SlideShare a Scribd company logo
1 of 74
Download to read offline
การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com
ekkachais@hotmail.com
www.elifesara.com
ปรัชญาในการทางานชุมชน
1. มนุษย์ทุกคนมีเกียรติและศักดิ์ศรีในความเป็นคน
2. มนุษย์ทุกคนมีความสามารถ หรือมีศักยภาพ
3. ความสามารถของมนุษย์สามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาส
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาชุมชน
1. การมีส่วนร่วมของประชาชน
2. การช่วยเหลือตนเอง
3. ความคิดริเริ่มของประชาชน
4. ความต้องการของชุมชน
5. การศึกษาเรียนรู้ตามวิถีชีวิต
6. ยึดหลักประชาธิปไตย
• เข้าใจตัวเอง
• เข้าใจผู้อื่น
• เข้าใจสังคม
• เข้าใจโครงสร้างของหมู่คณะ
• เข้าใจหลักการและวิธีการสร้างความสัมพันธ์
การสร้างความสัมพันธ์
www.elifesara.com
การรู้จักตนเอง
ความแตกต่างของมนุษย์เกิดจาก
1. ค่านิยม
2. การรับรู้
3. ทัศนคติ
4. บุคลิกภาพ
www.elifesara.com
A Publication by
www.knowtheprophet.com
7
The Event
Conflict
สิ่งที่เราเห็น
สิ่งที่เราได้รับ Perceptions
Style
Attitudes
Feelings
Culture
Mood
Values
Interests
Gender
Needs
Expectations
Assumptions
Communication
Suspicions
ภาษากายคือองค์ประกอบของการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
•ดร.อัลเบิร์ต เมห์ราเบียน ศ.จิตวิทยาของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ศึกษาวิจัยอิทธิพลในการ
สื่อสารมี 3 องค์ประกอบ
• "ภาษากาย" จะส่งผลให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพมากที่สุด
“ ร่างกายไม่เคยโกหก ”
www.elifesara.com
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในขณะที่พูดคุย
การชี้นิ้วใส่ผู้อื่น เป็นภาษาสากลมีความหมายในทางลบและแสดงถึงการเผด็จการ
ข่มขู่ผู้ฟัง ก้าวร้าวและอาการโกรธ เป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติกับผู้อื่น
ผลสารวจที่ทดลองกับผู้บรรยาย 8 คนที่ให้ใช้สัญญาณ
มือ 3 แบบนี้ ระหว่างการบรรยายครั้งละ 10 นาที และดู
ปฏิกิริยาของผู้ฟังแต่ละครั้ง
ประเทศมาเลเซียและฟิลิปปินส์การชี้นิ้วถือเป็นการดูถูก เพราะเขาจะใช้กับสัตว์เท่านั้น
คนมาเลเซียจะใช้นิ้วโป้ งชี้คนหรือบอกทิศทาง
www.elifesara.com
การเข้าใจคนอื่น
1. จากการสืบค้นข้อมูลประวัติ
2. ค้นคว้าจากตารา แล้วนามาเป็นหลักการ
3. สัมภาษณ์ และสนทนา
4. จากการสังเกต
5. จากผลงานของเขาที่ผ่านมา และจากการปฏิบัติงานร่วมกัน
www.elifesara.com
เพื่อความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
7. หมั่นให้กาลังใจคนอื่น มิใช่ซ้าเติม
8. อดกลั้นและหลีกเลี่ยงการโต้เถียง
9. เคารพความคิดเห็น และพูดคุยเรื่องที่เขาสนใจ
10. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่กระทา
11. พูดเรื่องความผิดของเราก่อนที่จะตาหนิผู้อื่น
www.elifesara.com
1. อย่าตาหนิ ประจาน หรือบ่น
2. ยกย่องและเอาใจใส่ต่อผู้อื่น
4. ยิ้ม
5. จาชื่อผู้อื่นและเรียกให้ถูกต้อง ให้ความ
เป็นกันเอง
6. เป็นนักฟังที่ดี
การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
1. รู้จักควบคุมอารมณ์ของตนเอง
2. ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ผู้ร่วมงาน
3. ยกย่องชมเชยให้กาลังใจและความชอบ
4. หลีกเลี่ยงการขู่บังคับ
5. รักษาผลประโยชน์ของชุมชน
www.elifesara.com
การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
1. เรียนรู้นิสัยผู้คนและคุณลักษณะของชุมชน
2. ทางานให้ดีที่สุด หลีกเลี่ยงการประจบสอพลอ
3. หาทางทาให้ความคิดของชุมชนบังเกิดผล
4. ให้ความเคารพยกย่องชุมชนตามฐานะ
5. อย่ารบกวนชุมชนในเรื่องเล็กน้อย
6. เข้าหาชุมชนให้เหมาะสมกับโอกาสและเวลา
7 อย่านินทาว่าร้ายผู้อื่น สรรเสริญความดีในโอกาสอันควร
• อย่าบ่นถึงความยากลาบากในการปฏิบัติงานต่อหน้าผู้อื่น
• อย่าโกรธเมื่อท่านไม่เห็นด้วยกับความคิดของเขา
www.elifesara.com
อุปสรรคของนักบริหาร ๑๒ ประการ
• ทางานไม่เป็นระบบ
• ไม่ควบคุมอารมณ์
• ชอบโยนกลอง
• ไม่ยอมเข้าใจคนอื่น
• ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ติดยึดกับความคิดเก่า ๆ
• ปกป้องตัวเอง
• ไม่ยืดหยุ่น
• เก่งคนเดียว
• เฉื่อยชา ไม่กระตือรือร้นหรือเอาใจใส่ในงาน
• ไม่ยอมเสี่ยง ชอบเรื่องง่าย ไม่ริเริ่มอะไรใหม่
www.elifesara.com
ทดสอบการเป็ นปรปั กษ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
• เมื่อเดินผ่านลูกน้องเราคิดแต่เรื่องงาน จนลืมทักทายหรือยิ้ม
• มีงานมากเสียจนไม่มีเวลาแม้แต่พูดจาทักทายกับลูกน้อง
• ปล่อยให้ลูกน้องคอยขณะที่ติดธุระหรือพูดโทรศัพท์โดยที่ไม่มีการขอโทษ
• ชอบเก็บเอกสาร แฟ้ มงานต่างๆไว้บนโต๊ะทั้งๆที่ไม่มีความจาเป็นจะต้องใช้อีก
• เมื่อลูกน้องต้องการที่จะรู้ว่างานที่ทาถูกใจของท่านหรือไม่ท่านกลับเลื่อนเวลานัดพบเพื่อหารือออกไป
• พนักงานปฏิบัติงานดี ท่านไม่สนใจที่จะชมเชย แต่กลับชอบพูดถึงจุดบกพร่อง
• มีพนักงานบางคนที่ท่านไม่เคยกล่าวชมเชยความดีของเขาใช่หรือไม่
• มีการกล่าวตักเตือนลูกน้องต่อหน้าคนอื่น
www.elifesara.com
ความขัดแย้งกันเป็นเรื่องธรรมดา
เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคม
เมื่อสังคมหลีกเลี่ยงความขัดแย้งไม่ได้ต้องหาวิธีการจัดการความขัดแย้งให้
เหมาะสมกับลักษณะความขัดแย้งและความต้องการของคู่กรณี เพื่อให้
คู่กรณีคงอยู่ร่วมกันได้ในสังคมอย่างปกติสุข
www.elifesara.com
เจตคติ
• มีทัศนคติเชิงบวก
• ปัญหาคือความท้าทาย และปัญหาให้คิดที่หลัง
• เน้นเรื่องการป้องกัน > แก้ไข > ฟื้ นฟูเยียวยา
• ขัดแย้งแล้วต้องหาสาเหตุให้ได้
• คิดร่วมกันก่อนเกิดปัญหา
• เมื่อเกิดปัญหาความขัดแย้งแล้วแก้ไขยาก
18
1 ระดมสมอง: นึกถึงความขัดแย้ง
(ธรรมชาติของความขัดแย้ง)
•เวลาพูดถึงความขัดแย้งท่านนึกถึงอะไรและรู้สึกอย่างไร
เป็นสิ่งแรก
•เขียนบนกระดาษคาตอบ
19
มนุษย์อยู่กับความขัดแย้ง
ขัดแย้งกับตัวอง
ขัดแย้งกับเพื่อนร่วมงาน
ขัดแย้งต่อสังคมรอบข้าง
www.elifesara.com
ทาอะไรคิดเอาแต่“ตัวกู ของกู”
เอาตัวเองเป็ นศูนย์กลาง
2
ความขัดแย้งในสังคมไทย
www.elifesara.com
22
Peace in Thailand
การจัดการความขัดแย้ง ต้องมอง ๓ มิติ
• มิติเชิงป้องกัน
• มิติเชิงแก้ไข
• มิติเชิงปรองดอง เยียวยา สันติสุข
www.elifesara.com
23
วงจรความขัดแย้ง
การสื่อสารที่ดี
สร้างการมีส่วนร่วม
การเป็นหุ้นส่วน
แผนที่ความขัดแย้ง
วัฏจักรความขัดแย้ง
รู้สาเหตุความขัดแย้ง
การสานเสวนา
การอานวยการประชุม
การเจรจาต่อรอง
การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง
การอนุญาโตตุลาการ
การมีส่วนร่วม
กระบวนการยุติธรรม
การฟื้ นคืนดี
การขอโทษ
การให้อภัย
การป้องกันและวิเคราะห์
ความขัดแย้ง การจัดการความขัดแย้ง
การปรองดองสู่สันติ
๑
๒
๓
www.elifesara.com
KPI
รากเหง้าและสาเหตุของความขัดแย้ง
ปัญหาความต่างค่านิยม อุดมการณ์
วัฒนธรรม
ปัญหาความสัมพันธ์
ปัญหาข้อมูล
ความจริงและข่าวสาร
ปัญหาผลประโยชน์
และความต้องการ
ปัญหาโครงสร้าง
www.elifesara.com
25
อารมณ์ที่รุนแรง
การรับรู้คลาดเคลื่อน
สื่อสาร
ทัศนคติตายตัว
ประพฤติเชิงลบ
การแย่งชิงอานาจ
ความไม่เท่าเทียมกัน ความ
ไม่ยุติธรรม กฎหมาย
การปกครอง
ปรัชญาความเชื่อไม่ตรงกัน
ค่านิยมต่างกัน
ประสบการณ์
พื้นฐานการศึกษา
วัฒนธรรม ประเพณีต่างกัน
ค่านิยม
ความสัมพันธ์
โครงสร้าง
ข้อมูลน้อย
ผิดพลาด
แปลข้อมูลไม่ตรงกันความ
แตกต่างในการเก็บและศึกษา
ข้อมูล
แย่งชิงผลประโยชน์
เงินทอง
ทรัพยากร
ความเชื่อ
ความยุติธรรม
วิธีการ
ผลประโยชน์
ยากต่อการเจรจา
เจรจาได้
ประเภทของความขัดแย้ง
www.elifesara.com
26เวลา
ความรุนแรง
สงคราม การปะทะกันอย่างแท้จริง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงสันติภาพอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
พระราชดารัส ที่พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2494 ดังความตอนหนึ่งว่า
“ . ประวัติศาสตร์ได้แสดงให้ปรากฏตลอดมาว่า ชาติใดเสื่อมสูญย่อยยับอับปางไป ก็เพราะ
ประชาชาติขาดสามัคคีธรรม แตกแยกเป็นหมู่คณะ เป็นพรรคเป็นพวก คอยเอารัดเอาเปรียบ
ประหัสประหารซึ่งกันและกัน บางพรรคบางพวก ถึงกับเป็นไส้ศึกให้ศัตรูมาจู่โจมทาลายชาติของ
ตนดังนี้ ข้าพเจ้าจึงขอชักชวนพี่น้องชาวไทยทั้งหลาย ให้ระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษ ซึ่งได้
กอบกู้รักษาบ้านเกิดเมืองนอนของเรามานั้นให้จงหนัก แล้วถือเอาความสามัคคี ความยินยอม
เสียสละส่วนตัวเพื่อประโยชน์ยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ เป็นคุณธรรมประจาใจอยู่เนืองนิจ จึง
ขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลาย จงบาเพ็ญกรณีกิจของตนแต่ละคนด้วยซื่อสัตย์สุจริต
ขยันหมั่นเพียร อดทนและกล้าหาญ แล้วอุทิศความเสียสละส่วนตัว ความเหน็ดเหนื่อยลาบาก
ยากแค้น เป็นพลีบูชาบรรพบุรุษ ผู้ซึ่งได้ก่อสร้างชาติเป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราชาวไทยจน
บัดนี้”
www.elifesara.com
ภาครัฐจะพูดอยู่เสมอว่าทาถูกต้องตามขั้นตอน ตามกฎหมาย ตามกฎ ระเบียบ
ข้อบังคับ ถ้าทุกคนทาถูกต้อง ทุกหน่วยงานทาถูกต้อง แล้วทาไมวันนี้จึงยังมีปัญหาอยู่
ตกลงความถูกต้องชอบธรรมตามกฎหมาย นาไปสู่ความยุติธรรมทางสังคมจริงหรือไม่
ความถูกต้องตามกฎหมาย สร้างให้สังคมเปี่ยมไปด้วยความยุติธรรมจริยธรรมหรือไม่
ทั้งที่ในหลักการแล้วกฎหมายที่ดีก็ควรนาไปสู่ความยุติธรรมและความมีคุณธรรม
จริยธรรมในสังคม ไม่ควรแยกหรือแปลกแยกออกจากกัน
“ให้ความยุติธรรมมาก่อนและอยู่เหนือกฎหมาย”
พระบรมราโชวาท
www.elifesara.com
สันติเกิดไม่ได้ถ้าไม่มีความยุติธรรม
•สร้างวัฒนธรรมแห่งสันติ ด้วยให้ความยุติธรรม และสิทธิที่เท่าเทียม
•ขจัดความหลงผิดในตัวบุคคล มิใช่มุ่งกาจัดตัวบุคคล
•ยิ่งใช้อานาจ ยิ่งเกิดความรุนแรงและการไม่ยอมรับ
•ไม่มีใครถูกหรือผิดโดยสมบูรณ์ ความขัดแย้งแก้ได้ด้วยความร่วมมือ
•“สันติภาพในโลกจะเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ก็เมื่อเราแต่ละคนสร้างสันติภาวะขึ้นได้
ภายในใจของเราเองก่อน”(ทะไล ลามะ แห่งธิเบต)
www.elifesara.com
ปั ญหาพื้นฐาน 4 ประการในการพูด
1. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังอาจไม่ได้ยิน
2. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังอาจไม่เข้าใจ
3. สิ่งที่เราพูด ผู้ฟังเข้าใจแต่อาจไม่ยอมรับ
4. ผู้พูดอาจไม่รู้ว่า ผู้ฟังนั้นได้ยิน เข้าใจ หรือยอมรับในสิ่งที่ตนพูด
www.elifesara.com
หลักสาคัญที่ควรจะยึดถือ
แยกคนออกจากปัญหา
เน้นที่ความสนใจ อย่าเน้นที่ตาแหน่งหน้าที่
พยายามหาทางเลือกหลายๆทาง ก่อนตัดสินใจ
ต้องตกลงกันตามกฎเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
www.elifesara.com
การใช้อานาจ
การใช้อานาจจัดการความขัดแย้ง จะนาไปสู่ความไม่พอใจและการไม่ร่วมมือ
การใช้อานาจระงับเหตุการณ์วุ่นวาย ต้องมั่นใจว่าอานาจที่ใช้นั้นถูกต้องตามกฎหมาย
และเป็นอานาจที่ตนเองมีอยู่จริง
ผู้บริหารแบบ “บ้าอานาจ” มักจะใช้วิธีแบบแพ้-ชนะ เพราะเชื่อว่า “เมื่อฉันมีอานาจ ฉัน
ต้องชนะ”
ผู้บริหารแบบบ้าอานาจจะมีใน 2 สถานการณ์คือเมื่อเข้ารับตาแหน่งใหม่ จะแสดงให้คน
ทั้งหลายเห็นว่า ตนเองมีอานาจเป็นการข่มขู่ให้ยอมรับ เมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอน จะ
แสดงอานาจอกมาเพื่อให้คนเห็นว่าตัวเองยังมีอานาจอยู่
www.elifesara.com
การใช้อานาจที่ไม่มีเหตุผล
 หน่วงเหนี่ยวไม่ให้ข้อมูลที่จาเป็นต่อการตัดสินใจ ไม่ยอมแก้ปัญหาขัดแย้งโดยอ้างว่ามีเรื่องสาคัญบางอย่างที่ยังไม่ได้
พิจารณา
 ไม่มีการปรึกษาในการตัดสินใจ ทั้ง ๆ ที่การตัดสินใจนั้นมีผลกระทบต่อเขา
 ประวิงการหารือในประเด็นสาคัญ จนกระทั่งไม่มีเวลาพอที่จะหารือได้
 พยายามให้คนอื่นๆได้ร่วมในการตัดสินใจ แล้วเลือกสิ่งที่ตนได้ประโยชน์
 ย้ายบุคคลโดยไม่สนใจความสามารถและความสนใจของบุคคลที่ถูกย้าย
 ย้ายบุคคลโดยไม่ถามหรือรับฟังความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาชั้นต้น
 เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น จะแสดงหรือชี้นาให้คนทั้งหลายเห็นว่า สาเหตุแห่งความขัดแย้งเกิดขึ้นก่อนที่ตนเองจะมาดารง
ตาแหน่ง
 ควรลดการใช้อานาจและเพิ่มการใช้ปัญญา อานาจจะหมดไปเมื่อพ้นวาระการดารงตาแหน่ง แต่ปัญญาเป็นสมบัติเฉพาะติด
ตัวตลอดไป
www.elifesara.com
การป้องกันความขัดแย้ง
•การสื่อสารที่ดี (การพูด การฟัง การเขียน การเงียบ)
•สร้างการมีส่วนร่วม (การประชุมเป็นวิธีการป้องกันและการแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง)
•เพื่อให้เกิดการเป็นหุ้นส่วน
•การจัดทาแผนที่ความขัดแย้ง
•วัฏจักรของความขัดแย้ง
•ค้นหาให้รู้สาเหตุแห่งความขัดแย้ง
•การสานเสวนา (การมีส่วนร่วม การตัดสินใจ การหาฉันทามติ)
34
ภาษากายที่ควรหลีกเลี่ยงในการใช้สนทนา
การชี้นิ้วใส่ผู้อื่น มีความหมายในแง่ลบและแสดงถึงการเผด็จการ ข่มขู่ผู้ฟัง
บ่งบอกถึงความก้าวร้าวและอาการโกรธเป็นสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติกับผู้อื่น
ในบางประเทศเช่น มาเลเซียและฟิลิปปินส์ การชี้นิ้วถือเป็นการดูถูก
เพราะท่านี้ใช้กับสัตว์เท่านั้น คนมาเลเซียจะใช้นิ้วโป้ งชี้คนหรือบอกทิศทาง
ผลสารวจในการทดลองกับผู้บรรยาย 8 คนที่ถูกกาหนดให้ใช้
สัญญาณมือ 3 แบบนี้ระหว่างการบรรยายครั้งละ 10 นาที และมี
การบันทึกปฏิกิริยาของผู้ฟังในแต่ละครั้ง
ปั ญหาความขัดแย้งสาธารณะที่มีลักษณะสลับซับซ้อน
• จะแก้ไขปัญหาได้ ต้องรู้ว่าเรากาลังจัดการกับอะไรอยู่
• เพราะปัญหาทุกเรื่องจะไม่เหมือนกัน
• ปัญหาบางอย่างแก้ไขได้ง่าย ปัญหาบางอย่างแก้ไขยาก
• ธรรมชาติของมนุษย์จะพยายามและแก้ไขปัญหาให้จบอย่างฉับพลัน
เพราะรู้สึกไม่สบายใจหรืออึดอัดกับสิ่งที่ตัวเองไม่รู้
• ในความเร่งรีบ อาจทาให้การแก้ปัญหาผิดพลาดได้สูง
ต้องเข้าใจธรรมชาติของคน
• คนแต่ละคนไม่เหมือนกัน
• คนเราสามารถทาความผิดพลาดได้ทุกคน
• คนเราเมื่อหาทางออกไม่ได้ ก็จะใช้ความรุนแรง
• แต่ละคนมีวิธีคิดและวิธีการทางานแตกต่างกัน
• คนมักมีกลุ่มมีพวก จะทาประโยชน์ให้พวกพ้อง
ลักษณะของปั ญหา
•แบ่งเป็น ๓ ชนิด
๑.ปัญหาด้านเทคนิค
๒.ปัญหาด้านค่านิยม
๓.ปัญหาที่ต้องใช้เวลานาน
ลักษณะของปั ญหา
•ปัญหาสาธารณะจะมีความซับซ้อนไม่สามารถบอกได้ว่าอยู่ในลักษณะใด
•ทราบลักษณะของปัญหาจะช่วยให้วินิจฉัยได้ว่าจะเข้าถึงปัญหาได้อย่างไร
•ชนิดของปัญหาช่วยให้รู้ว่ามีอะไรเกี่ยวข้องกับปัญหา/มีความสลับซับซ้อน
อย่างไร ช่วยให้เข้าถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความหลากหลายได้
•ทาให้ทราบว่าจะทาเมื่อไร อย่างไร และใช้ข้อมูลอะไร ปัญหาเหล่านี้อาจทา
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จะเป็นบทเรียนว่าความขัดแย้งยังไม่หมด
แผนที่ความขัดแย้ง
• ค้นหาสิ่งที่จะนาไปสู่ความขัดแย้ง
40
คาพูดที่อาจทาให้ความขัดแย้งขยายตัว
•“ทาไม...........ถึงทาแบบนี้?”
•“...........ทาไปได้ยังไงเนี่ย?”
•“ คิดว่าเรื่องนี้ใครผิด? ”
•“ .........ทาผิดใช่ใหม ”
•“ทาอย่างนี้ไม่ถูกต้อง เข้าใจใหม”
•คาว่าไม่ และการตัดสิน
จุดยืน (Position) สิ่งที่เราประกาศว่าต้องการมาก
ซึ่งเปลี่ยนแปลงไม่ได้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
ความสนใจที่แท้จริง (Interest)
สิ่งที่เราสนใจหรือต้องการ ซึ่งมีเหตุผล
และคาอธิบายว่าทาไมเราจึงมีจุดยืนอย่างที่ประกาศไป
ความจาเป็นพื้นฐาน (Need)
สิ่งที่เราจะขาดไปไม่ได้เลย
ความกลัว(Fear)
สิ่งที่เรากังวลใจไม่ต้องการจะสูญเสียไป หรือไม่
ต้องการจะพบเจอ
42
เครื่องมือวิเคราะห์ความขัดแย้ง : แผนที่ความขัดแย้ง
เครื่องมือวิเคราะห์ความขัดแย้ง
จุดยืน (Position) อย่ากลับดึกนะ ไม่ให้ออกไป คบแต่เพื่อนไม่ดี
ความสนใจที่แท้จริง (Interest)
สิ่งที่เราสนใจหรือต้องการ ซึ่งมีเหตุผล
และคาอธิบายว่าทาไมเราจึงมีจุดยืนอย่างที่ประกาศไป
ความจาเป็นพื้นฐาน (Need)
ความรัก ความผูกพันธ์และความห่วงใย
ความกลัว(Fear)
ลูกจะเป็นอันตรายจากอุบัตวเหตุ ลูกหลง ยาเสพติด
มึนเมา
43
ผลของความขัดแย้ง
1. สูญเสียเวลาในการทางาน
2. การตัดสินใจไม่ดี
3. การสูญเสียเครือญาติ
4. การปรับโครงสร้างโดยไม่จาเป็น
5. การกลั่นแกล้ง การลักขโมย และการทาให้เสียหาย
6. แรงจูงใจในการทางานลดน้อยลง
7. เกิดการเจ็บป่วยเสียค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
44
กรณีจุดสนใจ และจุดยืน
•ที่ตลาดแห่งหนึ่ง มีบริษัทผลิตน้าดื่ม และบริษัท
ขายนมผง วันหนึ่งทั้งสองบริษัทได้ส่งคนไปที่
ร้านขายผลไม้ซึ่งมีอยู่ร้านเดียวในตลาดโดยที่ทั้ง
สองบริษัทต้องการส้มทั้งหมดที่มีอยู่ในร้าน ต่าง
ฝ่ายต่างไม่ยอมกัน
ถ้าท่านเป็นพ่อค้าผลไม้ ท่านจะแก้ปัญหานี้อย่างไร
45
ต้นไม้แห่งการสื่อสารอย่างสันติ
3 ทางเลือกแห่งการสื่อสารอย่างสันติ
เข้าใจตัวเอง
ฉันกาลังรู้สึกอย่างไร
เพราะฉันต้องการอะไร
และฉันจะเลือกทาอะไร
เมื่อฉันเห็น/ได้ยิน
ฉันรู้สึก...
เพราะฉันต้องการ...
ฉันอยากจะขอ...
เข้าใจผู้อื่น
คุณรู้สึก...
เพราะคุณต้องการ... ใช่ไหม?
(คุณอยากจะขอ...)
อยู่ในใจ
สังเกต รู้สึก ต ้องการ ขอร ้อง
การป้องกันความขัดแย้ง
•การสื่อสารที่ดี (การพูด การฟัง การเขียน การเงียบ)
•สร้างการมีส่วนร่วม (การประชุมเป็นวิธีการป้องกันและการแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง)เพื่อให้เกิดการเป็น
หุ้นส่วน
•การจัดทาแผนที่ความขัดแย้ง
•วัฏจักรของความขัดแย้ง
•ค้นหาให้รู้สาเหตุแห่งความขัดแย้ง
•การสานเสวนา (การมีส่วนร่วม การตัดสินใจ การหาฉันทามติ)
47
เวลา
ความรุนแรง
การปะทะคารมกันอย่างรุนแรง
การลดลงและหาข้อตกลง
การลดระดับลงของความตึงเครียด
ช่วงหลังความขัดแย้ง
การเพิ่มขึ้นของความตึงเครียด
ความขัดแย้งปรากฎขึ้น
ความขัดแย้งที่ซ่อนเร้นอยู่
ช่วงมีความสุขอย่างแท้จริง
วัฏจักรแห่งความขัดแย้ง
48
การตกลงใจหรือตัดสินใจ
•ไม่ใช้เสียงข้างมากเป็นฝ่ายชนะ
•แต่ใช้ฉันทามติ แบบปรึกษาหารือ
49
การตัดสินใจด้วยฉันทามติ
•จะไม่เกิดความบาดหมาง
•คิดร่วมกันเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่นาไปใช้การได้
•ทุกคนร่วมคิด ออกความคิดเห็น และถูกนามาใช้
•ความเห็นต่างมิใช่เป็นอุปสรรค แต่เป็นประโยชน์
•คนไม่เห็นด้วย เมื่อเสร็จแล้วให้เวลาเป็นเครื่องทดสอบ
•ให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นอย่างเพียงพอ เข้าใจความคิดระหว่างกัน ก่อนที่จะ
จบ/DM แม้จะใช้เวลานาน ทุกคนได้ร่วมตัดสินใจร่วมกัน
50
ประโยชน์ ของการตัดสินใจร่วมกันด้วยกระบวนการฉันทามติ
•ทุกคนสนับสนุนผลการตัดสินใจ และเป็นหุ้นส่วนความคิด
•ให้คาตอบในการแก้ปัญหาที่คนส่วนใหญ่พึงพอใจ
•มีการเอื้อเฟื้ อ เกื้อกูล ในการสื่อสารระหว่างกัน
•เกิดการรับฟัง และทาความเข้าใจในประเด็นปัญหาจากทุกฝ่าย
•นาไปสู่การปฏิบัติที่ยอมรับ และปฏิบัติได้
•หาคนเป็นผู้ Lead นา และทาหน้าที่ Facilitator พร้อมทั้งมีกฎกติการ่วมกัน
51
โต้เถียง (Debate) เสวนา (Dialogue)
ฟังเพื่อหาช่องโหว่โจมตี ฟังเพื่อทาความเข้าใจ
ปกป้องความคิดตัวเอง เปิดรับความคิดผู้อื่น
ตัวเองถูก คนอื่นผิด เราก็อาจมีส่วนผิด คนอื่นก็อาจมีส่วนถูก
พยายามทาให้ผู้อื่นเอาตามความคิดตน พยายามทาให้ทุกฝ่ายเห็นพ้องกัน
หาทางเอาชนะคะคานกัน หาทางให้ทุกฝ่ายพอใจ
WIN – LOSE WIN – WIN
52
การรับฟัง/สะท้อนมุมมองและความรู้สึก/
ไม่ด่วนตัดสิน เกิดการเรียนรู้ มุมมองใหม่ และความเข้าใจ
สร้าง/ปรับความสัมพันธ์ที่ดีขึ้น
สร้างความเชื่อมั่นไว้ใจ
เกิดทางออกใหม่ๆที่เป็นไปได้ในการแก้ไข
ปัญหา/ยุติข้อขัดแย้งได้ข้อสรุปร่วมกัน
บรรลุข้อตกลง
จากการเจรจา
เป็นลายลักษณ์อักษร
การพูดคุยเสวนา/ สันติสนทนา(peace dialogue)โดยมีฝ่ายที่สามเป็นผู้อานวย
ความสะดวก(facilitator)
ความเข้มข้น/ขมวดปมของกระบวนการและสาระที่พูดคุย
การเจรจา(peace negotiation) โดยมีฝ่ายที่สามเป็นผู้ไกล่เกลี่ย
(mediator)
DIALOGUE
FACILITATION
NEGOTIATION
MEDIATION
@เมธัส อนุวัตรอุดม สานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า 53
YOUR SITE HERE
Contents
9% WRITING (ใช้น้อยที่สุด สอนมากสุด)
16% READING (ใช้น้อยเป็นที่สอง สอนมากรองไป)
30% TALKING (ใช้มากเป็นที่สองสอนน้อยรองลงไป)
45% LISTENING (ใช้มากที่สุดสอนกันน้อยที่สุด
LYMANK. STEIL, LARRYL. BARKER,KITTIEW. WATSON EFFECTIVELISTENING: KEY TO YOURSUCCESS
•ฟัง พูด อ่าน เขียน เงียบ
การสื่อสารด้วยคาพูด
• ดร.อัลเบิร์ต เมห์ราเบียน ศาสตราจารย์ ด้านจิตวิทยาของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแองเจลิสได้วิจัยเรื่องการ
สื่อสารกล่าวว่า สิ่งที่มีอิทธิพลในการสื่อสารมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่
• จากวิจัยดังกล่าว พบว่าอิทธิพลที่ส่งผลให้มีประสิทธิภาพของการสื่อสารที่มากสุด คือ "ภาษากาย"
“ ร่างกายไม่เคยโกหก ”
ทักษะที่ขาดหาย
56
การฟังอย่างตั้งใจ
•ไม่พูดขณะฟัง
•ผู้หญิงหรือผู้ชายใครพูดมากกว่ากัน?
•เจ้านายฟังไหม?
•สบตา ฝึกสบตาคน....
•พยักหน้า ส่งเสียง เออ! ออ แปลว่าเห็นด้วย ?
•การกล่าวทวน (เนื้อหาและความรู้สึก)
•ถามคาถาม / ตอบคาถาม
57
การฟัง 4 ระดับ
• ฟังระดับสุภาพ
• ฟังระดับการพูดและอภิปราย
• ฟังระดับไตร่ตรอง
• ฟังระดับลื่นไหล สร้างสรรค์
การฟังอย่างลึกซึ้ง
• ฟังด้วยใจเปิดด้วยเมตตา
• ฟังโดยไม่ตัดสินไว้ก่อน
• ฟังแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา
ทักษะในการสร้างความสัมพันธ์
•ฟังอย่างตั้งใจ
•เน้นให้เห็นถึงความตั้งใจดีร่วมกัน
•รับรู้ความรู้สึกด้วยการกล่าวทวนและปรับปรุงคาพูด
•ช่วยให้คู่กรณีใช้การสนทนาแทนการโต้เถียง
•แยกประชุมถ้าบรรยากาศไม่ดี
•ให้ความมั่นใจกับคู่กรณีโดยทาให้การเจรจามีความก้าวหน้า
•ทดสอบท่านมีท่าทีอย่างไรในความขัดแย้ง
ล ข ย ป ร
หลีกเลี่ยง แข่งขัน ยอมตาม
ประนี
ประนอม
ร่วมมือ
61
คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการที่ดี
•ความสามารถในการสร้าง
บรรยากาศเอื้อซึ่งกันและกัน
• สรุป และเชื่อมโยงให้เห็นภาพรวม
•เชื่อในศักยภาพของผู้ด้อยโอกาส
เคารพในศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์
ของทุกคน ต้องการเห็นผู้อื่นมี
ความสามารถในการเรียนรู้
• ทักษะการสื่อสาร
• ทักษะในการฟัง
• ความสามารถในการตั้งคาถามเชิง
สร้างสรรค์
• ความยืดหยุ่น
• ความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะทาให้
เกิดการเรียนรู้
•มีกิจกรรมสอดแทรกในช่วงที่เหมาะสม
ความคาดหวัง
• ความคาดหวังของคนที่เห็นต่างกัน และความคาดหวัง กับสิ่งที่เป็นจริงที่
ต่างกัน
• ความคาดหวังไม่ตรงกันจะทาให้เกิดปัญหา จึงต้องทาให้ความคาดหวังที่
ตรงกัน
•เมื่อความคาดหวังตรงกันจะทาให้เกิดความไว้วางใจ และความเชื่อมั่น
• สิ่งที่ได้ออกมาต่ากว่าความคาดหวังจะเกิดความไม่ไว้วางใจ หากออกมาตรง
กับความคาดหวังก็พอรับและไว้วางใจได้
บุคลิกนักเจรจา
• เป็นนักฟังที่ดี
• มีทักษะสามารถอ่านคนเก่ง
• ใช้ภาษาและคาพูดได้ดี
• สงบนิ่ง/เยือกเย็นคุมอารมณ์ได้ดี
• สามารถเข้าใจปัญหายุ่งยากซับซ้อน
• เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจและเก็บรักษา
ความลับได้
• มีหลักการและนามาปฏิบัติได้ดีมี
ความเป็นมืออาชีพ
• มีอารมณ์ขันและมีความเป็น
นักแสดง
• มีความอดทน ความมุ่งมั่นและความ
พอดี
• มีทักษะการตลาดและทักษะด้าน
การเมือง
กรณีมีความขัดแย้ง
• เริ่มต้นด้วยการกระตุ้นให้คนที่อยู่ในเวทีให้เวลาเพื่อจะได้เย็นลง
• ให้พูดกันวันหน้าแยกพบทีละฝ่าย
• ใช้การฟังอย่างตั้งใจในการตอบสนอง
• การแก้ปัญหาเริ่มกระบวนการสมานฉันท์ ใช้เหตุใช้ผลให้กลับมาสู่ภาวะปกติ
• เชิญชวนให้แต่ละคนสู่กระบวนการเชิงบวกมากขึ้นทาให้บรรยาการเย็นลง
• ในระยะนี้ยังมีความเสี่ยงต่อการขัดแย้งที่จะกลับมาใหม่ อย่าพยายามแก้ปัญหา
ให้ใช้การฟังอย่างตั้งใจตอบสนอง
บทบาทคนกลางจะสร้างบรรยากาศเกื้อกูลในการพูดคุย
•วิกฤติการณ์ที่เกิดขึ้น มาจากการแสดงความโกรธออกมา
•ประเด็นที่จะเปิดต้องไม่สร้างให้เกิดความขัดแย้งมาก
•เปิดประเด็นแล้ว วงแตกใหม ถูกโจมตีใหม ควรจะทาอย่างไร พูดอย่างพูด
อย่างไรไม่เกิดการตอบโต้ ปัญหาเอาไว้พูดที่หลังรอให้บรรยากาศเย็นลงก่อน
•ใช้การฟังอย่างตั้งใจ ในการตอบสนองตามความเหมาะสม
การฟั งอย่างตั้งใจ
•การฟังใครต้องใช้สายตา หรือเวลาพูดกับใครต้องสบตากัน
•มีการแสดงท่าทางว่ากาลังฟังอยู่ ฟังมากกว่าพูด
•การฟังอย่างตั้งใจเป็นรากฐานของประชาธิปไตย
•การเปลี่ยนพฤติกรรมโดยที่เราไม่ต้องใช้กาลัง ให้เขาเปลี่ยนเองโดย
มาตรการของสังคม
•มาตรการของสังคมจะมีอานาจเหนือกฎหมาย
การเตรียมการในการจัดเวทีสานเสวนาหาทางออก
• บทบาทของฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
• FA ผู้ดาเนินรายการ
(วิทยากรกระบวนการ หรือคุณอานวย)
• ผู้จดบันทึก
• ผู้สังเกตการณ์
• ผู้เข้าร่วมในเวที
 การบริหารจัดการ(วัน เวลาที่จัด จัดที่ไหน การอานวยความสะดวก )
• คู่มือการเสวนา หรือบันทึกประเด็นปัญหาว่ามีอะไรบ้าง(Issue book)
• การตั้งคาถาม
คุณอานวย FA
เป็นผู้ที่ช่วยที่ทาให้กระบวนการ
รวบรวมข้อมูล ได้ข้อมูลออกมาอย่าง
สมบูรณ์
เป็นผู้ปิดทองหลังพระ การจัด
อานวยการกลุ่มดีๆ จะ ก่อให้เกิดเห็น
ความต่างที่ก่อให้เกิดสิ่งดีๆได้
คุณสมบัติของ Fa ต้องมีทั้งศิลป์และศาสตร์
•Fa เป็นผู้ตั้งคาถาม ช่วยทาให้ชัดเจน ช่วยกระตุ้นให้คิด ส่วนคาตอบจะมาจาก
กลุ่มเอง เราไม่ได้เป็นผู้ให้คาตอบ
•รายละเอียดการคุย จะคุยอะไร กระบวนการ จะใช้อะไร เราจะคุยกันอย่างไร
•FA ไม่อีโก้ ไร้อัตตา ปิดทองหลังพระ ถึงงานไม่สาเร็จถ้าไม่มีเรา เราก็ต้องทาให้
รู้สึกว่าเขาได้ทาสาเร็จด้วยตัวเอง
•FA ต้องรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆทั้งในแง่กายภาพ อารมณ์ จิตวิทยา สภาพห้อง
ความสบายใจ อุณหภูมิ และการจัดบริหารจัดการต่างๆ
คุณสมบัติของ FA ที่ต้องมีทั้งศิลป์ และศาสตร์
•กระบวนการ คือ โจทย์ เครื่องมือ เทคนิค ผลที่ได้รับทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น
•จะให้ผู้เข้าร่วมจะให้ทาอะไร ต้องชี้แจงให้ชัดเจน ทั้งในภาพรวม วัตถุประสงค์สิ่งที่
ต้องการ ขั้นตอนการทา
• เริ่มงานต้องกาหนดเวลา/ประเด็นที่ชัดเจน ไม่ให้ยืดเยื้อ อยู่ในเวลา
• หากเกิดความขัดแย้งขึ้น หรือบางคนมีพฤติกรรมก้าวร้าวเกิดขึ้น FA ต้องหนัก
แน่น มีจุดยืนที่เหมาะสม เตือนหรือพูดให้รู้ตัวอย่างสุภาพ
ทักษะการจัดกระบวนการ
•กากับและรักษากระบวนการต่อเนื่อง
•ช่วยให้คู่กรณีร่วมมือสร้างฉันทามติ
•ใช้คาพูดที่เป็นกลางอยู่เสมอ
•ชี้ให้เห็นประโยชน์ร่วม
•ทาความชัดเจนกับเรื่องราว
•แยกประชุมเมื่อเหมาะสม
เรื่องที่ควรระมัดระวังในการพูด
• เรื่องเกี่ยวกับศาสนา หากนับถือคนละศาสนา
• เรื่องเกี่ยวกับการเมือง ถ้าอยู่คนละฝ่าย
• เรื่องเกี่ยวกับครอบครัว ที่อีกฝ่ายไม่ต้องการเปิดเผย
• พูดถึงจุดอ่อน ข้อด้อยของคู่พิพาท ลักษณะทางกาย
• แสดงกิริยาท่าทางดูหมิ่น เบื่อหน่าย ราคาญ พูดติเตียน
• การแสดงความคิดเห็น ในทางตรงข้ามกับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด
• การชี้จุดอ่อนของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง(ขาดอายุความ ข้อกฎหมายอ่อน ชี้ว่าฝ่ายใดผิด/ถูก
•การติดต่อกับคู่พิพาทลับหลังคู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่ง
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
74

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
ภูมิรัฐศาสตร์และกำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc2558
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
ประเทศไทยกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
 
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่นความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
ความพึงพอใจการปกครองท้องถิ่น
 
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราชผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
ผู้นำคุณธรรมและธรรมาภิบาล พระพุทธชินราช
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
วาระปฏิรูปที่ ๓๕ ศิลปะวัฒนธรรมเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมของ...
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
เมืองแห่งความหลากหลาย เวทีท้องถิ่นไทย
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีนข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
ข้อเสนอนโยบาย One belt one road ของจีน
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
Isis
IsisIsis
Isis
 
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
จริยธรรมทางการแพทย์ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ม.ค. 2559
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 

Similar to การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก

ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
jirapom
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
kruthai40
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
Oppo Optioniez
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Taraya Srivilas
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
T Ton Ton
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
nang_phy29
 
มิติ8ด้าน
มิติ8ด้านมิติ8ด้าน
มิติ8ด้าน
Mim Papatchaya
 

Similar to การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก (20)

หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคมหน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
หน่วยที่ 1 ลักษณะและการจัดระเบียบทางสังคม ความหมายทางสังคม
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
Final paper bosnia, ja aui collected, 15.03.13, 06.39 am.
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
บริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียนบริหารกิจการนักเรียน
บริหารกิจการนักเรียน
 
มิติ8ด้าน
มิติ8ด้านมิติ8ด้าน
มิติ8ด้าน
 

More from Taraya Srivilas

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

การสร้างสังคมสันติสุขเพื่อการพัฒนาชุมชน แจก