SlideShare a Scribd company logo
1 of 104
Download to read offline
www.elifesara.com 1
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลก
สู่รากหญ้าไทย
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ekkachais@hotmail.com
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
 อย่ายึดถือโดยการฟังกันตามมา
 อย่ายึดถือโดยการยึดถือสืบๆกันมา
 อย่ายึดถือโดยการเล่าลือ
 อย่ายึดถือโดยการอ้างตารา
 อย่ายึดถือโดยตรรกะ
 อย่ายึดถือโดยการอนุมาน
 อย่ายึดถือโดยการคิดตรองตามแนวเหตุผล
 อย่ายึดถือเพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน
 อย่ายึดถือเพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ
 อย่ายึดถือเพราะนับถือว่าท่านสมนะนี้เป็นครูของเรา
4
www.elifesara.com
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
STRATEGY
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
National Powers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ที่ตั้ง ขนาด รูปร่าง ลักษณะภูมิประเทศ แนวพรมแดน ดินฟ้าอากาศ ที่ตั้ง
ทรัพยากร เส้นทางคมนาคม พรมแดน
National Interests
Vital, ,Important, ,Peripheral
Value and
National Style
National Security Strategy
Personal, Social, National,
Regional, International
Global Actors, States, Non states
and Leaders
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
•Defenseof homeland
•Economic well-being
•Favorable world order
•Promotionof values
Model National Security Assessment : EKMODEL
FUTURE STUDIES METHOD
Anticipatory thinking Assessments Environmental
scanning
Back casting (eco-history)
Back-view mirror analysis
Bottom Up
Cross-impact analysis
Conducting Technology
Checklists
Delphi technique
Future history
Futures workshops
Failure mode and effects analysis
Socio-Psychogical
Leadership
Political
Economic Military
Sciences and Technology
Resources
Geopolitics
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
ภาวะผู้นาก็จะเป็นมันสมอง
Globalisation & Localisation
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamization
Capitalism & Socialism
High Technology & Low Technology
Tangible & Intangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
Ekkachai Mod.
 แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ
 ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา
วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
 มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม
ผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพ
และความมั่นคงของประเทศต่างๆ
www.elifesara.com
 การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง รัฐและพรมแดนลดความสาคัญ
 เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน
 โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น
 ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ
 การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้นระหว่าง อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
www.elifesara.com
 สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง
 ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุกภูมิภาค
 ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
 การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ
 ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง
 ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่
หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติ
“Nothing contained in the present charter shall authorize the
UN to intervene in matters which are essentially within the
domestic jurisdiction of any state or shall require the
member to submit such matters to settlement under the
present charter; But this principle shall not prejudice the
application of enforcement measures under chapter 7”
www.elifesara.com
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ
จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนา
ครอบคลุมพื้นที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ
 กรณีรัฐคู่กรณีไม่ยินยอม และสหประชาชาติพิจารณาว่าความขัดแย้งดังกล่าวเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและความมั่นคง
นานาชาติ
 การละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace)
 การกระทาในลักษณะรุกราน (Acts of Aggression)
 จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับให้เกิดสันติภาพภายใต้กฎบัตรฯ หมวดที่ ๗ โดยสหประชาชาติอาจเข้าดาเนินการเอง หรืออนุมัติอานาจให้
องค์กรภูมิภาคเข้าดาเนินการตามกฎบัตรฯ หมวดที่ ๘ Article 53 ข้อ 1
• ผลประโยชน์ของชาติทับซ้อน
• ปัญหาเขตแดน
• อิทธิพลจากภายนอก
• ความแตกต่างของการปกครอง
• ความขัดแย้งของปัจเจกบุคคลที่ถูกยกระดับโดยภาวะโลกาภิวัตน์
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
USSR
กรณีของพื้นที่อันกว้างใหญ่ไพศาลของรัสเซียทาให้ให้รอดพ้นจากการถูกรุกราน
แต่ต้องถูกลบศักดิ์ศรีลง เมื่อต้องทายุทธนาวีกับประเทศเล็กๆ อย่างญี่ปุ่น
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.elifesara.com
MilitaryPower
PoliticsPower
EconomicsPower
Sociological Power(Religion, Culture)
Media Power
Facebook, Twitter, VDOlink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
 เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)
 ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area) หรือใจโลก
(Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด
ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอลติค ทุ่งหญ้า
สะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็งตลอดปี ด้านเหนือเป็น
มหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะเรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์
เอเซียไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกัน
การเข้าครอบครองใจโลกของฝ่ายคอมมิวนิสต์
กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy)
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้
และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
ประเทศ
ใต้
ประเทศต่างๆ
• ประเทศไทยมีที่ตั้งเป็นยุทธศาสตร์รอง เชื่อแน่ว่าดีมากหรือดีที่สุดก็ว่าได้ในภูมิภาค ทั้งอาเซี่ยน
เอเชีย และโลก
• นี้เห็นได้จากคนไปมาหาสู่ เที่ยวบิน การขนส่งทางบกทางน้าล้วนแล้วแต่เป็นศูนย์กลาง
• เราเป็นประเทศหากเทียบกับจีน รัฐเซีย อินเดีย เรามีทะเลและมหาสมุทรล้อมรอบ ทั้งฝั่งอ่าวไทย
และอันดามัน
• เรามีชายฝั่งที่ติดทะเลยาวมากกว่าพม่า จังหวัดต่างๆติดทะเลถึง 30%
สงครามโลก
www.elifesara.com
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• สงครามใหญ่
• เฉพาะในทวีปยุโรป
• พื้นที่สงครามอยู่ในทวีปยุโรป
• สงครามลุกลามไปทั่วโลกทั้งใน
ยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชีย
ตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก
• สงครามกระจายไปทั่วแต่ละ
ประเทศในทุกทวีป ทั้งอเมริกา
แอฟริกา เอเชียแปซิฟิค ยุโรป
และมหาสมุทรแปซิฟิคฯลฯ
•"สงครามของคนหมู่มาก"
(War of the Masses)
•"สงครามของประชาชนทุก
คน“
•สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย-
ฮังการีและอิตาลี ออตโตมัน อิตาลี
บัลแกเรียและโรมาเนียเข้ามาภายหลัง
ฝ่ายอักษะ ได้แก่
เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า
กลุ่มประเทศมุสลิม
กับ กับ กับ
ฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมภายหลังรัสเซียล่ม
สลาย
ฝ่ายสัมพันธมิตร
อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ
ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมในสงคราม
ฝ่ายสัมพันธมิตร
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส
ออสเตเลีย และกลุ่มประเทศ NATO
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน
แสวงหาอาณานิคม การ
รวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร
ความไม่มั่นคงทางการเมือใน
คาบสมุทรบอลข่าน
ลัทธิชาตินิยม ลัทธิจักรวรรดิ
นิยม ลัทธินิยมทางทหาร
การสะสมอาวุธ อุดมการณ์
ทางการเมือง ความอ่อนแอ
ขององค์การสันนิบาตชาติ
สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็น
ธรรม
ลัทธิชาตินิยม องค์การ
สหประชาชาติที่ไม่เป็นธรรม
สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ
เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน
(Crash Civilization, Megatrend
Asia, Americanization,
Islamization )
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก-
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง
ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว
บอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนีย
หนุ่ม
• เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้า
แลบ ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยก
เมืองท่าดานซิกและฉนวน
โปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ยื่นคาขาดให้เยอรมนี
ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิต
เลอร์ปฏิเสธ และญี่ปุ่นโจมตีอ่าว
เพิร์ล ของสหรัฐอเมริกา
• สงครามการโจมตีกลุ่ม ISIS ใน
อิรักและซีเรีย
• การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/
สเเปรตลีย์ การท้าทายของอิหร่าน
และเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา
• พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS)
and China
America has stood down enemies before, and we will do so this
time.
Bush September, 11, 2001
เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก
มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก
มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The
Economist)
มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF, World
Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ UNCTAD
ประเทศมุสลิมที่ปกครองระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
 ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก
จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
 ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
 ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
 ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
 ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ ๑๙๘๐)
 ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเคซัสที่
เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และ
อาเซอร์ไบจาน)
 ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
 ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” และ “ฮิซโบเลาะห์
 มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก
 ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครองโลก
แบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา
 อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียน” เป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตันเรียกว่า
“The Clash of Civilizations” )
 ผู้นามีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี
 “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การกาหนด
มาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
อิยิปต์
โมร็อกโก
จอร์แดน
ซาอุดิอาระเบีย
ตูนิเซีย
•ปากีสถาน
•รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
•อินโดนีเซีย
•บูรไน
Kyrgyzstan
Tunisia
Yemen
Egypt
Syria
Algeria
Jordan
Bahrain
Libya
Morocco
Bangladesh
Italy
Indonesia
Ukrain
 โลกเกิดภัยคุกคามและความเสี่ยง นโยบาย ตปท ของสหรัฐถูกก่อรูปมาจากคุณสมบัติของผู้นาที่ทาต่อๆกันมา ที่ไม่มี
ความแน่นอน จะกาหนดแบ่งไปตามภูมิภาคและแต่ละประเทศ ขึ้นอยู่กับผลประโยชน์และนโยบายของประเทศเป็น
หลัก
 ทรัมป์ขึ้นมาครั้งนี้โลกคาดไม่ถึง และสิ่งที่คาดไม่ถึงจึงจะใช้ทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ทรัมป์ไม่ได้ มีความไม่แน่นอน เข้าใจ
ยาก และไม่สามรถพยากรณ์ได้
 ไม่ค่อยพอใจกับพันธมิตรต่างประเทศ และต้องการละทิ้งมิตรประเทศเหล่านั้น ต่อต้านข้อตกลงการค้า และต้องการ
ใช้กาแพงภาษีและมาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจเพื่อกอบกู้อเมริกาให้ขึ้นเป็นผู้นาใหม่
 ค่อนข้างโอนอ่อนต่อรัฐบาลอานาจนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัสเซีย
 ห้ามเข้าประเทศ 7 ประเทศ ตรวจอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ ประเทศเป้าหมายและเครื่องของประเทศนั้น
 Bush Doctrine
 Obama Doctrine
 Trump Doctrine
 กลุ่มกาหนดนโยบายไม่ไปด้วยกันเสียงแตก
 เขตหน้าของอเมริกันคือพื้นที่ต่างๆทั่วโลก
 ประธานาธิบดีคือผู้มีอานาจสูงสุดในการสั่งใช้กองทัพ
 Vietnam
 Lao
 Afganistan
 Iraq
 Seria
 Egypt
 ปฏิวัติมะลิขาว
 สงสัยใหมว่าทาจีนต้องพึ่งไทยก็เพื่อออดกทะเลด้านใต้เพราะเขามีแปซิฟิคด้านเดียว
 ใต้เราไปมีช่อแคบมะละกาที่มีเรือผ่านมากมายเป็นยุทธศาสตร์ทางทะเล เพราะสินค้า น้ามัน
แกสต้องผ่านช่องนี้ เรียกว่ามากกว่าปานามาและสุเอซสามเท่า ช่องแคบนี้จึงสาคัญที่สุดของ
โลก ดูได้จากสิงคโปรสะสมเรือรบ เรือดาน้า ประเทศไทยในจังหวัดสตูลจึงเป็นส่วนหนึ่งของ
ช่องแคบมะละกา จึงมีความสาคัญต่อจีน ญี่ปุ่น เกาหลี อาเซี่ยน อินเดีย อ่าวเปอร์เชีย อาหรับ
และยุโรป จึงเห็นเส้นทางที่จะเลี่ยงเส้นทางนี้
 ชาวญี่ปุ่นร่วมแสดงจุดยืนต่อต้านการสร้างฐานทัพสหรัฐใน ‘โอกินาวา’ โดยเรียกร้องให้ปิดและย้ายฐานทัพเดิมออกไป
และยกเลิกแผนสร้างฐานทัพใหม่
• มีชาวญี่ปุ่น รวมตัวราว 35,000 คน ในสนามฟุตบอลของเขตนาฮะ เพื่อประท้วงและ
แสดงจุดยืนให้สหรัฐปิดและเคลื่อนย้ายฐานทัพที่อยู่ในเขตฟูเตนมะ
• และให้ยกเลิกแผนสร้างฐานทัพ บริเวณชายฝั่งในเขตนาโกะ ซึ่งทั้งหมดอยู่ในพื้นที่ของ
จังหวัดโอกินาวา
 ญี่ปุ่น ยึดมาปี 1609 โดยตระกูล Shimazu ปี 1879 โอกินาว่า ถูก
ผนวกเป็นส่วนหนึ่งของญี่ปุ่น โดยสมบูรณ์
 เดิมเป็นประเทศที่มีเอกราชเป็นของตัวเองมาก่อนไม่ได้เป็นของทั้งจีน
หรือญี่ปุ่น
• ญี่ปุ่นยึดมาแล้วอเมริกายึดไปอีกที อดีตคนญี่ปุ่นต้องใช้หนังสือเดินทางเข้าโอกินาวาช่วงหนึ่ง
• ตอนนี้ยังมีชาวโอกินาวาบางส่วนที่ต้องการเรียกร้องเอกราชคืนแต่คงยาก
 แนวคิด "สมุทธานุภาพ“ ของ อัลเฟรด เทเยอร์ มาฮาน ในหนังสือ "อิทธิพลของสมุททานุภาพ ในช่วงปี ค.ศ. 1660 - 1783"
(The Influence of Sea Power Upon History: 1660–1783)
 บทบาทกองทัพเรือและการขนส่งทางทะเลของกองทัพเรือทั้งหกของสหรัฐฯ ควบคุมเสถียรภาพช่องทางการเดินเรือใน
โลก
 เพื่อไปร่วมซ้อมรบกับกองกาลังออสเตรเลียตามกาหนดการเดิม และขณะนี้กาลังเดินทางกลับ
โดยข้ามช่องแคบซุนดาของอินโดนีเซีย ซึ่งกั้นกลางระหว่างเกาะชวาและเกาะสุมาตรา
 กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯผู้หนึ่งชี้แจงว่า ขณะนี้กองเรือโจมตีดังกล่าวกาลังมุ่งหน้าไปยัง
คาบสมุทรเกาหลีตามที่ได้รับคาสั่งแล้ว และคาดว่าจะเดินทางไปถึงแล้ว
 ในอดีตสหรัฐอเมริกาใช้สนามบินอู่ตะเภาเป็นฐานปฏิบัติทางทหารในการทาสงครามอินโดจีน โจมตีกัมพูชา ลาว และ
เวียตนาม
 ปี 2517 นิสิตนักศึกษาประชาชนชุมนุมขับไล่ทหารอเมริกันให้ออกไปจากประเทศไทย
 ก่อนสึนามิที่อาเจะห์ อินโดนีเซีย ธันวาคม 2547 หนึ่งสัปดาห์ สหรัฐอเมริกันขอใช้อู่ตะเภานาฝูงบินมาลง
 ปี 2555 องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (นาซา) มาขอเช่าพื้นที่สนามบินอู่ตะเภา เพื่อโครงการวิจัยชั้น
บรรยากาศเป็นฐานในการตรวจสอบสภาพอากาศ และเตรียมจะใช้สนามบินแห่งนี้เป็นศูนย์บรรเทาสาธารณภัยในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (HDRC: Humanitarian and Disaster Relief Centre) เป็นศูนย์ที่ให้ความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรมและบรรเทาภัยพิบัติ
อดีตสนามบินอู่ตะเภา กองทัพทหารอเมริกันสร้างไว้ใช้ทาสงคราม
ในภูมิภาคเอเชีย กับเวียดนามเหนือ ลาว กัมพูชา
 พฤษภาคม 2558 สหรัฐขอไทยตั้งศูนย์อานวยการลาดตระเวนและช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ที่
ฐานทัพภูเก็ต เพื่อเป็นฐานปฏิบัติการในการบินสารวจและช่วยเหลือชาวโรฮิงยาที่ลอยเรือใน
ทะเล ไทยปฏิเสธ กลัวเป็นฐานสอดแนมจีนในทะเลจีนใต้
 กองทัพเรือไทยและกองทัพเรือสหรัฐ ได้จัดการฝึกปราบเรือดาน้า เพื่อเพิ่มพูนทักษะและ
ประสบการณ์ในการปฏิบัติการของเรือดาน้า และการปราบเรือดาน้าของทั้งสองประเทศ
บริเวณทะเลอันดามัน
 สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาลปากีสถาน
อนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน
 สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ
 การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญเปล่าในอนาคต
 การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของ
ตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขตภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ
ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์
มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน
มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ
ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม.
มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม.
(บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
 Strategic Defense Mobile Forces
 Bases Places
 Hard Power Soft Power Smart Power
ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและ
สถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ
ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก
ภูมิภาคทั่วโลก
ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force)
มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้งขีปนาวุธ
Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special
Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น
วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน
เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย
คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์
ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการ
อยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วมระหว่าง
ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กระทรวงกลาโหมฯ อนุมัติ
Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air Missile
Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
Sea Strikeการโจมตีจากทะเล
Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
Sea Trial คือ จะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการ
ปฎิบัติการ
Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea base
 เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship
and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
 มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความ
ปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System
ภายใน 31 ธันวาคม 2547
 กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความ
ปลอดภัย
 กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
 เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International
Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
Raw Material
Product & Container
Money
Man
97A Publication by www.knowtheprophet.com
98A Publication by www.knowtheprophet.com
 เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International
Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี ๒๕๔๕
 มาตรการกาหนดให้ประเทศสมาชิกจานวน ๑๔๖ ประเทศ เพิ่มการรักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อ
ป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวาง ๓๐๐-๕๐,๐๐๐ ตันต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน
๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๗
 ให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบชื่อเรือ สถานที่ตั้งและปัญหาด้านความ
ปลอดภัย
 ให้มีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
 เรือลาใดที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้จะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ
(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศ
สมาชิก IMO ได้
สถานการณ์ภายในประเทศ
กระแสโลกาภิวัฒน์
• การรุกรานด้านประเพณีวัฒนธรรม
• การเปิดเสรีด้านทุน การค้า การเงิน
• สภาวะโลกไร้พรมแดน
•กระแสประชาธิปไตย
•สิทธิมนุษย์ชน
•การค้าเสรี
•การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ
•การใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
•สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
•ปัญหาการล่มสลายของสังคมชนบท
•ยิ่งพัฒนายิ่งต้องพึงต่างชาติมากขึ้น
•เกิดความเสื่อมโทรมของสังคม
•ปัญหาการกระจายรายได้ที่ไม่เป็นธรรม
•ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคเอดส์
การจัดระเบียบโลกใหม่ของมหาอานาจ
ปัญหาในประเทศ
• การก่อการร้ายสากล/ในประเทศ
• อาชญากรรมที่เป็นขบวนการ
• การปะทะทางทหารบริเวณชายแดน
• ภัยจากโจรสลัดและกาลังทางเรือต่างชาติ
• ปัญหาเส้นเขตแดนที่ยังไม่แน่นอน
• ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
National Securities Issues
• การเมืองที่ขาดการมองผลประโยชน์ของชาติ
• การปกครองยึดรูปแบบเก่าๆ
• ระบบราชการขาดการปรับตัวเข้ากับสภาวะแวดล้อม
ปัญหาการพัฒนาประเทศแบบไม่ยั่งยืน
ปัญหาระบบการศึกษาล้าหลัง
• ขาดจิตสานึกและชาตินิยมความเป็นไทย
• ถูกครอบงาทางความคิด
• ละทิ้งคุณค่าภูมิปัญญาไทย
ปัญหาการเมือง การปกครอง ระบบราชการ
“..ประเทศของเรา ไม่ใช่ประเทศของหนึ่งคนสองคน เป็นประเทศของทุก
คน เข้าหากันไม่เผชิญหน้ากันแก้ไขปัญหา เพราะปัญหามีอยู่ ที่เวลาเกิดจะใช้
คาว่า บ้าเลือด เวลาคนมีการปฏิบัติรุนแรงมันลืมตัว ลงท้ายเขาไม่รู้ว่าตีกัน
เพราะอะไร แล้วก็ จะแก้ปัญหาอะไร เพียงแต่ว่าจะต้องเอาชนะ แล้วก็ใครจะ
ชนะ ไม่มีทาง อันตรายทั้งนั้น มีแต่แพ้ คือ ต่างคนต่างแพ้ ผู้ที่เผชิญหน้าก็แพ้
แล้วที่แพ้ที่สุดก็คือประเทศชาติ...”
A Publication by www.knowtheprophet.com 101
102
“วางเฉย” “ตีกัน”
• เศรษฐกิจล่มสลาย
• ต่างชาติเข้าครอบครองเศรษฐกิจไทย
• เป็นเมืองขึ้นทางเศรษฐกิจ
• แตกแยกระหว่างภาค
• แย่งชิงอานาจการปกครองในท้องถิ่น
• เกิดสงครามกลางเมืองมิคสัญญี
• แนวคิดแบ่งแยกดินแดน
• เปลี่ยนแปลงสถาบันหลัก
• แบ่งแยกชนชั้น
• ต่างคนต่างอยู่
• สงครามแย่งชิงมวลชน
• ชาติพันธ์/ภูมิภาคนิยม
• ไม่ยอมรับกฎหมาย
• อนาธิปไตย
• เข้าถึงข่าวสารมากยิ่งขึ้น
• เกิดวิกฤตรอบ ๓
• สังคมเกษตรล่มสลาย
• ท่องเที่ยวตกต่า
• คอรัปชั่นเชิงนโยบายมากขึ้น
• ธุรกิจอยู่ในมือทุนต่างชาติ
สังคม
สังคม
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

More Related Content

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web

3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0Supisara Jaibaan
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษาSiwadolChaimano
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษาSiwadolChaimano
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0sincerecin
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกTaraya Srivilas
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูJutarat Piamrod
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Taraya Srivilas
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web (20)

3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 03. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 53
Pat5 53Pat5 53
Pat5 53
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
Thaiand asian
Thaiand asianThaiand asian
Thaiand asian
 
Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)Se(การคลัง 7 55)
Se(การคลัง 7 55)
 
Isis
IsisIsis
Isis
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 

More from Taraya Srivilas

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web