ประวัติศาสตร์ชุมชน
พหุวัฒนธรรม
พหุลักษณ์
ศาสนา
อาชีพชุมชน
ผู้นา
การสื่อสาร การเจรจา
เจตคติ
การใช้ทรัพยากร
ชาติพันธุ์
ข้อกาหนดของชุมชน
โครงสร้างทางสังคม
วิถีชุมชนที่แตกต่าง
สันติภาพของนักศึกษา 4ส ที่ผ่านมา
ข้อเสนอแนะเชิงรุก ‟ 4ส1
„ การเตรียมความพร้อมและความเข้มแข็งของชุมชน
ตัวแบบสันติธานี ‟4ส2
• ทำตัวอย่ำงให้เห็นเป็นรูปธรรม เกิดเป็นสันติธำนี
โครงสร้างการศึกษาที่เหมาะกับวิถีใต้ 4ส3
„ ลงลึกไปด้านการศึกษา ซึ่งเป็นฐานรากที่สาคัญของชุมชน
ทฤษฎีสันติวิธี 4 อัน
Johan Galtung
„ บิดาของสันติศึกษายุคใหม่ โดยการเสนอแนวคิดสามเหลี่ยมสันติภาพที่ประกอบด้วย ความขัดแย้ง ความรุนแรงและสันติภาพ
„ ทฤษฎี “สันติภาพโดยสันติวิธี (Peace by Peaceful Means)”
Lederach
„ เสนอแนวคิดการสร้างสันติภาพจากด้านล่างและการปรับกระบวนทัศน์จากการชี้นามาสู่การร่วมกันหาคาตอบ
„ เน้นการมีส่วนร่วมในทุกฝ่าย และสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนที่อ่อนแอและสร้างสันติภาพจากภายใน
Uppsala
„ เสนอแนวคิดในการวิเคราะห์ความขัดแย้ง โดยแบ่งเป็นความขัดแย้งในระดับโครงการ ระดับยุทธศาสตร์ และระดับภาคส่วน
Harvard
„ พัฒนาเครื่องมือและเทคนิคต่างๆ ได้แก่ การโต้ตอบแลกเปลี่ยน การเสวนา การร่วมกันหาคาตอบ และการใช้บุคคลที่ 3 เข้ามาไกล่เกลี่ย
ประวัติศาสตร์ชุมชน
ชุมชน 3 ศาสนา
เป็นชุมชนพหุวัฒนธรรม
ผู้นาชุมชนเข้มแข็ง
โครงสร้างทางสังคมของชุมชน
วิถีชุมชนที่แตกต่าง
3 ศาสนาอยู่กันอย่างสงบสุข
สันติภาพ
ความขัดแย้ง
เกิดความขัดแย้งในชุมชนชาวพุทธเรื่อง
พื้นที่อยู่อาศัยที่เป็นที่ดินของวัด
รูปแบบสันติภาพในชุมชนกุฎีจีน
โครงสร้างทางสังคมของชาวคริสต์ที่ความ
มั่นคงและสืบทอดอาชีพดั้งเดิม
มีความร่วมมือในกิจกรรมของชุมชน
ประวัติศาสตร์ชุมชนสมัยกรุงศรีอยุธยา
พหุวัฒนธรรม
พหุลักษณ์
ศาสนา
อาชีพชุมชน
ผู้นา
การสื่อสาร การเจรจา
เจตคติ
การใช้ทรัพยากร
ชาติพันธุ์
ข้อกาหนดของชุมชน
โครงสร้างทางสังคม
วิถีชุมชนที่แตกต่าง
เวทีกิจกรรมภาครัฐ
สันติภาพ
ความขัดแย้ง
รูปแบบสันติภาพในชุมชนคลองตะเคียน
ประวัติศาสตร์ชุมชนที่ยาวนาน
มีความร่วมมือในกิจกรรมของชุมชน
โครงสร้างทางสังคมของชุมชน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ชาติพันธุ์ที่แตกต่าง พหุวัฒนธรรม
ประวัติศาสตร์ชุมชนจากมาลายู
พหุวัฒนธรรม
พหุลักษณ์
ศาสนา
อาชีพชุมชน
ผู้นา
การสื่อสาร การเจรจา
เจตคติ
การใช้ทรัพยากร
ชาติพันธุ์
ข้อกาหนดของชุมชน
โครงสร้างทางสังคม
วิถีชุมชนที่แตกต่าง
ผู้นาชุมชนที่เข้มแข็งและเข้าใจวัฒนธรรม
ชุมชนที่แตกต่าง
สันติภาพ
ความขัดแย้ง
รูปแบบสันติภาพในเทศบาลกาแพง อ.ละงู จ.สตูล
ประวัติศาสตร์ชุมชนที่ยาวนาน
มีความร่วมมือในกิจกรรมของชุมชน
โครงสร้างทางสังคมของชุมชน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ชาติพันธุ์ที่แตกต่าง พหุวัฒนธรรม
มีความขัดแย้งเล็กน้อยในขณะหาเสียงเลือกตั้ง
นักการเมืองท้องถิ่นและในกิจกรรมทางศาสนา
เช่น การเปิดกระจายเสียง
ความขัดแย้ง
รูปแบบสันติภาพในประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
• ความรุนแรง
• สงคราม
• ชาติพันธุ์ที่แตกต่าง
• ศาสนาที่แตกต่าง
• ปัญหาชนกลุ่มน้อย
• ผู้นาแสวงหาอานาจ
• ประเทศเพื่อนบ้านสนับสนุนให้เกิด
ความรุนแรง
สันติภาพ
• Force for Peace
• Peace Dialogues
• Third Party Rule
• กรรมาธิการชนกลุ่มน้อย
• มีข้อยุติที่เป็นที่ยอมรับทุกฝ่าย
รูปแบบสันติภาพในประเทศตุรกี
สันติภาพ
 Peace Building
 Peace Dialogues สานเสวนา
 Mediation คนกลางไกล่เกลี่ย
 แนวคิดและยุทธศาสตร์การสร้าง
สันติภาพของกูเลนและขบวนการ
เคลื่อนไหวอิซเมท
 การหนุนเสริมระบบการศึกษาเพื่อสร้าง
สันติภาพ
 การสร้าง Peace Environment ในชุมชน
ความขัดแย้ง
 ปัจจัยทางภูมิรัฐศาสตร์
 รัฐประหารในตุรกี
 บทบาทของตุรกีใน
ตะวันออกกลาง
 ปัญหาชนกลุ่มน้อยในตุรกี
รูปแบบสันติภาพในประเทศอิหร่าน
ความขัดแย้ง
 การปฏิวัติ
 ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
 ปัจจัยด้านศาสนา
 ปัจจัยของพระเจ้าซาร์
สันติภาพ
• ประวัติศาสตร์
• วัฒนธรรม
• ความสวยงามของศิลปะ
• เสรีภาพ
• อิสรภาพ
• ความเสมอภาคและความยุติธรรม
• การทดลองอาวุธนิวเคลียร์เพื่อสันติ
รูปแบบสันติวิธีในแอฟริกาใต้
ใช้อานาจรัฐบนหลักนิติธรรมอย่างเสมอภาค
ริเริ่มและส่งเสริมกระบวนการพูดคุย (Peace Talk) อย่างจริงจังและต่อเนื่องกับกลุ่มบุคคลที่อาจมีความคิดเห็นที่
แตกต่างกันทุกๆ กลุ่ม
ลดหรือขจัดเงื่อนไขทางการเมืองและสังคม
แก้ไขปัญหาทุจริตอย่างจริงจัง
กาหนดนโยบายเพื่อแก้ไขความเหลี่ยมล้าในสังคม
ปรับโครงสร้างทางการเมืองที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน
เสริมสร้างความเข้าใจในสันติวิธีกับผู้เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา
เสริมสร้างวัฒนธรรมการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมือง
รูปแบบสันติวิธีของไอร์แลนด์เหนือ
ผู้คนในสังคมจะต้องตระหนักอยู่เสมอว่าเราสามารถอยู่ด้วยกันได้โดยไม่จาเป็นต้องคิดเหมือนกัน
รับรู้และเข้าใจว่าทาไมคนอื่นจึงคิดต่างจากเรา ลดอคติและความเกลียดชังระหว่างกันลงโดยไม่
จาเป็นต้องรักใคร่กลมเกลียวกัน
(เมธัส อนุวัตรอุดม, 2555)
ก้าวแรกสู่การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
ตระหนัก รับรู้ความจริง ที่ต้องอยู่ร่วมกันอย่างสันติด้วยการประนีประนอม
เนื้อหา ข้อตกลง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การเยียวยา และฟื้ นฟูสังคม
การเปรียบเทียบปัจจัยที่ทาให้เกิดสันติภาพในพื้นที่ต่างๆ
ชุมชนกุฎีจีน ชุมชนคลอง
ตะเคียน
ชุมชน อ.ละงู บอสเนีย ตุรกี อิหร่าน
3 ศาสนาอยู่กันอย่าง
สงบสุข
เวทีกิจกรรมภาครัฐ ผู้นาชุมชนที่
เข้มแข็งและเข้าใจ
วัฒนธรรมชุมชนที่
แตกต่าง
Force for peace Peace building ประวัติศาสตร์ที่
ยาวนาน
โครงสร้างทางสังคม
ของชุมชน
ความร่วมมือใน
กิจกรรมชุมชน
ความร่วมมือใน
กิจกรรมของชุมชน
Peace dialogues Peace dialogues ศิลปวัฒนธรรม
ความร่วมมือใน
กิจกรรมชุมชน
ประวัติศาสตร์
ชุมชนที่ยาวนาน
ประวัติศาสตร์
ชุมชนที่ยาวนาน
Third party rule Mediation เสรีภาพ
ประวัติศาสตร์
ชุมชนที่ยาวนาน
ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
โครงสร้างทางสังคม
ของชุมชน
มีข้อยุติที่เป็นที่
ยอมรับทุกฝ่าย
แนวคิดของกูเลนและ
ขบวนการอิซเมท
ความเสมอภาคและ
ความยุติธรรม
ชาติพันธุ์ที่แตกต่าง ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
ระบบการศึกษาเพื่อ
สร้างสันติภาพ
การทดลองอาวุธ
นิวเคลียร์เพื่อสันติ
พหุวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ที่แตกต่าง Peace environment
พหุวัฒนธรรม
รูปแบบ “สันติภาพ” บนความแตกต่าง
สันติวิธีจากกรณีศึกษา 3
พื้นที่ในประเทศ และ
3 พื้นที่ในต่างประเทศ
แอฟริกาใต้ และไอร์แลนด์
เหนือ
รูปแบบสันติภาพบนความแตกต่าง
- ประวัติศาสตร์อันยาวนาน
- เสวนาสันติภาพ
- การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
- ผู้นาชุมชน
- เวทีกิจกรรมภาครัฐ
- ก้าวข้ามความแตกต่างทาง
วัฒนธรรม
- ก้าวข้ามความขัดแย้ง
- สร้างความเข้มแข็งของชุมชน
- การทาให้ความรุนแรงไม่ย้อนกลับ
แนวคิดทฤษฎีสันติภาพ
1.Galtung (3)
2.Lederach (4)
3.Adam Curle (4)
4.Harvard (4)
1.ข้อเสนอเชิงรุก (4ส1)
2.ตัวแบบสันติธานี
(4ส2)
3.โครงสร้างการศึกษาที่
เหมาะสมกับวิถีใต้ (4ส3)
การเชื่อมโยงความรู้ในงานวิชาการของนักศึกษา 4ส ในรุ่นที่ผ่านมา
รุ่น 1 เตรียม
ความพร้อม
และความ
เข้มแข็งของ
ชุมชน
รุ่น 2 ทาตัวอย่าง
ให้เห็น เกิดเป็น
สันติธานี
รุ่น 3 มุ่งเน้น
การศึกษาที่
สอดคล้องกับวิถี
ชีวิตชาวใต้
รุ่น 4 เป็นการ
มองในมุม
positive ถึง
ปัจจัยที่
ก่อให้เกิด
สันติภาพ
สันติสุข
ในสังคม
กระบวนการขับเคลื่อนงานวิชาการสู่สังคม
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ที่ปรึกษา
 นาเข้าสู่กรรมาธิการชายแดนใต้, นาเข้าวุฒิสภา หรือผ่านโครงการยุทธศาสตร์สันติวิธี สกว.
 นาแกนหลักของ 4ส ทั้ง 4 รุ่น มาพูดคุยกัน เปิดเวทีสาธารณะ และนารายงานของทั้ง 4 รุ่นมาจัดพิมพ์รวม
เล่ม เพื่อให้เห็นกระบวนการการขับเคลื่อนให้งานชิ้นนี้สู่สาธารณะ
เนื้อหาเอกสารวิชาการ
บทที่ 1 หลักการ เหตุผล ความสาคัญ
บทที่ 2 สันติภาพภายใต้วิถีชุมชน
บทที่ 3 รายงาน 3 พื้นที่ในประเทศ
บทที่ 4 รายงาน 3 พื้นที่ในต่างประเทศ และ กรณีของประเทศแอฟริกาใต้ และ ไอร์แลนด์เหนือ
บทที่ 5 การเปรียบเทียบ 3 พื้นที่ในประเทศ และ 3 พื้นที่ในต่างประเทศ และ ได้ Peace Model ที่
ต้องการ
บทที่ 6 รายงานการเชื่อมโยงสิ่งที่ได้สู่การแก้ไขปัญหาภาคใต้ และ กระบวนการการขับเคลื่อนสิ่งที่ได้สู่
สังคม
ถอดบทเรียนการอยู่ร่วมกัน
 การพูดคุยมักจับกลุ่มกันเล็ก ๆ ยกเว้นในกลุ่มผู้ที่รู้จักกันมาก่อน เช่น กลุ่มนักข่าว
กลุ่มตารวจ กลุ่มศาล หรือผู้ที่เคยผ่านการเรียนร่วมกันมาในหลักสูตรอื่น ๆ
 นักการเมืองต่างพรรค เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ หรือพรรคเดียวกัน จะนั่งอยู่คนละ
มุม ได้เพียงแค่ส่งรอยยิ้ม และพยายามเดินเลี่ยงไม่ผ่านในจุดที่ฝ่ายตรงข้ามนั่งอยู่
 บางครั้งการร่วมทากิจกรรมจะถูกจัดให้นั่งอยู่ในแถวเดียวกัน หรือนั่งอยู่ใกล้กันก็
จะมีท่าทีระมัดระวังตัวอย่างเห็นได้ชัด
 “รบกวนอย่าถ่ายรูป หรือเอารูปไปลงในสื่อโซเชียล เพราะเกรงจะกระทบต่อฐาน
เสียงหรือประชาชนที่ให้การสนับสนุนอยู่ กลัวว่าเขาจะยังไม่เข้าใจว่า ทาไมต้องไป
ถ่ายรูปกับฝ่ายตรงข้าม”
ถอดบทเรียนการอยู่ร่วมกัน
แม้ว่าการจัดกิจกรรมปฐมนิเทศในห้องจะทาให้บรรยากาศคลายความ
กดดันและลดความตึงเครียดได้
ในระดับหนึ่ง แต่เมื่อกิจกรรมเสร็จสิ้นและต้องนั่งรับประทานอาหาร
ร่วมกัน ฝ่ายการเมืองต่างสีกันก็มักจะแยกไปนั่งต่างหาก จากนั้นจึงแยก
ย้ายกันไปทากิจกรรมส่วนตัว
กลุ่มข้าราชการ นักธุรกิจ และส่วนอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง จะจับ
กลุ่มนั่งคุย เดินเล่น หรือทากิจกรรมที่สนใจ
คลายความกังวล
นักศึกษาเริ่มสนิทสนมจับคู่คุย ทานอาหารร่วมกัน มีไลน์กลุ่ม
เริ่มสนิทสนมและแลกเปลี่ยนความคิดหรือนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ
ระหว่างกันมากขึ้นทั้งแบบทางการและไม่เป็นทางการ มีการ
แบ่งปันข้อมูลความรู้ที่เป็นประโยชน์ซึ่งแต่ละคนสนใจ
ไม่เคยคุยถึงปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองทั้งในอดีต ปัจจุบัน
และอนาคต
คลายความกังวล
“ผมเป็นคนไม่มีต้นทุนอะไรมานะ รู้แต่ว่าเราไม่ได้รับความ
เป็นธรรม ไม่ได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม แต่การที่ผม
ได้มาเรียน มันก็ทาให้ผมเข้าใจอะไรมากขึ้น ไม่ได้มองโลก
อยู่ในมุมเดิม ๆ หลายคนที่ผมได้มารู้จักเป็นคนของพรรคที่
ผมไม่ชอบ แต่เขาก็น่ารักดี อัธยาศัยดี”
คลายความกังวล
บทสนทนาของเพื่อนนักศึกษาระหว่างที่นั่งบนรถตู้ ซึ่งกาลังมุ่งหน้าไปยัง
วัดแห่งหนึ่งในพื้นที่อาเภอธารโต จังหวัดยะลา
“พูดจริง ๆ ถ้าไม่ได้เรียนหลักสูตรนี้ ให้มาจังหวัดชายแดนภาคใต้ก็คงไม่
มา ดูข่าว ฟังข่าว ดูน่ากลัว เรามองว่าที่นี่เป็นดินแดนอันตราย แต่ได้มา
เห็นผู้การสมเกียรติ [พลเรือตรี สมเกียรติ ผลประยูร นักศึกษา 4ส6]กับ
ชาวบ้านแล้ว ทาให้เข้าใจการทางานของเจ้าหน้าที่เลยว่า มันไม่ง่าย”
เปิดใจรับฟัง
“ผมเรียนมาหลายหลักสูตร ไม่ได้ลงพื้นที่ศึกษาดูงานหนัก
เหมือนที่นี่ แต่ก็น่าสนใจดี มีอะไรดี ๆ ให้ดูอย่างวิถีชีวิต
วัฒนธรรม การแต่งตัวของคนแต่ละกลุ่มก็ไม่เหมือนกัน
ทาไมคนพวกนี้อยู่ร่วมกันได้ไม่แบ่งสีแบ่งฝ่ายกัน หรือบาง
ทีในหมู่บ้านเขาอาจจะมีการแบ่งสีเสื้อกัน แต่เราไม่รู้ก็ได้”
เปิดใจรับฟัง
“ตอนแรก ๆ พี่เกร็งไปหมดเลย ไม่กล้าคุยเรื่องการเมืองกับใคร เราไม่รู้
ว่าใครสนับสนุนสีไหนพรรคไหนเลยต้องเก็บเงียบไว้คนเดียว กลัวที่สุด
คือความขัดแย้งข้างนอกมันแรงอยู่แล้ว ถ้าข้างใน [ชั้นเรียน]มาตีกันอีก
แล้วมันจะเป็นยังไง ยอมรับว่าไม่กล้าคุยกับใครจริง แต่ก็มีแอบ ๆ เตือน
คนที่เราชอบว่า ให้ระวัง ๆเหมือนกัน”
เพื่อนร่วมชั้นเรียนเปรยเมื่อถูกถามว่า เหตุใดในช่วงแรก ๆ จึงไม่ค่อย
พูดคุยกับใครเลยในส่วนของกลุ่มเสื้อสี เริ่มสนิทกับกลุ่มนักวิชาการ มีการ
ทักทายพูดคุย เดินกอดคอ ตบบ่าและตะตะโกนแซวกันได้โดยไม่ต้อง
ระวังภาพลักษณ์เหมือนช่วงต้น ๆ
เปิดใจรับฟัง
“บรรยากาศการเรียนที่ผ่อนคลายเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้ภาพ
นี้เกิดขึ้นได้เขาฟังกันมากขึ้นก็จริงแต่จะเปลี่ยนความคิดลึก
ๆ ในใจได้หรือไม่อีกเรื่องหนึ่ง มาที่นี่ทุกคนก็ต้องสงวนท่าที
รักษาภาพลักษณ์และควบคุมตัวเองให้ได้เพราะคงไม่มีใคร
อยากถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุของความขัดแย้ง ซึ่งเป็น
จุดเริ่มต้นที่ดี”
เปิดใจรับฟัง
“ยอมรับว่ากิจกรรมต่าง ๆ ทาให้พวกเราสนิทกันอย่างรวดเร็ว พี่
เชื่อว่าทุกคนที่มาเรียนไม่ว่าจะสีอะไรล้วนหวังดีต่อประเทศ ไม่ว่า
ใครจะคิดต่างกันอย่างไร ก็คงมีเหตุผลของตัวเอง บางทีกระแส
สังคมข้างนอกก็กดดันให้เขาต้องเลือกข้าง แบ่งฝ่ายไม่ว่าจะใครจะ
สีไหน หรือประกาศว่าไม่นับถือศาสนาใด ๆ เลย แต่คงไม่มีใคร
คิดร้ายกับประเทศและสังคมที่เขาต้องอยู่ไปตลอดชีวิต”
เปิดใจรับฟัง
นักศึกษาที่มีสังกัดสีอีกคนหนึ่ง ยอมรับว่าหลังจากได้รู้จักเพื่อนคนอื่น ๆ
ทาให้เธอคิดในมุมที่แตกต่างไปจากเดิม “เราแยกแยะได้มากขึ้น ไม่เหมา
รวม”
เพื่อนนักศึกษาฝ่ายการเมืองมีสีอีกคน พูดถึงเพื่อนซึ่งอยู่คนละขั้ว
การเมืองว่า “เขามีความคิดที่น่าชื่นชมเช่นนี้ เขาเป็นผู้ใหญ่มาก และน่า
นับถือจุดยืนที่เป็นตัวตนของเขา...”
เปิดใจรับฟัง
“เมื่อเปรียบเทียบสถานการณ์ศรีลังกากับไทยแล้วจะเห็นว่ามีเงื่อนไข
ต่างกัน ผมคิดว่าสาหรับบ้านเราไม่ว่าจะเหลืองหรือแดง เราก็คิดไม่ต่างกัน
คือต้องการเห็นความยุติธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบและไม่ต้องการความ
รุนแรง เรื่องนี้ไม่ใช่การเอาชนะระหว่างสองฝ่าย แต่เราอาจเป็นเหยื่อของ
คนที่อยากทาลายเราก็เป็นได้ผมว่าเราควรคิดไปข้างหน้าได้แล้ว อย่าไป
พยายามทาให้คนคิดเหมือนกัน สังคมวิปริตเท่านั้นที่พยายามทาให้คนคิด
เหมือนกัน สังคมที่มีเสน่ห์คือมีความหลากหลาย งดงาม ทาอย่างไร ให้
เราอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสันติสุข”
สร้างพื้นที่ปลอดภัย
“ผมเป็นเจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งต้องรับมือกับกลุ่มคนทั้งสองสี และปฏิบัติ
ตามนโยบายของกลุ่มการเมืองที่เข้ามาบริหารประเทศ เมื่อทุกคน
มาอยู่รวมกันทาให้เข้าใจแล้วว่า คาว่า สันติสุข การเปิดเวทีรับฟัง
คนคิดต่าง เวทีรับฟังที่เป็นกลางจริง ๆ ต้องทาอย่างไร คาถามคือ
ถ้าเราเปิดพื้นที่ปลอดภัยให้แล้ว เขายอมรับฟังข้อแนะนาเรา
หรือไม่ ถ้าไม่ เราคงต้องถอยออกมาตั้งหลักอย่างใจเย็น หาวิธีการ
แก้ปัญหาด้วยแนวทางอื่น ๆ ที่สาคัญคือ เราต้องไม่มองคนคิดต่าง
เป็นศัตรู”
สร้างพื้นที่ปลอดภัย
“เพื่อนมีส่วนสาคัญในการสร้างพื้นที่ปลอดภัย แม้จะเรียน
ร่วมกันระยะสั้น ๆ แต่ทุกคนก็มีวุฒิภาวะและความเป็น
ผู้ใหญ่มากพอที่ไม่สร้างประเด็นให้ถกเถียงหรือขัดแย้ง ทุก
คนพยายามวางตัวเป็นกลาง และรักษาน้าใจของทุกฝ่าย ไม่
กระทบกระทั่งกันรุนแรง วิธีนี้ก็เป็นการเปิดพื้นที่ปลอดภัย
อย่างหนึ่ง”
สร้างพื้นที่ปลอดภัย
“ผมเห็นด้วยกับพี่... ว่า ประชาชนจะต้องเรียนรู้และเท่าทันนักการเมือง
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องประชาธิปไตยอย่างแท้จริง เราเห็นตรงกันว่า เรา
เกลียดเรื่องการทุจริตคอร์รัปชั่น เพราะไม่ว่าใครจะเข้ามามันก็มีปัญหาทุก
ยุค ปัญหาคือเราจะช่วยกันอย่างไร จริง ๆ ผมกับพี่... รู้จักกันมาก่อน แต่
เราไม่เคยได้มานั่งเปิดใจพูดคุยกันอย่างนี้ เรามีหลายอย่างที่คิดตรงกัน
และเห็นตรงกัน”
เสียงสะท้อนของเพื่อนนักศึกษาที่มีต่อเพื่อนนักศึกษาฝ่ายตรงข้าม
สร้างพื้นที่ปลอดภัย
“พอรู้จักจริง ๆ พี่... เป็นผู้ใหญ่ที่น่ารัก และมีความคิดดี พวกพี่ ๆ
ในพรรค... หลายคนบอกว่าพี่เขาน่ารัก เป็นคนดี ตอนแรกเราก็
ไม่มั่นใจ แต่พอรู้จักนาน ๆ ไปก็จริง คือ บางครั้งเราไม่เคยคุยกับ
เขา ก็มีอคติไง แต่ได้คุยจริง ๆ แต่ละคนก็มีมุมดี ๆ ให้ข้อคิดดี
ๆ ยกเว้นบางคนนะที่ทาอย่างไรก็ไหว้ไม่ลง”
 บทสนทนาของเพื่อนนักศึกษาฟากฝั่งการเมืองที่สื่อไปยังเพื่อนร่วมรุ่นต่างพรรค
สร้างพื้นที่ปลอดภัย
“ก่อนที่จะเข้ามาเรียน ผมคิดว่าสถาบันพระปกเกล้าคือโรงเรียนอามาตย์
แต่เมื่อเข้ามาเรียนถึงได้เข้าใจผมเปลี่ยนจากที่ไม่ฟังเหตุผลของใคร ทา
ให้ฟังกันมากขึ้น ผมสามารถนั่งคุยกับคนที่เห็นต่างทางการเมืองได้ ผม
ได้รู้ทีหลังว่า อ๋อ.. คนที่เราเห็นแล้วคิดว่าเขาเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ที่จริง
แล้วเขาก็คิดเหมือนเรา แต่เป็นเพราะเราไม่ได้มีโอกาสคุยกัน การได้คุย
ทาให้เราได้รู้ข้อมูลใหม่ แถมยังได้ซักถามประเด็นที่เราคลางแคลงใจอีก
ฝ่ายหนึ่งด้วย ผมนั่งคุยกับหลาย ๆ คนได้แถมบางคนเคยไปส่งผมที่
สนามบินกลับบ้านตั้งหลายครั้ง”
สันติสุขบนความเห็นต่าง
“พี่ก็มอง ๆ เหมือนน้องนะว่า เขามีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้นจากที่
ต่างฝ่ายต่างระวังตัว ส่วนหนึ่งเป็นเพราะมันเปิดใจฟังกันมากขึ้น
ไง พี่คนนั้นเขาก็ไม่ใช่คนเลวร้ายอะไร ดูแล้วเขาก็เป็นคนดี แต่
เวลาคนมันอยู่คนละขั้ว แรงเชียร์ของแต่ละฝ่ายมันเยอะเลยซัด
กันนัว พี่เชื่อว่า ประเทศเราจะกลับมาปรองดองกันได้ ส่วนหนึ่ง
นอกจากนักการเมือง พรรคการเมือง แกนนาทั้งหลายแหล่ แล้วก็
พวกเรานั่นแหละที่ต้องช่วยกัน”
สันติสุขบนความเห็นต่าง
“ผมชื่นชมความคิดของพี่เขามาก เขาเป็นคนตรงและมีจุดยืนชัดเจน
เป็นคนที่ผมสามารถให้ความนับถือได้อย่างสนิทใจ ผมได้คุยกับพี่เขา
บ่อยขึ้น ยิ่งได้ฟังเรื่องราวของเขาที่ผ่านหลายเหตุการณ์ที่ยากลาบากถึง
เพิ่งเข้าใจจุดยืนว่าทาไมจึงคิดบางเรื่องเช่นนั้น เมื่อก่อนเรามองจากข้าง
นอก ไม่ได้คุยด้วยก็ไม่เข้าใจ แล้วผมก็ได้รู้ว่าไม่ว่าจะเสื้อเหลืองหรือเสื้อ
แดง เราก็คิดไม่แตกต่างกัน เพียงแต่เรามีจุดยืนที่ไม่เหมือนกันเท่า
นั้นเอง”
สันติสุขบนความเห็นต่าง
“การปรองดอง สันติสุข เกิดขึ้นได้บนความเห็นต่างแต่ต้องใช้เวลา
เหมือนกับคู่ขัดแย้งที่เข้ามาเรียนในหลักสูตรนี้ ถ้าเรานาหัวขบวนใหญ่
ของคู่ขัดแย้งมาเรียนรู้ปัญหาประเทศร่วมกัน เพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม
ของประเทศ ประชาชน และสร้างพื้นที่ปลอดภัยเป็นเวทีพูดคุย เปิดใจรับ
ฟังกันจริง ๆ ก็พอมองเห็นความหวังและทางออกในระยะยาว แต่กลไกที่
กดดันคือ พวกกองเชียร์ แม่ยกทั้งหลาย หรือพวกที่คอยเป็นแบ็คอัพ
เบื้องหลังต้องหยุดทั้งหมด”
สันติสุขบนความเห็นต่าง
“ประชาชนที่เป็นพลังเงียบมีความเป็นกลางทางความคิด ปลอดจากการ
ครอบงาทางการเมืองจะมีบทบาทสาคัญ เชื่อว่าทุกชุมชนทุกสังคมมีคน
กลุ่มนี้แฝงอยู่มาก ไม่ว่าจะมีการศึกษาหรือไม่ แต่พวกนี้จะสนใจการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เราต้องตามแกนนา นักการเมือง พรรคการเมือง
และสังคมให้ทัน เพราะเมื่อไหร่ที่ผลประโยชน์ของทั้งสองกลุ่มไม่ลงตัว
เราก็ตกเป็นเหยื่อและส่งผลกระทบโดยตรงต่อสังคมและครอบครัว เราจะ
ไม่สามารถอยู่อย่างสันติสุขได้ถ้าบ้าไปกับเขา จึงต้องสร้างพื้นที่ปลอดภัย
ขึ้นมา และให้พวกเขามานั่งฟังว่า เราต้องการอะไร แม้จะทายากในระยะ
ยาว แต่ต้องทา”
สร้างสันติสุขในการอยู่ร่วมกันได้ 6 ประการ
 ได้นาเสนอในรูปต้นไม้ชื่อ “ต้นไม้สันติสุข”
1. เปิดใจ รับฟัง จริงใจ เข้าใจ
2. ยอมรับความแตกต่าง
3. เคารพ สิทธิหน้าที่ กติกา และกฎหมาย
4. ใช้หลักศาสนา ให้อภัย ให้ความรัก เมตตาธรรม
5. มีส่วนร่วม
6. มีจิตสานึกสาธารณะ
The Last Station
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย

More Related Content

Viewers also liked

ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชTaraya Srivilas
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติTaraya Srivilas
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์Taraya Srivilas
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกTaraya Srivilas
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนTaraya Srivilas
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกTaraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.Taraya Srivilas
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกTaraya Srivilas
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนTaraya Srivilas
 
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนKlangpanya
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (20)

ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
การบริหารความสัมันธ์และความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
 
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจกภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการความขัดแย้งและการไกล่เกลี่ย แจก
 
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียนธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
ธุรกิจการค้าจีนกับอาเซียน
 
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ปปช กล่าวหา จนท.องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจกการสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
Isis
IsisIsis
Isis
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 

Similar to เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย

Similar to เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย (6)

Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
111
111111
111
 
Thaiand asian
Thaiand asianThaiand asian
Thaiand asian
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย