SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
พัฒ นาการของอาณาจัก รอยุธ ยา

ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง

    รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐานของรัฐ
ไทย ในดินแดนประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้

      ๑. อธิบายถึงสาเหตุการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
ได้
     ๒. อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านการ
ปกครองได้
     ๓. เปรียบเทียบการปกครองของกรุงศรีอยุธยาทั้ง ๓
สมัยได้
     ๔. อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้าน
เศรษฐกิจได้
     ๕. อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านสังคม
และวัฒนธรรมได้

สาระการเรีย นรู้

     ๑. การตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
    ๒. พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านการปกครอง
    ๓. พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านเศรษฐกิจ
    ๔. พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านสังคมและ
วัฒนธรรม
2




                                          แบบทดสอบ
ก่อ นเรีย น
                         พัฒ นาการของอาณาจัก ร
      อยุธ ยา
                          เวลา ๒๐ นาที ๒๐ คะแนน

คำา สั่ง    จงพิจารณาคำาถามต่อไปนี้ และเลือกคำาตอบที่ถูก
            ที่สุดเพียงข้อเดียว
               โดยใส่เครื่องหมาย X ลงในกระดาษคำาตอบที่
            แจกให้
๑. พระมหากษัตริย์ที่สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีคือ
พระมหากษัตริย์พระองค์ใด
        ก. สมเด็จพระราเมศวร                  ข. สมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ ๑
        ค. สมเด็จพระนครินทราธิราช            ง. สมเด็จ
พระบรมราชาธิบดีที่ ๑
๒. แม่นำ้าสามสายที่ไหลผ่านกรุงศรีอยุธยา คือ แม่นำ้าใด
        ก. แม่นำ้าเจ้าพระยา ลพบุรี ป่าสัก    ข. แม่นำ้า
เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก
        ค. แม่นำ้าลพบุรี เจ้าพระยา ยม             ง. แม่นำ้า
เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก
 ๓. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุสำาคัญ ที่พระเจ้าอู่ทองทรงเลือกทำาเล
ที่ตั้ง
        ก. อยู่ใกล้ทะเล                      ข. ค้าขายกับ
ต่างชาติได้สะดวก
3


     ค. มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตร ง. ข้าศึก
รุกรานได้
๔. การปกครองในสมัยอยุธยาเป็นการปกครองแบบใด
         ก. สมบูรณาญาสิทธิราช             ข.
ประชาธิปไตย
     ค. ธรรมาธิปไตย                 ง. สังคมนิยม
๕. ธรรมะข้อใดที่เสริมให้พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ใช้
ปกครองไพร่ฟ้า
     ก. พรหมวิหาร                  ข. ราชธรรม
     ค. สังคหวัตถุ                       ง. ทศพิธราช
ธรรม
๖. จตุสดมภ์ตำาแหน่งคลังนอกจากจะรับผิดชอบทางการเงิน
แล้ว ยังทำาหน้าที่ใดอีก
     ก. ดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง ข. จัดการพระ
ราชพิธี
     ค. การทูตกับต่างประเทศ        ง. พิจารณาตัดสิน
คดี

๗. พระมหากษัตริย์ในข้อใดที่ทรงปฏิรูปการปกครองใน
สมัยอยุธยาตอนกลาง
    ก. สมเด็จพระเพทราชา             ข. สมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ
    ค. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ        ง. สมเด็จ
พระเจ้าปราสาททอง
๘. การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลก
นาถเอื้อประโยชน์ต่อการ
    บริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางอย่างไร
    ก. รวมเมืองหน้าด่านเข้ากับราชธานี ทำาให้มีอาณาเขต
4


การปกครองเพิ่มขึ้น
     ข. แบ่งหัวเมืองชั้นนอกออกเป็นชั้นเอก โท ตรี ทำาให้
สะดวกในการปกครอง
     ค. แยกฝ่ายทหารและพลเรือนออกจากกัน ทำาให้
ราชธานีบริหารงานได้ทั่วถึง
     ง. ให้เสนาบดีกรมคลังดูแลการติดต่อค้าขายกับต่าง
ประเทศเพื่อดูแลใกล้ชิด
๙. สมัยอยุธยาตอนปลายสมเด็จพระเพทราชาทรงปรับปรุง
การปกครองส่วนกลาง
      อย่างไร
     ก. สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้
     ข. สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ
     ค. สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ
     ง. สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองฝ่ายตะวันออก
๑๐. ข้อใดเรียงลำาดับการพัฒนา
     ๑. มีการปกครองแบบพลเรือนยามบ้านเมืองสงบ
ปกครองแบบทหาร
        ยามบ้านเมืองมีศึกสงคราม
     ๒. แบ่งแยกฝ่ายทหารและพลเรือออกจากกันอย่างเห็น
ได้ชัด
     ๓. สมุหนายกไปปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือสมุห
กลาโหมไปปกครองหัวเมือง
         ฝ่ายใต้
         จากข้อความข้างต้นข้อใดเรียงลำาดับการปกครอง
สมัยอยุธยาตอนต้น ตอนกลางและตอนปลายได้ถูกต้อง
           ก. ๑ ๒ ๓                       ข. ๑ ๓ ๒
           ค. ๒ ๓ ๑              ง. ๓ ๒ ๑
๑๑. ในสมัยอยุธยา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
5


     ก. ค้าขาย                                ข. หัตถกรรม
     ค. รับราชการ                             ง. เกษตรกรรม
๑๒. ข้อใดเป็นผลผลิตทางหัตถกรรมที่สำาคัญที่นับเป็นสินค้า
หลักที่สำาคัญของ
        การค้าในสมัยอยุธยา
     ก. เครื่องปั้นดินเผา เครื่องสังคโลก           ข. เครื่อง
จักสาน เครื่องประดับ
     ค. เครื่องใช้ทองเหลือง อาวุธ                  ง. มีด
พร้า ขวาน
 ๑๓ . หน่วยใดเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ
การติดต่อค้าขายกับ
         ต่างประเทศ
     ก. พระคลังสินค้า                    ข. พระคลังข้างที่
     ค. เสนาบดีกรมคลัง                   ง. ถูกทุกข้อ
๑๔. ข้อใดไม่ใช่สินค้าออกในสมัยอยุธยา
     ก. เครื่องเทศ นำ้าตาล                    ข. ไม้หอม ไม้
สัก
     ค. ไม้ฝาง สัตว์ป่า                  ง. ผ้าแพร ผ้าลาย
ทอง
๑๕. ชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาค้าขายกับอยุธยาคือชาติ
ใด
     ก. อังกฤษ                           ข. สเปน
     ค. ฝรั่งเศส                         ง. โปรตุเกส
๑๖. สภาพสังคมในสมัยอยุธยาอยู่รวมกันเป็นระบบใด
     ก. ศักดินา                                    ข. นาย
กับบ่าว
     ค. เจ้าขุนมูลนาย                    ง. ประชาธิปไตย
๑๗. บุคคลระดับล่างสุดของสังคมไทยสมัยอยุธยาเรียกว่า
6


อะไร
    ก. ไพร่                       ข. ขีข้า
                                       ้
    ค. ทาส                        ง. ขุนนาง


๑๘. ข้อใดหมายถึงไพร่หลวง
     ก. ราษฎรที่เป็นชายฉกรรจ์และสังกัดมูลนาย
     ข. เด็กชายที่มีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป
     ค. ราษฎรที่เป็นชายทุกระดับอายุ
     ง. ราษฎรชายหญิงทุกคน
๑๙. วรรณคดีเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา คือข้อใด
     ก. ลิลิตพระลอ                       ข. มหาชาติ
คำาหลวง
     ค. พระมาลัยคำาหลวง                      ง. ลิลิต
โองการแช่งนำ้า
๒๐. สังคมในสมัยอยุธยามีความสงบสุขเพราะปัจจัยในข้อ
ใดเป็นสำาคัญ
         ก. พระพุทธศาสนา                          ข. ระบบ
ศักดินา
         ค. จำานวนราษฎร                           ง.
กฎหมาย



                                             นักเรียนต้อง
                                        มีความซื่อสัตย์ต่อ
ตนเอง
                                       ไม่ดูเฉลยก่อนเป็น
7


อันขาด




                                           การตั้ง กรุง
ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี

                                              นักเรียนวันนี้
ครูร้องเพลงอยุธยาเมืองเก่า
                                              ให้นักเรียนฟัง
นักเรียนฟังแล้วคิดตามด้วยนะ

                                             เพลงอยุธ ยา
เมือ งเก่า
        อยุธยาเมืองเก่าของเราแต่ก่อน จิตใจอาวรณ์มาเล่าสู่
 กันฟัง อยุธยาแต่ก่อนนี้ยัง เป็ นดั งเมื องทองของพี่ น้ อง
 เผ่ าพงศ์ ไทย เดี๋ ยวนี้ ซิ เป็ นเมื องเก่ า ชาวไทยแสนเศร้ า
 ถู กข้ าศึ กรุ กราน ชาวไทยทุ กคนหั วใจร้ าวราน ข้ าศึ ก
 เผาผลาญแหลกลาญวอดวาย
 เราชนชันหลังฟังแล้วเศร้าใจ อนุสรณ์เตือนให้ชาวไทยจงมัน
            ้                                              ่
 สมัครสมานร่วมใจกันสามัคคี คงจะไม่มีใครกล้าราวีชาติ
 ไทย.
8


                                             นักเรียนเนื้อหา
เพลงอยุธยาเมืองเก่า
                                              กล่าวถึงเรื่อง
อะไรคะ

                      อยุธยาที่เคยรุ่งเรือง อยุธยาถูกศึก
ทำาลายจน
                      เสียหายเพราะความไม่สามัคคีของ
คนในชาติครับ
                       เก่งมาก ... และนักเรียนอยากรู้เกี่ยว
กับประวัติ
                                      ความเป็นมาเรื่องการ
ตั้งกรุงศรีอยุธยาไหม

                                                หนูอยากรู้ค่ะ

          ถ้าอยากรู้ ให้ศึกษา เนื้อหาการก่อตั้ง
              อาณาจักรอยุธยาหน้าต่อไปคะ
         การการตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี

       หลังสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัย
ก็เริ่มเสื่อมอำานาจลงเป็นลำาดับ หัวเมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ภาย
ใต้อำานาจการปกครองของสุโขทัย ต่างก็ประกาศตนเป็น
อิสระ
       บริเวณลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยาตอนล่าง ในช่วงเวลาก่อน
การก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเคยเป็น
บริเวณที่มีความเจริญมั่นคงเป็นปึกแผ่นมาก่อน เช่น แคว้น
สุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) และแคว้นละโว้ (ลพบุรี)
9


         ต่อมาในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พระเจ้าอู่ทอง ได้
เป็นผู้นำาในการรวมแคว้นสุพรรณภูมิ และแคว้นละโว้เข้า
ด้วยกัน พร้อมกับสร้างกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี บริเวณ
ที่ เรี ยกว่ า หนองโสน หรื อบึ งพระรามเมื่ อ พ.ศ. ๑๘๙๓
โดยพระราชทานนามเมื องว่ า
“กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา” และพระองค์ก็เสด็จขึ้นครอง
ราชย์เป็นต้นพระราชวงศ์อู่ทอง
ทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑




                                  ภาพที่ ๑ สมเด็จ พระ
รามาธิบ ดีท ี่ ๑ (พระเจ้า อู่ท อง )
                         ที่ม า :
http://www1.tv5.co.th/.../king/ayuthaya/ayuthaya1.
htm h
สาเหตุท ี่พ ระเจ้า อู่ท องทรงเลือ กกรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น
ราชธานี เพราะมีความเหมาะสมหลายประการดังนี้
     ๑. บริเ วณดัง กล่า วมีแ ม่น ำ้า ๓ สายไหลผ่า น คือ
          ๑.๑ แม่น ำ้า เจ้า พระยา ไหลผ่านทางทิศตะวัน
ตก และโอบไปทางใต้
          ๑.๒ แม่น ำ้า ลพบุร ี ไหลมาจากทางทิศเหนือและ
อ้อมไปบรรจบกันกับแม่นำ้าเจ้าพระยาทางตะวันตก
          ๑.๓ แม่น ำ้า ป่า สัก ไหลผ่านทางตะวันออกและ
1
                                                                   0

อ้อมมาบรรจบกับแม่นำ้าเจ้ าพระยา ทางใต้ ของตั วเมื อง
ทำา ให้ บริ เวณดั งกล่ าว เป็ นที่ ราบลุ่ มแม่ นำ้า ที่ อุ ดมสมบู รณ์
เหมาะแก่การเพาะปลูก
      ๒. ใช้ส ายนำ้า เป็น คูเ มือ งล้อ มรอบตามธรรมชาติ
เหมาะแก่การป้องกันเมืองในยามที่ข้าศึกยกทัพมารุกราน
      ๓. มีค วามเหมาะสมด้า นยุท ธศาสตร์ กล่าวคือ
เมื่อมีข้าศึกยกทัพมาตีข้าศึกจะสามารถตั้งค่ายล้อมเมืองได้ถึง
ฤดูแล้งเท่านั้น     เพราะเมื่อถึงฤดูนำ้าหลาก นำ้าจะหลากท่วม
ขังบริเวณรอบตัวเมือง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการที่ข้าศึกจะยก
ทัพเข้าโจมตีและทำาให้ขาดแคลนเสบียงอาหาร ข้าศึกจึงต้อง
ถอยทัพกลับไป
      ๔. เป็น ศูน ย์ก ลางคมนาคม เพราะตั้งอยู่ในเส้น
ทางการค้าขาย ติดต่อกับหัวเมืองอื่น ๆ รวมทั้งสามารถติดต่อ
ค้าขายกับต่างประเทศทางทะเลได้สะดวก เพราะตั้งอยู่ตรงที่
แม่นำ้าใหญ่หลายสายไหลมาบรรจบกัน รวมเป็นแม่นำ้า
เจ้าพระยาไหลออกอ่าวไทย เรือเดินทะเล สามารถแล่นจาก
ปากแม่นำ้าเข้ามาทอดสมอได้ถึงหน้าเมือง ทำาให้กรุง
ศรีอยุธยาเป็นชุมชนทางการค้าขายที่สำาคัญ
      จากสภาพทำาเลทีตงของกรุงศรีอยุธยา ทีมความเหมาะสม
                         ่ ั้                           ่ ี
ดังกล่าวทำาให้กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีอันยิ่งใหญ่ ของไทย
มายาวนานตลอด ๔๑๗ ปี (พ.ศ. ๑๘๙๓ – พ.ศ. ๒๓๑๐)
โดยเริ่มจากอาณาจักรเล็ก ๆ ขยายเป็นอาณาจักรที่มีความ
ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์อย่างเห็น
ได้ชัดทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ
ศิลปวัฒนธรรม
      ตลอดระยะเวลาอั นยาวนาน กรุ งศรี อยุ ธยาพ่ ายแพ้ แก่
พม่ า ๒ ครั้ ง คื อในรั ชกาล
สมเด็จพระมหินทราธิราช (พ.ศ. ๒๑๑๒ ) และในสมัย
1
                                                            1

สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์
หรือพระเจ้าเอกทัศน์ (พ.ศ. ๒๓๑๐) แต่ด้วยความสมัครสมาน
สามัคคี และมานะบากบั่นของผู้นำาและราษฎร ทำาให้
ประชาชนชาวไทย สามารถกอบกู้เอกราชกลับคืนมาได้




                                        ภาพที่ ๒ แผนผัง
เมือ งอยุธ ยา
                     ที่ม า : หนัง สือ เรีย นสัง คมศึก ษา
ศาสนาและวัฒ นธรรม ป.๕
                              สถาบัน ทดสอบทาง
วิช าการ(พ.ว) หน้า ๒๐๒
รายพระนามพระมหากษัต ริย ์แ ห่ง กรุง ศรีอ ยุธ ยา
       ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
ของไทย ได้มีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อเนื่องกันมารวม
ทั้งสิ้น ๓๓ พระองค์ ใน ๕ ราชวงศ์ ดังนี้
ลำา ดั         พระนาม         ปีท ี่ค รอง     ราชวงศ์
บที่                       ราชย์ (พ.ศ)
   ๑ สมเด็จพระรามาธิบดี        ๑๘๙๓ -          อู่ทอง
         ที่ ๑                  ๑๙๑๒
         (พระเจ้าอู่ทอง)
   ๒ สมเด็จพระราเมศวร          ๑๙๑๒ -          อู่ทอง
         (ครั้งที่ ๑)           ๑๙๑๓
1
                                                       2

 ๓   สมเด็จพระบรม           ๑๙๑๓ -        สุพรรณภูมิ
     ราชาธิราชที่ ๑         ๑๙๓๑
     (ขุนหลวงพะงั่ว)
 ๔   สมเด็จพระเจ้าทอง       ๑๙๓๑ -   สุพรรณภูมิ
     ลัน                    ๑๙๓๑
 ๕   สมเด็จพระราเมศวร       ๑๙๓๑ -      อู่ทอง
     (ครั้งที่ ๒)           ๑๙๓๘
 ๖   สมเด็จพระราม         ๑๙๓๘- ๑๙๕๒    อู่ทอง
     ราชาธิราช
 ๗   สมเด็จพระนครินท        ๑๙๕๒ -        สุพรรณภูมิ
     ราธิราช                ๑๙๖๗
     (เจ้านครอินทร์)

ลำา ดั       พระนาม         ปีท ี่ค รอง   ราชวงศ์
บที่                       ราชย์ (พ.ศ)
  ๘ สมเด็จพระบรม             ๑๙๖๗ -       สุพรรณภูมิ
       ราชาธิราชที่ ๒         ๑๙๙๑
       (เจ้าสามพระยา)
  ๙ สมเด็จพระบรม             ๑๙๙๑ -       สุพรรณภูมิ
       ไตรโลกนาถ              ๒๐๓๑
 ๑๐ สมเด็จพระบรม             ๒๐๓๑ -       สุพรรณภูมิ
       ราชาธิราชที่ ๓         ๒๐๓๔
       (พระอินทราชา)
 ๑๑ สมเด็จพระรามาบดีที่      ๒๐๓๔ -       สุพรรณภูมิ
       ๒                     ๒๐๗๒
       (พระเชษฐาธิราช)
 ๑๒ สมเด็จพระบรม             ๒๐๗๒ -       สุพรรณภูมิ
       ราชาธิราชที่ ๔         ๒๐๗๖
1
                                                 3

     (หน่อพุทธางกูร)
๑๓   สมเด็จพระรัษฏาธิ      ๒๐๗๖ -   สุพรรณภูมิ
     กุมาร                 ๒๐๗๗
๑๔   สมเด็จพระไชย          ๒๐๗๗ -   สุพรรณภูมิ
     ราชาธิราช              ๒๐๘๙
๑๕   สมเด็จพระยอดฟ้า       ๒๐๘๙ -   สุพรรณภูมิ
                            ๒๐๙๑
๑๖ สมเด็จพระมหาจักร        ๒๐๙๑ -   สุพรรณภูมิ
   พรรดิ                    ๒๑๑๑
๑๗ สมเด็จพระมหินทราธิ      ๒๑๑๑ -   สุพรรณภูมิ
   ราช                      ๒๑๑๒
   เสีย กรุง ศรีอ ยุธ ยา
   ครั้ง ที่ ๑              ๒๑๑๒
๑๘ สมเด็จพระมหาธร          ๒๑๑๒ -    สุโขทัย
   รมาชาธิราช               ๒๑๓๓
๑๙ สมเด็จพระนเรศวร         ๒๑๓๓ -    สุโขทัย
   มหาราช                   ๒๑๔๘
๒๐ สมเด็จพระเอกาทศ         ๒๑๔๘ -    สุโขทัย
   รถ                       ๒๑๕๓
๒๑ สมเด็จพระศรี            ๒๑๕๓ -    สุโขทัย
   เสาวภาคย์                ๒๑๕๓
๒๒ สมเด็จพระเจ้า           ๒๑๕๓ -    สุโขทัย
   ทรงธรรม                  ๒๑๗๑
๒๓ สมเด็จพระเชษฐาธิ        ๒๑๗๑ -    สุโขทัย
   ราช                      ๒๑๗๒
๒๔                         ๒๑๗๒ -    สุโขทัย
   พระอาทิตยวงศ์            ๒๑๗๒
๒๕ สมเด็จพระเจ้า           ๒๑๗๒ –    ปราสาท
1
                                                            4

      ปราสาททอง                  ๒๑๙๙             ทอง

ลำาดั                           ปีที่ครองราชย์    ราชวงศ์
บที่       พระนาม                     (พ.ศ)
๒๖ สมเด็จพระเจ้าฟ้า                 ๒๑๙๙ -       ปราสาท
      ไชย                            ๒๑๙๙           ทอง
๒๗ สมเด็จพระสุธรรม                  ๒๑๙๙ -       ปราสาท
      ราชา                           ๒๑๙๙           ทอง
๒๘ สมเด็จพระนารายณ์                 ๒๑๙๙ -       ปราสาท
      มหาราช                         ๒๒๓๑           ทอง
๒๙ สมเด็จพระเพทราชา                 ๒๒๓๑ -        บ้านพลู
                                     ๒๒๔๖          หลวง
๓๐    สมเด็จพระสรรเพชญ์             ๒๒๔๖ -        บ้านพลู
      ที่ ๘                          ๒๒๕๑          หลวง
      (พระเจ้าเสือ)
๓๑    สมเด็จพระสรรเพชญ์             ๒๒๕๑ -        บ้านพลู
      ที่ ๙                          ๒๒๗๕          หลวง
      (พระเจ้าท้ายสระ)
๓๒    สมเด็จพระเจ้าบรม          ๒๕๒๑๙๙-๒๑         บ้านพลู
      โกศ                              ๙๙          หลวง
๓๓    สมเด็จพระเจ้า                 ๒๓๐๑ -        บ้านพลู
      อุทมพร
          ุ                          ๒๓๐๑          หลวง
๓๔    สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ           ๒๓๐๑ –        บ้านพลู
                                     ๒๓๑๐          หลวง
     เสีย กรุง ศรีอ ยุธ ยาครั้ง ที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐
1
                                                            5




        กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๑ เรื่อ ง การตั้ง กรุง
               ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี
              คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
จุด ประสงค์ อธิบายสาเหตุของการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น
ราชธานีได้
คำา ชี้แ จง : ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ ๔-๕ คน ให้แต่ละ
กลุ่มร่วมกันร้องเพลง
“อยุธยาเมืองเก่า” จากนั้น ตอบคำาถาม
               เพลง “อยุธ ยาเมือ งเก่า ”

      คำาร้อง – ทำานอง สุรินทร์ ปิยานันท์
             อยุธยาเมืองเก่าของเราแต่ก่อน        จิตใจ
อาวรณ์มาเล่าสู่กันฟัง
             อยุธยาแต่ก่อนนี้ ยัง           เป็นดัง
เมืองทองของพี่น้องเผ่าพงศ์ไทย
            เดี๋ยวนี้ซิเป็นเมือง เก่า       ชาวไทยแสน
เศร้าถูกข้าศึกรุกราน
            ชาว ไทยทุกคนหัวใจร้าวราน             ข้าศึกเผา
ผลาญแหลกราญวอดวาย
1
                                                                          6

          เราชนชั้นหลังฟังแล้วเศร้าใจ                          อนุสรณ์
เตือนให้ชาวไทยคงมั่น
          สมัครสมานร่วมใจกันสามัคคี                            คงจะไม่มี
ใครกล้าราวีชาติไทย

                        **************************
๑. เนื้อเพลงนี้มีใจความสำาคัญว่าอย่างไร
     ......................................................................
......................................................................
๒. สิ่งที่ผู้แต่งเพลงนี้ต้องการให้คนไทยทำา คือสิ่งใด
     ......................................................................
......................................................................
๓. คำาว่า “อนุสรณ์” ที่กล่าวถึงในเนื้อเพลงหมายถึงอะไร
     ......................................................................
......................................................................
๔. เมื่อร้องเพลงนี้แล้ว นักเรียนรู้สึกอย่างไร
     ......................................................................
......................................................................
 กิจ กรรมที่ฝ ึก ทัก ษะที่ ๒ เรื่อ ง การตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยา
                             เป็น ราชธานี
                    คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน

จุด ประสงค์ อธิบายสาเหตุของการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น
ราชธานีได้

คำาชีแ จง : แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุม ให้นกเรียนศึกษา
     ้                                 ่   ั
การสถาปนากรุงศรีอยุธยาในด้านต่างๆ ได้แก่ ผูก่อตัง
                                             ้ ้
อาณาจักรอยุธยา ทำาเลทีตังของกรุงศรีอยุธยา และพระมหา
                       ่ ้
1
                                                                          7

กษัตริยแห่งกรุงศรีอยุธยา กลุ่มละ 1 ด้าน วิเคราะห์และสรุป
       ์
เหตุการณ์สำาคัญ แล้วนำาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน

              ด้า น .....................................................
สรุป เหตุก ารณ์ส ำา คัญ
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
...........................................................................
.....................................................................
1
                                                            8


                          กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๓ เรื่อ ง
การตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี
                                             คะแนนเต็ม
๑๐ คะแนน

จุด ประสงค์ อธิบายสาเหตุของการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น
ราชธานีได้
คำา ชี้แ จง : เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูก เขียน
เครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด

...... ๑. สมเด็จพระราชาธิบดีที่ ๑ ทรงเป็นผู้สถาปนากรุง
...       ศรีอยุธยาเป็นราชธานี
...... ๒. กรุงศรีอยุธยา มีชื่อเต็มว่า “กรุงเทพทวารวดี
...       ศรีอยุธยา”
...... ๓. กรุงศรีอยุธยามีที่ตั้งที่เหมาะสม เนื่องจากมีแม่นำ้า
...       สำาคัญไหลผ่านถึง ๓ สาย
...... ๔. แม่นำ้าสำาคัญที่ไหลผ่านกรุงศรีอยุธยา คือ แม่นำ้า
...       ลพบุรี แม่นำ้าป่าสัก และ
          แม่นำ้าท่าจีน
...... ๕. แม่นำ้าเจ้าพระยา ไหลจากทิศตะวันออกอ้อมไป
...       ทางทิศใต้
...... ๖. กรุงศรีอยุธยามีลักษณะเป็นเกาะที่มีสัณฐานคล้าย
...       เรือสำาเภาคนทั่วไป
          เรียกว่า “เกาะเมือง”
...... ๗ กรุงศรีอยุธยามีทำาเลทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับ
...    . การเป็นราชธานี เพราะ เป็นที่ที่มีความอุดมสม
1
                                                              9

          บรูณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก
...... ๘. กรุงศรีอยุธยาเป็นชุมชนทางการค้าขายที่สำาคัญ
...       เพราะ เรือเดินทะเล สามารถแล่นจากปากแม่นำ้า
          เข้ามาทอดสมอได้ถึงหน้าเมือง
...... ๙. มีความเหมาะสมด้านยุทธศาสตร์ กล่าวคือ เมื่อมี
...       ข้าศึกยกทัพมาตีข้าศึกจะ
          สามารถตั้งค่ายล้อมเมืองได้ถึงฤดูแล้งเท่านั้น
...... ๑ พระมหากษัตริย์องค์แรกและองค์สุดท้ายของกรุง
...    ๐. ศรีอยุธยา คือ
          สมเด็จพระราชาธิบดีที่ ๑ และสมเด็จพระเจ้าเอก
          ทัศ


                              พัฒ นาการ
อาณาจัก รอยุธ ยาทางด้า นการปกครอง


                                                  นักเรียน
รู้จักพระมหากษัตริย์ที่ปกครอง
                                    กรุงศรีอยุธยาพระองค์
ใดบ้าง

                                ผมรู้จักสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
ครับ


                                      หนูรู้จักสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถค่ะ
2
                                                          0




                      หนูรู้จักสมเด็จพระเพทราชาค่ะ



                                      นักเรียนคะ ในสมัย
พระมหากษัตริย์ที่นักเรียนรู้จัก
                                      มีการปกครอง
อย่างไรบ้าง ศึกษา ได้จากเอกสาร
                                       ประกอบการเรียน
หน้าต่อไป




                        พัฒ นาการอาณาจัก ร
อยุธ ยาทางด้า นการปกครอง
    อาณาจักรอยุธยามีสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น
สถาบันหลักในการปกครอง เรียก
การปกครองแบบนี้ว่า “การปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์” มีลักษณะสำาคัญ คือ
    ๑. พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าชีวิต คือ มีอำานาจเหนือทุก
    คนในราชอาณาจักร
    ๒. พระมหากษั ตริ ย์ เป็ นเจ้ าแผ่ นดิ น คื อ ทรงเป็ น
    เจ้ าของแผ่ นดิ นทั้ งราชอาณาจั กร
    ๓. พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะเป็นสมมติเทพ ที่ เคารพ
2
                                                       1

     สูงสุด เหมือนเป็นเทพเจ้ า
ประทับในพระราชวัง ซึงเป็นเขตศักดิสทธิ์ มีพธการต่าง ๆ
                      ่          ์ ิ      ิ ี
ประชาชนทุกคนต้องหมอบ
คลานเข้าเฝ้า และต้องใช้ราชาศัพท์กับพระองค์
     แม้ว่าพระมหากษัตริย์ ในระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ จะมีอำานาจล้นพ้น แต่พระมหา
กษัตริย์ก็ทรงมีความเมตตาต่อประชาชนของพระองค์ โดย
ทรงยึดหลักธรรม ของ
พุ ทธศาสนา คื อ หลั กทศพิ ธราชธรรม, หลั กจั กรวรรดิ
วั ตรและหลั กราชสั งคหวั ตถุ มา
ประพฤติปฏิบัติในการดูแลปกครองบ้านเมืองให้อยู่เย็น
เป็นสุข
การปกครองสมัย อยุธ ยา
     การปกครองกรุงศรีอยุธยา ตลอดระยะเวลาแห่งการ
เป็นราชธานี อันยาวนาน มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ
ปกครองแตกต่างกัน แต่ละยุคแต่ละสมัย ซึงสามารถแบ่ง
                                      ่
รูปแบบการปกครองได้เป็น ๓ สมัย ดังนี้

สมัย ของ                           ระยะ  พระมหา
  การ                             เวลา(พ กษัต ริย ์
             ตรงกับ รัช สมัย
ปกครอง                              .ศ.)   ที่
                                         ปกครอง
 อยุธยา      สมัยสมเด็จพระ         ๙๘ ปี   ๗
 ตอนต้น    รามาธิบดีที่ ๑ จนถึง   (๑๘๙๓ พระองค์
            สมัยสมเด็จพระบรม      -๑๙๙๑
             ราชาธิราชที่ ๒           )
2
                                                           2

สมัย ของ                                ระยะ   พระมหา
  การ                                  เวลา(พ กษัต ริย ์
              ตรงกับ รัช สมัย
ปกครอง                                   .ศ.)    ที่
                                               ปกครอง
อยุธยา      สมัยสมเด็จพระบรม            ๒๔๐ ปี   ๒๐
สมัยปฎิ        ไตรโลกนาถ               (๑๙๙๑ พระองค์
  รูป             จนถึง                -๒๒๓๑)
  การ         สมัยสมเด็จพระ
ปกครอง       นารายณ์มหาราช
อยุธยา      สมัยสมเด็จพระเพท            ๗๙ ปี ๖ พระองค์
 ตอน              ราชา                 (๒๒๓๑-
 ปลาย             จนถึง                 ๒๓๑๐)
            สมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริ
                ยาศน์อมรินทร์

    ๑. สมัย อยุธ ยาตอนต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑)
      ในสมัยนีเป็นสมัยของการวางรากฐาน อำานาจทางการเมือง
               ้
การปกครอง รวมทังเสริมสร้างความมั่นคงของอาณาจักร ซึง
                   ้                                    ่
ยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวางมากนัก พระเจ้าอู่ทองทรงวาง
รากฐานไว้ดังนี้
      ๑.๑ การปกครองส่ว นกลาง (ราชธานี)
      พระมหากษัตริยทรงแบ่งการปกครองเป็น ๔ ส่วน เรียก
                       ์
ว่า “จตุสดมภ์” ในแต่ละส่วน
มีอำานาจหน้าที่ ดังนี้
      ๑) กรมเวีย ง ( กรมเมือง ) มีหน้าทีดแลความสงบ
                                        ่ ู
เรียบร้อยของราษฎรทัวราชอาณาจักร เช่น ปราบปรามโจร
                         ่
ผูรายนำาตัวผูทำาผิดมาลงโทษ มีเสนาบดีตำาแหน่งขุน เวีย ง
  ้ ้        ้
หรือ ขุน เมือ ง เป็นผู้รับผิดชอบ
2
                                                         3

       ๒) กรมวัง มีหน้าทีจดระเบียบเกียวกับราชสำานัก จัดงาน
                           ่ ั         ่
พระราชพิธตาง ๆ พิพากษาคดีความของราษฎร มีเสนาบดี
            ี ่
ตำาแหน่ง ขุน วัง เป็นผู้รับผิดชอบ
       ๓) กรมคลัง มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากร จัดหารายได้
เพื่อใช้ในการบำารุงราชอาณาจักร รับผิดชอบด้านการเงิน
และการต่างประเทศ แต่งสำาเภาหลวง ออกค้าขายกับต่าง
ประเทศ มีเสนาบดีตำาแหน่ง ขุน คลัง เป็นผู้รับผิดชอบ
       ๔) กรมนา มีหน้าที่ ดูแลเกียวกับการทำามาหากินของ
                                    ่
ราษฎร เช่น การทำานา ทำาสวน ทำาไร่ และจัดเตรียม
เสบียงอาหาร ไว้ใช้ในยามศึกสงคราม มีเสนาบดีตำาแหน่ง
ขุน นา เป็นผู้รับผิดชอบ
       ๑.๒ การปกครองหัว เมือ ง
       เป็นการปกครองหัวเมืองทีอยูนอกเขตราชธานี ซึงมีการ
                                ่ ่                ่
แบ่งเมืองเป็นระดับชัน โดยมีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลาง
                     ้
การปกครองแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ
            ๑) เมือ งหน้า ด่า น (เมืองลูกหลวง) เป็นหัวเมือง
ที่อยู่รายรอบราชธานี และมีระยะทางไปมาถึงราชธานีได้
ภายใน ๒ วัน มีความสำาคัญในการป้องกันข้าศึกไม่ให้โจมตี
ถึงราชธานีได้ง่าย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชโอรส
หรือเจ้านายชั้นสูงไปปกครองแทนพระองค์ เพื่อเป็นการแบ่ง
เบาพระราชภาระด้านการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้นมีเมือง
หน้าด่าน ดังนี้

                              ลพบุรี


           สุพรรณบุรี                  อยุธยา
            นครนายก
2
                                                            4


                                                  พระประแดง

      แผนภูม ิแ สดงเมือ งหน้า ด่า นทั้ง ๔ ทิศ ในสมัย
                   อยุธ ยาตอนต้น

       ๒) หัว เมือ งชัน ใน เป็นหัวเมืองทีถดออกจากเมืองหน้า
                        ้                  ่ ั
ด่านออกไปอีก เป็นเมืองรายรอบตามระยะทางคมนาคม อยูไม่          ่
ไกลจากราชธานี สามารถติดต่อถึงกันได้สะดวก หัวเมืองชัน       ้
ในมีความสำาคัญ คือ ในยามศึกสงครามจะนำากำาลังทหารมา
สมทบ
พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งเจ้าเมือง กรมการเมือง และ
คณะกรรมการเมืองไปปกครองโดยขึ้นตรงต่อราชธานี หัว
เมืองชั้นในที่สำาคัญ มีดังนี้
             ทิศเหนือ             เมืองพรหมบุรี อินทร์บุรี
สิงห์บุรี
             ทิศใต้                    เมืองเพชรบุรี
             ทิศตะวันออก               เมืองปราจีนบุรี
             ทิศตะวันตก                เมืองราชบุรี
       ๓) หัว เมือ งชั้น นอก (เมืองพระยามหานคร) เป็นหัว
เมืองทีมีขนาดใหญ่ อยู่ห่างจากราชธานีออกไปตามทิศทาง
        ่
ต่าง ๆ หัวเมืองชั้นนอกจะเป็นเมืองที่คอยปกป้องดูแล
อาณาเขต
ที่ตั้งอยู่ มีเจ้าเมืองเป็นที่ปกครองสืบทอดกันมา แต่ในบาง
ครั้งเพื่อความมั่นคงของราชธานี พระมหากษัตริยจะทรงแต่ง
                                                    ์
ตังขุนนางจากกรุงศรีอยุธยาไปปกครอง หัวเมืองชันนอกที่
  ้                                                   ้
สำาคัญ
มีดงนี้
    ั
2
                                                      5

           ทิศเหนือ                     เมืองพิษณุโลก
           ทิศใต้                       เมืองไชยา เมือง
นครศรีธรรมราช เมืองพัทลุง
           ทิิศตะวันออก                 เมืองนครราชสีมา
เมืองจันทบุรี
           ทิศตะวันตก                   เมืองตะนาวศรี
เมืองทวาย
     ๔) หัว เมือ งประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ไกลนอกพระ
ราชอาณาเขต มีการปกครองอิสระแก่ตนเอง ชาวเมือง
เป็นชาวต่างชาติเมืองเหล่านี้มีรูปแบบการปกครองตาม
วัฒนธรรมเดิมของตน เจ้านายพื้นเมืองมีสิทธิ์ขาดในการ
ปกครองดินแดนของตน แต่ต้องแสดงตนว่ายอมอ่อนน้อม
หรือเป็นเมืองประเทศราช โดยการส่งเครืองราชบรรณาการมา
                                      ่
ถวายตามกำาหนด เป็นการแสดงความจงรักภักดีเมื่อเกิดศึก
สงคราม จะส่งกำาลังและเสบียงอาหารมาสมทบกับฝ่ายไทย
เมืองประเทศราชในสมัยนี้ ได้แก่ เขมร มอญ และมะละกา
เป็นต้น




  แผนผัง แสดงการปกครองในสมัย อยุธ ยาตอนต้น


                     พระมหากษัตริย์

การปกครองส่วนกลาง                        การปกครองส่วน
                        ภูมิภาค
2
                                                                          6

     จตุสดมภ์

                   นา

            คลัง      ขุนนา
     หัวเมือง
                                                               ประเทศรา
                                                          ช
           วัง       ขุนคลัง

หัวเมืองชั้นนอก     เจ้านายพื้นเมือง
 เวียง ขุนวัง
                                     หัวเมืองชั้นใน            เจ้าเมืองที่
                               สืบ
ขุนเวียง                                                       เชื้อสาย
หรือ
                  เมืองหน้าด่าน                       ขุนนาง
           ขุนนางที่แต่งตั้ง

                    พระราชโอรส
                    พระราชวงศ์ที่
                   ใกล้ชิด




๒. สมัย อยุธ ยาตอนกลาง (พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๒๓๑)
     สมัยนี้เป็นสมัยที่อาณาจักรอยุธยา มีความมั่นคงเป็น
ปึกแผ่น และเริ่มเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ มีอำานาจทางการ
เมืองการปกครองเจริญรุ่งเรืองสูงสุด รวมทั้งสภาพทาง
เศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรือง มีการติดต่อทางการค้ากับต่างชาติ
     ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีการจัด
2
                                                       7

ระเบียบการปกครอง เพิ่มเติมจากเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับ
สภาพของอาณาจักรอยุธยาในขณะนั้น
     สาเหตุที่ทำาให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถปฏิรูปการ
ปกครองอาณาจักอยุธยา มีดังนี้
           ๑. สืบเนื่องจากการที่อยุธยา ได้ขยายดินแดนออก
ไปกว้างขวางและได้รวมเอาดินแดนของอาณาจักรสุโขทัย
เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร จึงจำาเป็นต้องขยาย
อำานาจและการปกครองออกไป ให้ควบคุมดินแดนทั้งหมด
           ๒. เกิดปัญหาเรืองความมันคงของอาณาจักร จาก
                            ่       ่
การทีเมืองหน้าด่านมีกองกำาลังป้องกันเมืองจึงมีอำานาจมาก
      ่
ทำาให้เกิดการชิงราชสมบัติอยู่บ่อยครั้ง
           ๓. ทรงต้องการปรับปรุงระเบียบการปกครองทีมแต่่ ี
เดิม เพือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น
        ่
     ๒.๑ การปกครองส่ว นกลาง
     สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงจัดแบ่งขุนนางและ
ไพร่พลทั่วราชอาณาจักรใหม่ โดยแบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ
ฝ่ายพลเรือน และฝ่ายทหาร
     ในยามบ้านเมืองสงบสุข หน้าที่ของฝ่ายพลเรือนและ
ฝ่ายทหารจะแยกออกจากกัน เพื่อรับผิดชอบบริหารบ้านเมือง
ตามที่ได้รับมอบหมาย ให้มีประสิทธิภาพ แต่เมื่อยามเกิด
สงคราม ทัง ๒ ฝ่าย จะต้องรวมกำาลังกัน เพือต่อสูขาศึกศัตรู
           ้                                ่     ้ ้
และป้องกันประเทศ ให้มนคงปลอดภัย
                         ั่
     ฝ่า ยทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าบังคับบัญชา
ดูแลราชการฝ่ายทหาร               ทั่วราชอาณาจักร เพื่อ
เตรียมไพร่พลและกำาลังอาวุธไว้ให้พร้อมเพรียง สามารถสู้รบ
ในยามเกิดศึกสงครามได้
     ฝ่า ยพลเรือ น มีสมุหนายกเป็นหัวหน้าบังคับบัญชา
ดูแลราชการฝ่ายพลเรือน
2
                                                              8

โดยมีหน้าที่รับผิดชอบบริหารราชการแผ่นดินแตกต่างกันไป
ตามที่ทรงมอบหมาย ดังนี้

  ชื่อ หน่ว ยงาน              หน้า ที่ร ับ ผิด ชอบ
กรมเวียง            - ดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
นครบาล              และรักษาความสงบสุขของราษฎรในเขต
                    ราชธานี
กรมวัง              - ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับราชสำานัก งาน
ธรรมาธิกรณ์         ราชพิธี และพิพากษาคดีความของราษฎร
กรมคลัง             - ดูแลรายรับรายจ่ายและเก็บรักษาพระ
โกษาธิบดี           ราชทรัพย์ จัดเก็บอากรค่าธรรมเนียมต่างๆ
                    ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ
กรมนา               - ดูแลส่งเสริมให้ราษฎรทำานา ทำาไร่ เก็บ
เกษตราธิการ         ข้าวขึ้นฉางหลวง เพื่อใช้เป็นเสบียงในยาม
                    ศึกสงครามหรือยามเกิดข้าวยากหมากแพง

     ๒.๒ การปกครองหัว เมือ ง
     สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ
ในการปกครองส่วนภูมิภาคให้มลกษณะแบบเดียวกันกับส่วน
                                ี ั
กลาง และได้ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน ทัง ๔ ทิศ
                                                    ้
โดยแบ่งเขตการปกครองเป็น ๓ เขต ดังนี้
     ๑) หัว เมือ งชั้น ใน ได้แก่ เมืองที่อยูใกล้ราชธานี เช่น
                                            ่
ราชบุรี เพชรบุรี ชัยนาท ชลบุรี นครสวรรค์ สุพรรณบุรี
เป็นต้น เมืองเหล่านี้มีรากฐานะเป็นเมืองจัตวา พระมหา
กษัตริย์ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง ผู้ปกครองเมืองเรียก
ว่า ผู้รั้ง
     ๒) หัว เมือ งชัน นอก ได้แก่ เมืองทีอยูหางไกลจาก
                    ้                     ่ ่ ่
ราชธานีออกไปแบ่งออกเป็น ชันเอก โท ตรี ตามขนาดและ
                              ้
ความสำาคัญของแต่ละเมือง ดังต่อไปนี้
2
                                                       9

          - เมืองชันเอก เป็นเมืองใหญ่มประชากรมาก เช่น
                   ้                     ี
นครศรีธรรมราช พิษณุโลก
          - เมืองชั้นโท เป็นเมืองที่มีความสำาคัญรองลงมา
เช่น สุโขทัย กำาแพงเพชร
          - เมืองชั้นตรี เป็นเมืองขนาดเล็ก เช่น ไชยา
ชุมพร นครสวรรค์
     ๓) หัว เมือ งประเทศราช ได้แก่ เมืองขึ้นของกรุง
ศรีอยุธยา เช่น ปัตตานี มะละกา เชียงกราน ทวาย ผู้
ปกครองต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง
มาถวายกษัตริย์ที่กรุงศรีอยุธยา โดยมีกำาหนด ๓ ปีต่อหนึ่ง
ครั้ง และต้องส่งกองทัพมาช่วยสู้รบกับข้าศึกศัตรูเมื่อเมือง
หลวงเกิดมีศึกสงครามขึ้น วิธีการปกครองยังใช้วิธีเดียวกับ
สมัยอยุธยาตอนต้น
     ๒.๓ การปกครองส่ว นท้อ งถิ่น
     สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงแบ่งการปกครองส่วน
ท้องถินเป็นหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองดูแลได้ทั่วถึง
      ่
มากขึ้น โดยเริ่มจาก
          - หมู่บ้าน           ผู้ใหญ่บ้าน ดูแลปกครอง
          - ตำาบล              กำานัน       ดูแลปกครอง
          - แขวง               หมื่นแขวง ดูแลปกครอง
          - เมือง              เจ้าเมือง    ดูแลปกครอง
3
                                                               0




                    แผนผัง แสดงการปกครองในสมัย
ปฏิร ูป การปกครอง


                                              พระมหา
กษัตริย์


  การปกครองส่วนกลาง             การปกครองส่วนภูมิภาค
การปกครองส่วนท้องถิ่น


ฝ่ายพลเรือน   ฝ่ายทหาร
เมือง


                                    หัวเมืองชั้นใน     เมือง
ประเทศราช
                                              แขวง

 สมุหนายก      สมุหกลาโหม
                                               ตำาบล

จตุสดมภ์                 หัวเมืองชั้นนอก
3
                                                        1

                                            หมู่บ้าน
          นครบาล                   เมืองชั้นเอก

          ธรรมาธิกรณ์                    เมืองชั้นโท

          โกษาธิบดี                      เมืองชั้นตรี

        เกษตราธิการ
๓. สมัย อยุธ ยาตอนปลาย (พ.ศ. ๒๒๓๑ – พ.ศ. ๒๓๑๐)
       ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเพทราชาจนถึงสมัยสมเด็จ
พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ในสมัยพระเพทราชานั้น
เนื่องจากงานของสมุหนายกและสมุหกลาโหมซำ้าซ้อน
ก้าวก่ายกัน และทรงประสงค์จะป้องกันไม่ให้ขุนนางมี
อำานาจมากนัก จึงโปรดเกล้าฯให้รวมทหารกับพลเรือนเข้า
ด้วยกัน เพื่อลดอำานาจของสมุหกลาโหม ไม่ให้คุมกำาลัง
ทหารทั้งอาณาจักร ฝ่ายเดียว และยังเป็นการถ่วงดุลอำานาจ
ขุนนางด้วยกัน จึงเปลียนแปลง การจัดการปกครองใหม่
                         ่
ดังนี้
       ๑. ให้สมุหกลาโหม รับผิดชอบทั้งด้านทหารและ
พลเรือนปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ตั้งแต่เพชรบุรี ลงไป
       ๒. ให้สมุหนายกรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพลเรือน
ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือและดูแลจตุสดมภ์ในส่วนกลาง
       ๓. ให้เสนาบดีกรมคลังรับผิดชอบทั้งด้านทหารและ
พลเรือนปกครองหัวเมืองชายฝั่งตะวันออก ดูแลเกี่ยวกับราย
ได้ของแผ่นดิน และการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ
       การจัดระเบียบการปกครองสมัยอยุธยานี้มีการปรับปรุง
ใช้มาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ
ปกครองใหม่
3
                                                                          2




                กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๔
  เรื่อ ง พัฒ นาการอาณาจัก รอยุธ ยาทางด้า นการ
                       ปกครอง
                                      คะแนนเต็ม ๑๐
คะแนน

จุด ประสงค์ อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้าน
การเมืองการปกครองได้
คำา ชี้แ จง : แบ่งนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้ารูป
แบบการปกครองของกรุงศรีอยุธยากลุ่มละ ๑ สมัยโดยร่วม
กันวิเคราะห์ว่า มีแนวความคิดและลักษณะการปกครองเป็น
อย่างไร มีขอดีและข้อเสียอย่างไร บันทึกผล และสรุปผล
              ้
การทำากิจกรรม

                กลุ่ม ที่.............................................
ค้นคว้าเกี่ยวกับการปกครองของอยุธยาในสมัย
..........................
...........................................................................
3
                                                                         3

................................................................
...........................................................................
................................................................
...........................................................................
................................................................
...........................................................................
................................................................
ข้อดีของการปกครองแบบนี้ คือ
...........................................................................
................................................................
...........................................................................
................................................................
...........................................................................
................................................................
...........................................................................
................................................................
ข้อเสียของการปกครองแบบนี้
คือ........................................................................
...........................................................................
...........................................................................
....................................................................
...........................................................................
......................................................................
                                                          กิจ กรรมฝึก
ทัก ษะที่ ๕
    เรื่อ ง พัฒ นาการอาณาจัก รอยุธ ยาทางด้า นการ
                                ปกครอง
                                                       คะแนนเต็ม
3
                                                         4

๑๐ คะแนน

จุด ประสงค์ อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้าน
การเมืองการปกครองได้

คำา ชี้แ จง : ให้นักเรียนลากเส้นโยงข้อความที่มีความสัมพันธ์
กัน
๑. การปกครองส่วนกลาง             ก    กิจการพลเรือน
                                  .
๒. สมุหกลาโหม                    ข    กิจการทหาร
                                  .
๓. สมุหนายก                      ค    เมืองประเทศราช
                                  .
๔. จตุสดมภ์                      ง. สมุหนายกและสมุก
                                    ลาโหม
๕. เวียง                         จ. หัวเมืองชั้นนอก
๖. วัง                           ฉ เวียง วัง คลัง นา
                                  .
๗. คลัง                          ช ดูแลการทำาไร่นา
                                    รักษาเสบียงอาหาร
๘. นา                            ซ พิจารณาพิพากษา
                                    คดี
๙. เมืองที่อยูตามชายแดน
              ่                  ฌ รักษาความสงบ
                                    เรียบร้อย
                                    ของราษฎร
๑ เมืองพระยามหานคร               ญ เก็บภาษีอากร รักษา
๐.                                  ผลประโยชน์ของ
3
          5

แผ่นดิน

More Related Content

What's hot

บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอnewyawong
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 

What's hot (20)

บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอลิลิต พระลอ
ลิลิต พระลอ
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 

Similar to พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา

รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

Similar to พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา (20)

พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจพัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 

พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา

  • 1. พัฒ นาการของอาณาจัก รอยุธ ยา ผลการเรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการ การตั้งถิ่นฐานของรัฐ ไทย ในดินแดนประเทศไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ ๑. อธิบายถึงสาเหตุการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ได้ ๒. อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านการ ปกครองได้ ๓. เปรียบเทียบการปกครองของกรุงศรีอยุธยาทั้ง ๓ สมัยได้ ๔. อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้าน เศรษฐกิจได้ ๕. อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านสังคม และวัฒนธรรมได้ สาระการเรีย นรู้ ๑. การตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ๒. พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านการปกครอง ๓. พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านเศรษฐกิจ ๔. พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้านสังคมและ วัฒนธรรม
  • 2. 2 แบบทดสอบ ก่อ นเรีย น พัฒ นาการของอาณาจัก ร อยุธ ยา เวลา ๒๐ นาที ๒๐ คะแนน คำา สั่ง จงพิจารณาคำาถามต่อไปนี้ และเลือกคำาตอบที่ถูก ที่สุดเพียงข้อเดียว โดยใส่เครื่องหมาย X ลงในกระดาษคำาตอบที่ แจกให้ ๑. พระมหากษัตริย์ที่สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีคือ พระมหากษัตริย์พระองค์ใด ก. สมเด็จพระราเมศวร ข. สมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๑ ค. สมเด็จพระนครินทราธิราช ง. สมเด็จ พระบรมราชาธิบดีที่ ๑ ๒. แม่นำ้าสามสายที่ไหลผ่านกรุงศรีอยุธยา คือ แม่นำ้าใด ก. แม่นำ้าเจ้าพระยา ลพบุรี ป่าสัก ข. แม่นำ้า เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก ค. แม่นำ้าลพบุรี เจ้าพระยา ยม ง. แม่นำ้า เจ้าพระยา ท่าจีน ป่าสัก ๓. ข้อใด ไม่ใช่ สาเหตุสำาคัญ ที่พระเจ้าอู่ทองทรงเลือกทำาเล ที่ตั้ง ก. อยู่ใกล้ทะเล ข. ค้าขายกับ ต่างชาติได้สะดวก
  • 3. 3 ค. มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตร ง. ข้าศึก รุกรานได้ ๔. การปกครองในสมัยอยุธยาเป็นการปกครองแบบใด ก. สมบูรณาญาสิทธิราช ข. ประชาธิปไตย ค. ธรรมาธิปไตย ง. สังคมนิยม ๕. ธรรมะข้อใดที่เสริมให้พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ใช้ ปกครองไพร่ฟ้า ก. พรหมวิหาร ข. ราชธรรม ค. สังคหวัตถุ ง. ทศพิธราช ธรรม ๖. จตุสดมภ์ตำาแหน่งคลังนอกจากจะรับผิดชอบทางการเงิน แล้ว ยังทำาหน้าที่ใดอีก ก. ดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง ข. จัดการพระ ราชพิธี ค. การทูตกับต่างประเทศ ง. พิจารณาตัดสิน คดี ๗. พระมหากษัตริย์ในข้อใดที่ทรงปฏิรูปการปกครองใน สมัยอยุธยาตอนกลาง ก. สมเด็จพระเพทราชา ข. สมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ ค. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ง. สมเด็จ พระเจ้าปราสาททอง ๘. การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลก นาถเอื้อประโยชน์ต่อการ บริหารราชการแผ่นดินส่วนกลางอย่างไร ก. รวมเมืองหน้าด่านเข้ากับราชธานี ทำาให้มีอาณาเขต
  • 4. 4 การปกครองเพิ่มขึ้น ข. แบ่งหัวเมืองชั้นนอกออกเป็นชั้นเอก โท ตรี ทำาให้ สะดวกในการปกครอง ค. แยกฝ่ายทหารและพลเรือนออกจากกัน ทำาให้ ราชธานีบริหารงานได้ทั่วถึง ง. ให้เสนาบดีกรมคลังดูแลการติดต่อค้าขายกับต่าง ประเทศเพื่อดูแลใกล้ชิด ๙. สมัยอยุธยาตอนปลายสมเด็จพระเพทราชาทรงปรับปรุง การปกครองส่วนกลาง อย่างไร ก. สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ ข. สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ ค. สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ ง. สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองฝ่ายตะวันออก ๑๐. ข้อใดเรียงลำาดับการพัฒนา ๑. มีการปกครองแบบพลเรือนยามบ้านเมืองสงบ ปกครองแบบทหาร ยามบ้านเมืองมีศึกสงคราม ๒. แบ่งแยกฝ่ายทหารและพลเรือออกจากกันอย่างเห็น ได้ชัด ๓. สมุหนายกไปปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือสมุห กลาโหมไปปกครองหัวเมือง ฝ่ายใต้ จากข้อความข้างต้นข้อใดเรียงลำาดับการปกครอง สมัยอยุธยาตอนต้น ตอนกลางและตอนปลายได้ถูกต้อง ก. ๑ ๒ ๓ ข. ๑ ๓ ๒ ค. ๒ ๓ ๑ ง. ๓ ๒ ๑ ๑๑. ในสมัยอยุธยา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
  • 5. 5 ก. ค้าขาย ข. หัตถกรรม ค. รับราชการ ง. เกษตรกรรม ๑๒. ข้อใดเป็นผลผลิตทางหัตถกรรมที่สำาคัญที่นับเป็นสินค้า หลักที่สำาคัญของ การค้าในสมัยอยุธยา ก. เครื่องปั้นดินเผา เครื่องสังคโลก ข. เครื่อง จักสาน เครื่องประดับ ค. เครื่องใช้ทองเหลือง อาวุธ ง. มีด พร้า ขวาน ๑๓ . หน่วยใดเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การติดต่อค้าขายกับ ต่างประเทศ ก. พระคลังสินค้า ข. พระคลังข้างที่ ค. เสนาบดีกรมคลัง ง. ถูกทุกข้อ ๑๔. ข้อใดไม่ใช่สินค้าออกในสมัยอยุธยา ก. เครื่องเทศ นำ้าตาล ข. ไม้หอม ไม้ สัก ค. ไม้ฝาง สัตว์ป่า ง. ผ้าแพร ผ้าลาย ทอง ๑๕. ชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามาค้าขายกับอยุธยาคือชาติ ใด ก. อังกฤษ ข. สเปน ค. ฝรั่งเศส ง. โปรตุเกส ๑๖. สภาพสังคมในสมัยอยุธยาอยู่รวมกันเป็นระบบใด ก. ศักดินา ข. นาย กับบ่าว ค. เจ้าขุนมูลนาย ง. ประชาธิปไตย ๑๗. บุคคลระดับล่างสุดของสังคมไทยสมัยอยุธยาเรียกว่า
  • 6. 6 อะไร ก. ไพร่ ข. ขีข้า ้ ค. ทาส ง. ขุนนาง ๑๘. ข้อใดหมายถึงไพร่หลวง ก. ราษฎรที่เป็นชายฉกรรจ์และสังกัดมูลนาย ข. เด็กชายที่มีอายุตั้งแต่ ๗ ปีขึ้นไป ค. ราษฎรที่เป็นชายทุกระดับอายุ ง. ราษฎรชายหญิงทุกคน ๑๙. วรรณคดีเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา คือข้อใด ก. ลิลิตพระลอ ข. มหาชาติ คำาหลวง ค. พระมาลัยคำาหลวง ง. ลิลิต โองการแช่งนำ้า ๒๐. สังคมในสมัยอยุธยามีความสงบสุขเพราะปัจจัยในข้อ ใดเป็นสำาคัญ ก. พระพุทธศาสนา ข. ระบบ ศักดินา ค. จำานวนราษฎร ง. กฎหมาย นักเรียนต้อง มีความซื่อสัตย์ต่อ ตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนเป็น
  • 7. 7 อันขาด การตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี นักเรียนวันนี้ ครูร้องเพลงอยุธยาเมืองเก่า ให้นักเรียนฟัง นักเรียนฟังแล้วคิดตามด้วยนะ เพลงอยุธ ยา เมือ งเก่า อยุธยาเมืองเก่าของเราแต่ก่อน จิตใจอาวรณ์มาเล่าสู่ กันฟัง อยุธยาแต่ก่อนนี้ยัง เป็ นดั งเมื องทองของพี่ น้ อง เผ่ าพงศ์ ไทย เดี๋ ยวนี้ ซิ เป็ นเมื องเก่ า ชาวไทยแสนเศร้ า ถู กข้ าศึ กรุ กราน ชาวไทยทุ กคนหั วใจร้ าวราน ข้ าศึ ก เผาผลาญแหลกลาญวอดวาย เราชนชันหลังฟังแล้วเศร้าใจ อนุสรณ์เตือนให้ชาวไทยจงมัน ้ ่ สมัครสมานร่วมใจกันสามัคคี คงจะไม่มีใครกล้าราวีชาติ ไทย.
  • 8. 8 นักเรียนเนื้อหา เพลงอยุธยาเมืองเก่า กล่าวถึงเรื่อง อะไรคะ อยุธยาที่เคยรุ่งเรือง อยุธยาถูกศึก ทำาลายจน เสียหายเพราะความไม่สามัคคีของ คนในชาติครับ เก่งมาก ... และนักเรียนอยากรู้เกี่ยว กับประวัติ ความเป็นมาเรื่องการ ตั้งกรุงศรีอยุธยาไหม หนูอยากรู้ค่ะ ถ้าอยากรู้ ให้ศึกษา เนื้อหาการก่อตั้ง อาณาจักรอยุธยาหน้าต่อไปคะ การการตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี หลังสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัย ก็เริ่มเสื่อมอำานาจลงเป็นลำาดับ หัวเมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ภาย ใต้อำานาจการปกครองของสุโขทัย ต่างก็ประกาศตนเป็น อิสระ บริเวณลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยาตอนล่าง ในช่วงเวลาก่อน การก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาเคยเป็น บริเวณที่มีความเจริญมั่นคงเป็นปึกแผ่นมาก่อน เช่น แคว้น สุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) และแคว้นละโว้ (ลพบุรี)
  • 9. 9 ต่อมาในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พระเจ้าอู่ทอง ได้ เป็นผู้นำาในการรวมแคว้นสุพรรณภูมิ และแคว้นละโว้เข้า ด้วยกัน พร้อมกับสร้างกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี บริเวณ ที่ เรี ยกว่ า หนองโสน หรื อบึ งพระรามเมื่ อ พ.ศ. ๑๘๙๓ โดยพระราชทานนามเมื องว่ า “กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา” และพระองค์ก็เสด็จขึ้นครอง ราชย์เป็นต้นพระราชวงศ์อู่ทอง ทรงพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ภาพที่ ๑ สมเด็จ พระ รามาธิบ ดีท ี่ ๑ (พระเจ้า อู่ท อง ) ที่ม า : http://www1.tv5.co.th/.../king/ayuthaya/ayuthaya1. htm h สาเหตุท ี่พ ระเจ้า อู่ท องทรงเลือ กกรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี เพราะมีความเหมาะสมหลายประการดังนี้ ๑. บริเ วณดัง กล่า วมีแ ม่น ำ้า ๓ สายไหลผ่า น คือ ๑.๑ แม่น ำ้า เจ้า พระยา ไหลผ่านทางทิศตะวัน ตก และโอบไปทางใต้ ๑.๒ แม่น ำ้า ลพบุร ี ไหลมาจากทางทิศเหนือและ อ้อมไปบรรจบกันกับแม่นำ้าเจ้าพระยาทางตะวันตก ๑.๓ แม่น ำ้า ป่า สัก ไหลผ่านทางตะวันออกและ
  • 10. 1 0 อ้อมมาบรรจบกับแม่นำ้าเจ้ าพระยา ทางใต้ ของตั วเมื อง ทำา ให้ บริ เวณดั งกล่ าว เป็ นที่ ราบลุ่ มแม่ นำ้า ที่ อุ ดมสมบู รณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก ๒. ใช้ส ายนำ้า เป็น คูเ มือ งล้อ มรอบตามธรรมชาติ เหมาะแก่การป้องกันเมืองในยามที่ข้าศึกยกทัพมารุกราน ๓. มีค วามเหมาะสมด้า นยุท ธศาสตร์ กล่าวคือ เมื่อมีข้าศึกยกทัพมาตีข้าศึกจะสามารถตั้งค่ายล้อมเมืองได้ถึง ฤดูแล้งเท่านั้น เพราะเมื่อถึงฤดูนำ้าหลาก นำ้าจะหลากท่วม ขังบริเวณรอบตัวเมือง ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการที่ข้าศึกจะยก ทัพเข้าโจมตีและทำาให้ขาดแคลนเสบียงอาหาร ข้าศึกจึงต้อง ถอยทัพกลับไป ๔. เป็น ศูน ย์ก ลางคมนาคม เพราะตั้งอยู่ในเส้น ทางการค้าขาย ติดต่อกับหัวเมืองอื่น ๆ รวมทั้งสามารถติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศทางทะเลได้สะดวก เพราะตั้งอยู่ตรงที่ แม่นำ้าใหญ่หลายสายไหลมาบรรจบกัน รวมเป็นแม่นำ้า เจ้าพระยาไหลออกอ่าวไทย เรือเดินทะเล สามารถแล่นจาก ปากแม่นำ้าเข้ามาทอดสมอได้ถึงหน้าเมือง ทำาให้กรุง ศรีอยุธยาเป็นชุมชนทางการค้าขายที่สำาคัญ จากสภาพทำาเลทีตงของกรุงศรีอยุธยา ทีมความเหมาะสม ่ ั้ ่ ี ดังกล่าวทำาให้กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีอันยิ่งใหญ่ ของไทย มายาวนานตลอด ๔๑๗ ปี (พ.ศ. ๑๘๙๓ – พ.ศ. ๒๓๑๐) โดยเริ่มจากอาณาจักรเล็ก ๆ ขยายเป็นอาณาจักรที่มีความ ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์อย่างเห็น ได้ชัดทั้งทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และ ศิลปวัฒนธรรม ตลอดระยะเวลาอั นยาวนาน กรุ งศรี อยุ ธยาพ่ ายแพ้ แก่ พม่ า ๒ ครั้ ง คื อในรั ชกาล สมเด็จพระมหินทราธิราช (พ.ศ. ๒๑๑๒ ) และในสมัย
  • 11. 1 1 สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ หรือพระเจ้าเอกทัศน์ (พ.ศ. ๒๓๑๐) แต่ด้วยความสมัครสมาน สามัคคี และมานะบากบั่นของผู้นำาและราษฎร ทำาให้ ประชาชนชาวไทย สามารถกอบกู้เอกราชกลับคืนมาได้ ภาพที่ ๒ แผนผัง เมือ งอยุธ ยา ที่ม า : หนัง สือ เรีย นสัง คมศึก ษา ศาสนาและวัฒ นธรรม ป.๕ สถาบัน ทดสอบทาง วิช าการ(พ.ว) หน้า ๒๐๒ รายพระนามพระมหากษัต ริย ์แ ห่ง กรุง ศรีอ ยุธ ยา ตลอดระยะเวลา ๔๑๗ ปี ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ของไทย ได้มีพระมหากษัตริย์ปกครองสืบต่อเนื่องกันมารวม ทั้งสิ้น ๓๓ พระองค์ ใน ๕ ราชวงศ์ ดังนี้ ลำา ดั พระนาม ปีท ี่ค รอง ราชวงศ์ บที่ ราชย์ (พ.ศ) ๑ สมเด็จพระรามาธิบดี ๑๘๙๓ - อู่ทอง ที่ ๑ ๑๙๑๒ (พระเจ้าอู่ทอง) ๒ สมเด็จพระราเมศวร ๑๙๑๒ - อู่ทอง (ครั้งที่ ๑) ๑๙๑๓
  • 12. 1 2 ๓ สมเด็จพระบรม ๑๙๑๓ - สุพรรณภูมิ ราชาธิราชที่ ๑ ๑๙๓๑ (ขุนหลวงพะงั่ว) ๔ สมเด็จพระเจ้าทอง ๑๙๓๑ - สุพรรณภูมิ ลัน ๑๙๓๑ ๕ สมเด็จพระราเมศวร ๑๙๓๑ - อู่ทอง (ครั้งที่ ๒) ๑๙๓๘ ๖ สมเด็จพระราม ๑๙๓๘- ๑๙๕๒ อู่ทอง ราชาธิราช ๗ สมเด็จพระนครินท ๑๙๕๒ - สุพรรณภูมิ ราธิราช ๑๙๖๗ (เจ้านครอินทร์) ลำา ดั พระนาม ปีท ี่ค รอง ราชวงศ์ บที่ ราชย์ (พ.ศ) ๘ สมเด็จพระบรม ๑๙๖๗ - สุพรรณภูมิ ราชาธิราชที่ ๒ ๑๙๙๑ (เจ้าสามพระยา) ๙ สมเด็จพระบรม ๑๙๙๑ - สุพรรณภูมิ ไตรโลกนาถ ๒๐๓๑ ๑๐ สมเด็จพระบรม ๒๐๓๑ - สุพรรณภูมิ ราชาธิราชที่ ๓ ๒๐๓๔ (พระอินทราชา) ๑๑ สมเด็จพระรามาบดีที่ ๒๐๓๔ - สุพรรณภูมิ ๒ ๒๐๗๒ (พระเชษฐาธิราช) ๑๒ สมเด็จพระบรม ๒๐๗๒ - สุพรรณภูมิ ราชาธิราชที่ ๔ ๒๐๗๖
  • 13. 1 3 (หน่อพุทธางกูร) ๑๓ สมเด็จพระรัษฏาธิ ๒๐๗๖ - สุพรรณภูมิ กุมาร ๒๐๗๗ ๑๔ สมเด็จพระไชย ๒๐๗๗ - สุพรรณภูมิ ราชาธิราช ๒๐๘๙ ๑๕ สมเด็จพระยอดฟ้า ๒๐๘๙ - สุพรรณภูมิ ๒๐๙๑ ๑๖ สมเด็จพระมหาจักร ๒๐๙๑ - สุพรรณภูมิ พรรดิ ๒๑๑๑ ๑๗ สมเด็จพระมหินทราธิ ๒๑๑๑ - สุพรรณภูมิ ราช ๒๑๑๒ เสีย กรุง ศรีอ ยุธ ยา ครั้ง ที่ ๑ ๒๑๑๒ ๑๘ สมเด็จพระมหาธร ๒๑๑๒ - สุโขทัย รมาชาธิราช ๒๑๓๓ ๑๙ สมเด็จพระนเรศวร ๒๑๓๓ - สุโขทัย มหาราช ๒๑๔๘ ๒๐ สมเด็จพระเอกาทศ ๒๑๔๘ - สุโขทัย รถ ๒๑๕๓ ๒๑ สมเด็จพระศรี ๒๑๕๓ - สุโขทัย เสาวภาคย์ ๒๑๕๓ ๒๒ สมเด็จพระเจ้า ๒๑๕๓ - สุโขทัย ทรงธรรม ๒๑๗๑ ๒๓ สมเด็จพระเชษฐาธิ ๒๑๗๑ - สุโขทัย ราช ๒๑๗๒ ๒๔ ๒๑๗๒ - สุโขทัย พระอาทิตยวงศ์ ๒๑๗๒ ๒๕ สมเด็จพระเจ้า ๒๑๗๒ – ปราสาท
  • 14. 1 4 ปราสาททอง ๒๑๙๙ ทอง ลำาดั ปีที่ครองราชย์ ราชวงศ์ บที่ พระนาม (พ.ศ) ๒๖ สมเด็จพระเจ้าฟ้า ๒๑๙๙ - ปราสาท ไชย ๒๑๙๙ ทอง ๒๗ สมเด็จพระสุธรรม ๒๑๙๙ - ปราสาท ราชา ๒๑๙๙ ทอง ๒๘ สมเด็จพระนารายณ์ ๒๑๙๙ - ปราสาท มหาราช ๒๒๓๑ ทอง ๒๙ สมเด็จพระเพทราชา ๒๒๓๑ - บ้านพลู ๒๒๔๖ หลวง ๓๐ สมเด็จพระสรรเพชญ์ ๒๒๔๖ - บ้านพลู ที่ ๘ ๒๒๕๑ หลวง (พระเจ้าเสือ) ๓๑ สมเด็จพระสรรเพชญ์ ๒๒๕๑ - บ้านพลู ที่ ๙ ๒๒๗๕ หลวง (พระเจ้าท้ายสระ) ๓๒ สมเด็จพระเจ้าบรม ๒๕๒๑๙๙-๒๑ บ้านพลู โกศ ๙๙ หลวง ๓๓ สมเด็จพระเจ้า ๒๓๐๑ - บ้านพลู อุทมพร ุ ๒๓๐๑ หลวง ๓๔ สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ๒๓๐๑ – บ้านพลู ๒๓๑๐ หลวง เสีย กรุง ศรีอ ยุธ ยาครั้ง ที่ ๒ เมื่อ พ.ศ.๒๓๑๐
  • 15. 1 5 กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๑ เรื่อ ง การตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน จุด ประสงค์ อธิบายสาเหตุของการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานีได้ คำา ชี้แ จง : ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ ๔-๕ คน ให้แต่ละ กลุ่มร่วมกันร้องเพลง “อยุธยาเมืองเก่า” จากนั้น ตอบคำาถาม เพลง “อยุธ ยาเมือ งเก่า ” คำาร้อง – ทำานอง สุรินทร์ ปิยานันท์ อยุธยาเมืองเก่าของเราแต่ก่อน จิตใจ อาวรณ์มาเล่าสู่กันฟัง อยุธยาแต่ก่อนนี้ ยัง เป็นดัง เมืองทองของพี่น้องเผ่าพงศ์ไทย เดี๋ยวนี้ซิเป็นเมือง เก่า ชาวไทยแสน เศร้าถูกข้าศึกรุกราน ชาว ไทยทุกคนหัวใจร้าวราน ข้าศึกเผา ผลาญแหลกราญวอดวาย
  • 16. 1 6 เราชนชั้นหลังฟังแล้วเศร้าใจ อนุสรณ์ เตือนให้ชาวไทยคงมั่น สมัครสมานร่วมใจกันสามัคคี คงจะไม่มี ใครกล้าราวีชาติไทย ************************** ๑. เนื้อเพลงนี้มีใจความสำาคัญว่าอย่างไร ...................................................................... ...................................................................... ๒. สิ่งที่ผู้แต่งเพลงนี้ต้องการให้คนไทยทำา คือสิ่งใด ...................................................................... ...................................................................... ๓. คำาว่า “อนุสรณ์” ที่กล่าวถึงในเนื้อเพลงหมายถึงอะไร ...................................................................... ...................................................................... ๔. เมื่อร้องเพลงนี้แล้ว นักเรียนรู้สึกอย่างไร ...................................................................... ...................................................................... กิจ กรรมที่ฝ ึก ทัก ษะที่ ๒ เรื่อ ง การตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยา เป็น ราชธานี คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน จุด ประสงค์ อธิบายสาเหตุของการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานีได้ คำาชีแ จง : แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุม ให้นกเรียนศึกษา ้ ่ ั การสถาปนากรุงศรีอยุธยาในด้านต่างๆ ได้แก่ ผูก่อตัง ้ ้ อาณาจักรอยุธยา ทำาเลทีตังของกรุงศรีอยุธยา และพระมหา ่ ้
  • 17. 1 7 กษัตริยแห่งกรุงศรีอยุธยา กลุ่มละ 1 ด้าน วิเคราะห์และสรุป ์ เหตุการณ์สำาคัญ แล้วนำาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน ด้า น ..................................................... สรุป เหตุก ารณ์ส ำา คัญ ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... ..................................................................... ........................................................................... .....................................................................
  • 18. 1 8 กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๓ เรื่อ ง การตั้ง กรุง ศรีอ ยุธ ยาเป็น ราชธานี คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน จุด ประสงค์ อธิบายสาเหตุของการตั้งกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานีได้ คำา ชี้แ จง : เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูก เขียน เครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด ...... ๑. สมเด็จพระราชาธิบดีที่ ๑ ทรงเป็นผู้สถาปนากรุง ... ศรีอยุธยาเป็นราชธานี ...... ๒. กรุงศรีอยุธยา มีชื่อเต็มว่า “กรุงเทพทวารวดี ... ศรีอยุธยา” ...... ๓. กรุงศรีอยุธยามีที่ตั้งที่เหมาะสม เนื่องจากมีแม่นำ้า ... สำาคัญไหลผ่านถึง ๓ สาย ...... ๔. แม่นำ้าสำาคัญที่ไหลผ่านกรุงศรีอยุธยา คือ แม่นำ้า ... ลพบุรี แม่นำ้าป่าสัก และ แม่นำ้าท่าจีน ...... ๕. แม่นำ้าเจ้าพระยา ไหลจากทิศตะวันออกอ้อมไป ... ทางทิศใต้ ...... ๖. กรุงศรีอยุธยามีลักษณะเป็นเกาะที่มีสัณฐานคล้าย ... เรือสำาเภาคนทั่วไป เรียกว่า “เกาะเมือง” ...... ๗ กรุงศรีอยุธยามีทำาเลทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับ ... . การเป็นราชธานี เพราะ เป็นที่ที่มีความอุดมสม
  • 19. 1 9 บรูณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก ...... ๘. กรุงศรีอยุธยาเป็นชุมชนทางการค้าขายที่สำาคัญ ... เพราะ เรือเดินทะเล สามารถแล่นจากปากแม่นำ้า เข้ามาทอดสมอได้ถึงหน้าเมือง ...... ๙. มีความเหมาะสมด้านยุทธศาสตร์ กล่าวคือ เมื่อมี ... ข้าศึกยกทัพมาตีข้าศึกจะ สามารถตั้งค่ายล้อมเมืองได้ถึงฤดูแล้งเท่านั้น ...... ๑ พระมหากษัตริย์องค์แรกและองค์สุดท้ายของกรุง ... ๐. ศรีอยุธยา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีที่ ๑ และสมเด็จพระเจ้าเอก ทัศ พัฒ นาการ อาณาจัก รอยุธ ยาทางด้า นการปกครอง นักเรียน รู้จักพระมหากษัตริย์ที่ปกครอง กรุงศรีอยุธยาพระองค์ ใดบ้าง ผมรู้จักสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ครับ หนูรู้จักสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถค่ะ
  • 20. 2 0 หนูรู้จักสมเด็จพระเพทราชาค่ะ นักเรียนคะ ในสมัย พระมหากษัตริย์ที่นักเรียนรู้จัก มีการปกครอง อย่างไรบ้าง ศึกษา ได้จากเอกสาร ประกอบการเรียน หน้าต่อไป พัฒ นาการอาณาจัก ร อยุธ ยาทางด้า นการปกครอง อาณาจักรอยุธยามีสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น สถาบันหลักในการปกครอง เรียก การปกครองแบบนี้ว่า “การปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์” มีลักษณะสำาคัญ คือ ๑. พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าชีวิต คือ มีอำานาจเหนือทุก คนในราชอาณาจักร ๒. พระมหากษั ตริ ย์ เป็ นเจ้ าแผ่ นดิ น คื อ ทรงเป็ น เจ้ าของแผ่ นดิ นทั้ งราชอาณาจั กร ๓. พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะเป็นสมมติเทพ ที่ เคารพ
  • 21. 2 1 สูงสุด เหมือนเป็นเทพเจ้ า ประทับในพระราชวัง ซึงเป็นเขตศักดิสทธิ์ มีพธการต่าง ๆ ่ ์ ิ ิ ี ประชาชนทุกคนต้องหมอบ คลานเข้าเฝ้า และต้องใช้ราชาศัพท์กับพระองค์ แม้ว่าพระมหากษัตริย์ ในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ จะมีอำานาจล้นพ้น แต่พระมหา กษัตริย์ก็ทรงมีความเมตตาต่อประชาชนของพระองค์ โดย ทรงยึดหลักธรรม ของ พุ ทธศาสนา คื อ หลั กทศพิ ธราชธรรม, หลั กจั กรวรรดิ วั ตรและหลั กราชสั งคหวั ตถุ มา ประพฤติปฏิบัติในการดูแลปกครองบ้านเมืองให้อยู่เย็น เป็นสุข การปกครองสมัย อยุธ ยา การปกครองกรุงศรีอยุธยา ตลอดระยะเวลาแห่งการ เป็นราชธานี อันยาวนาน มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ ปกครองแตกต่างกัน แต่ละยุคแต่ละสมัย ซึงสามารถแบ่ง ่ รูปแบบการปกครองได้เป็น ๓ สมัย ดังนี้ สมัย ของ ระยะ พระมหา การ เวลา(พ กษัต ริย ์ ตรงกับ รัช สมัย ปกครอง .ศ.) ที่ ปกครอง อยุธยา สมัยสมเด็จพระ ๙๘ ปี ๗ ตอนต้น รามาธิบดีที่ ๑ จนถึง (๑๘๙๓ พระองค์ สมัยสมเด็จพระบรม -๑๙๙๑ ราชาธิราชที่ ๒ )
  • 22. 2 2 สมัย ของ ระยะ พระมหา การ เวลา(พ กษัต ริย ์ ตรงกับ รัช สมัย ปกครอง .ศ.) ที่ ปกครอง อยุธยา สมัยสมเด็จพระบรม ๒๔๐ ปี ๒๐ สมัยปฎิ ไตรโลกนาถ (๑๙๙๑ พระองค์ รูป จนถึง -๒๒๓๑) การ สมัยสมเด็จพระ ปกครอง นารายณ์มหาราช อยุธยา สมัยสมเด็จพระเพท ๗๙ ปี ๖ พระองค์ ตอน ราชา (๒๒๓๑- ปลาย จนถึง ๒๓๑๐) สมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริ ยาศน์อมรินทร์ ๑. สมัย อยุธ ยาตอนต้น (พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๑๙๙๑) ในสมัยนีเป็นสมัยของการวางรากฐาน อำานาจทางการเมือง ้ การปกครอง รวมทังเสริมสร้างความมั่นคงของอาณาจักร ซึง ้ ่ ยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวางมากนัก พระเจ้าอู่ทองทรงวาง รากฐานไว้ดังนี้ ๑.๑ การปกครองส่ว นกลาง (ราชธานี) พระมหากษัตริยทรงแบ่งการปกครองเป็น ๔ ส่วน เรียก ์ ว่า “จตุสดมภ์” ในแต่ละส่วน มีอำานาจหน้าที่ ดังนี้ ๑) กรมเวีย ง ( กรมเมือง ) มีหน้าทีดแลความสงบ ่ ู เรียบร้อยของราษฎรทัวราชอาณาจักร เช่น ปราบปรามโจร ่ ผูรายนำาตัวผูทำาผิดมาลงโทษ มีเสนาบดีตำาแหน่งขุน เวีย ง ้ ้ ้ หรือ ขุน เมือ ง เป็นผู้รับผิดชอบ
  • 23. 2 3 ๒) กรมวัง มีหน้าทีจดระเบียบเกียวกับราชสำานัก จัดงาน ่ ั ่ พระราชพิธตาง ๆ พิพากษาคดีความของราษฎร มีเสนาบดี ี ่ ตำาแหน่ง ขุน วัง เป็นผู้รับผิดชอบ ๓) กรมคลัง มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากร จัดหารายได้ เพื่อใช้ในการบำารุงราชอาณาจักร รับผิดชอบด้านการเงิน และการต่างประเทศ แต่งสำาเภาหลวง ออกค้าขายกับต่าง ประเทศ มีเสนาบดีตำาแหน่ง ขุน คลัง เป็นผู้รับผิดชอบ ๔) กรมนา มีหน้าที่ ดูแลเกียวกับการทำามาหากินของ ่ ราษฎร เช่น การทำานา ทำาสวน ทำาไร่ และจัดเตรียม เสบียงอาหาร ไว้ใช้ในยามศึกสงคราม มีเสนาบดีตำาแหน่ง ขุน นา เป็นผู้รับผิดชอบ ๑.๒ การปกครองหัว เมือ ง เป็นการปกครองหัวเมืองทีอยูนอกเขตราชธานี ซึงมีการ ่ ่ ่ แบ่งเมืองเป็นระดับชัน โดยมีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลาง ้ การปกครองแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คือ ๑) เมือ งหน้า ด่า น (เมืองลูกหลวง) เป็นหัวเมือง ที่อยู่รายรอบราชธานี และมีระยะทางไปมาถึงราชธานีได้ ภายใน ๒ วัน มีความสำาคัญในการป้องกันข้าศึกไม่ให้โจมตี ถึงราชธานีได้ง่าย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งพระราชโอรส หรือเจ้านายชั้นสูงไปปกครองแทนพระองค์ เพื่อเป็นการแบ่ง เบาพระราชภาระด้านการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้นมีเมือง หน้าด่าน ดังนี้ ลพบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา นครนายก
  • 24. 2 4 พระประแดง แผนภูม ิแ สดงเมือ งหน้า ด่า นทั้ง ๔ ทิศ ในสมัย อยุธ ยาตอนต้น ๒) หัว เมือ งชัน ใน เป็นหัวเมืองทีถดออกจากเมืองหน้า ้ ่ ั ด่านออกไปอีก เป็นเมืองรายรอบตามระยะทางคมนาคม อยูไม่ ่ ไกลจากราชธานี สามารถติดต่อถึงกันได้สะดวก หัวเมืองชัน ้ ในมีความสำาคัญ คือ ในยามศึกสงครามจะนำากำาลังทหารมา สมทบ พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งเจ้าเมือง กรมการเมือง และ คณะกรรมการเมืองไปปกครองโดยขึ้นตรงต่อราชธานี หัว เมืองชั้นในที่สำาคัญ มีดังนี้ ทิศเหนือ เมืองพรหมบุรี อินทร์บุรี สิงห์บุรี ทิศใต้ เมืองเพชรบุรี ทิศตะวันออก เมืองปราจีนบุรี ทิศตะวันตก เมืองราชบุรี ๓) หัว เมือ งชั้น นอก (เมืองพระยามหานคร) เป็นหัว เมืองทีมีขนาดใหญ่ อยู่ห่างจากราชธานีออกไปตามทิศทาง ่ ต่าง ๆ หัวเมืองชั้นนอกจะเป็นเมืองที่คอยปกป้องดูแล อาณาเขต ที่ตั้งอยู่ มีเจ้าเมืองเป็นที่ปกครองสืบทอดกันมา แต่ในบาง ครั้งเพื่อความมั่นคงของราชธานี พระมหากษัตริยจะทรงแต่ง ์ ตังขุนนางจากกรุงศรีอยุธยาไปปกครอง หัวเมืองชันนอกที่ ้ ้ สำาคัญ มีดงนี้ ั
  • 25. 2 5 ทิศเหนือ เมืองพิษณุโลก ทิศใต้ เมืองไชยา เมือง นครศรีธรรมราช เมืองพัทลุง ทิิศตะวันออก เมืองนครราชสีมา เมืองจันทบุรี ทิศตะวันตก เมืองตะนาวศรี เมืองทวาย ๔) หัว เมือ งประเทศราช เป็นเมืองที่อยู่ไกลนอกพระ ราชอาณาเขต มีการปกครองอิสระแก่ตนเอง ชาวเมือง เป็นชาวต่างชาติเมืองเหล่านี้มีรูปแบบการปกครองตาม วัฒนธรรมเดิมของตน เจ้านายพื้นเมืองมีสิทธิ์ขาดในการ ปกครองดินแดนของตน แต่ต้องแสดงตนว่ายอมอ่อนน้อม หรือเป็นเมืองประเทศราช โดยการส่งเครืองราชบรรณาการมา ่ ถวายตามกำาหนด เป็นการแสดงความจงรักภักดีเมื่อเกิดศึก สงคราม จะส่งกำาลังและเสบียงอาหารมาสมทบกับฝ่ายไทย เมืองประเทศราชในสมัยนี้ ได้แก่ เขมร มอญ และมะละกา เป็นต้น แผนผัง แสดงการปกครองในสมัย อยุธ ยาตอนต้น พระมหากษัตริย์ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วน ภูมิภาค
  • 26. 2 6 จตุสดมภ์ นา คลัง ขุนนา หัวเมือง ประเทศรา ช วัง ขุนคลัง หัวเมืองชั้นนอก เจ้านายพื้นเมือง เวียง ขุนวัง หัวเมืองชั้นใน เจ้าเมืองที่ สืบ ขุนเวียง เชื้อสาย หรือ เมืองหน้าด่าน ขุนนาง ขุนนางที่แต่งตั้ง พระราชโอรส พระราชวงศ์ที่ ใกล้ชิด ๒. สมัย อยุธ ยาตอนกลาง (พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๒๓๑) สมัยนี้เป็นสมัยที่อาณาจักรอยุธยา มีความมั่นคงเป็น ปึกแผ่น และเริ่มเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ มีอำานาจทางการ เมืองการปกครองเจริญรุ่งเรืองสูงสุด รวมทั้งสภาพทาง เศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรือง มีการติดต่อทางการค้ากับต่างชาติ ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีการจัด
  • 27. 2 7 ระเบียบการปกครอง เพิ่มเติมจากเดิมเพื่อให้เหมาะสมกับ สภาพของอาณาจักรอยุธยาในขณะนั้น สาเหตุที่ทำาให้สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถปฏิรูปการ ปกครองอาณาจักอยุธยา มีดังนี้ ๑. สืบเนื่องจากการที่อยุธยา ได้ขยายดินแดนออก ไปกว้างขวางและได้รวมเอาดินแดนของอาณาจักรสุโขทัย เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร จึงจำาเป็นต้องขยาย อำานาจและการปกครองออกไป ให้ควบคุมดินแดนทั้งหมด ๒. เกิดปัญหาเรืองความมันคงของอาณาจักร จาก ่ ่ การทีเมืองหน้าด่านมีกองกำาลังป้องกันเมืองจึงมีอำานาจมาก ่ ทำาให้เกิดการชิงราชสมบัติอยู่บ่อยครั้ง ๓. ทรงต้องการปรับปรุงระเบียบการปกครองทีมแต่่ ี เดิม เพือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในขณะนั้น ่ ๒.๑ การปกครองส่ว นกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงจัดแบ่งขุนนางและ ไพร่พลทั่วราชอาณาจักรใหม่ โดยแบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายพลเรือน และฝ่ายทหาร ในยามบ้านเมืองสงบสุข หน้าที่ของฝ่ายพลเรือนและ ฝ่ายทหารจะแยกออกจากกัน เพื่อรับผิดชอบบริหารบ้านเมือง ตามที่ได้รับมอบหมาย ให้มีประสิทธิภาพ แต่เมื่อยามเกิด สงคราม ทัง ๒ ฝ่าย จะต้องรวมกำาลังกัน เพือต่อสูขาศึกศัตรู ้ ่ ้ ้ และป้องกันประเทศ ให้มนคงปลอดภัย ั่ ฝ่า ยทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้าบังคับบัญชา ดูแลราชการฝ่ายทหาร ทั่วราชอาณาจักร เพื่อ เตรียมไพร่พลและกำาลังอาวุธไว้ให้พร้อมเพรียง สามารถสู้รบ ในยามเกิดศึกสงครามได้ ฝ่า ยพลเรือ น มีสมุหนายกเป็นหัวหน้าบังคับบัญชา ดูแลราชการฝ่ายพลเรือน
  • 28. 2 8 โดยมีหน้าที่รับผิดชอบบริหารราชการแผ่นดินแตกต่างกันไป ตามที่ทรงมอบหมาย ดังนี้ ชื่อ หน่ว ยงาน หน้า ที่ร ับ ผิด ชอบ กรมเวียง - ดูแลความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง นครบาล และรักษาความสงบสุขของราษฎรในเขต ราชธานี กรมวัง - ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับราชสำานัก งาน ธรรมาธิกรณ์ ราชพิธี และพิพากษาคดีความของราษฎร กรมคลัง - ดูแลรายรับรายจ่ายและเก็บรักษาพระ โกษาธิบดี ราชทรัพย์ จัดเก็บอากรค่าธรรมเนียมต่างๆ ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ กรมนา - ดูแลส่งเสริมให้ราษฎรทำานา ทำาไร่ เก็บ เกษตราธิการ ข้าวขึ้นฉางหลวง เพื่อใช้เป็นเสบียงในยาม ศึกสงครามหรือยามเกิดข้าวยากหมากแพง ๒.๒ การปกครองหัว เมือ ง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ในการปกครองส่วนภูมิภาคให้มลกษณะแบบเดียวกันกับส่วน ี ั กลาง และได้ยกเลิกเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่าน ทัง ๔ ทิศ ้ โดยแบ่งเขตการปกครองเป็น ๓ เขต ดังนี้ ๑) หัว เมือ งชั้น ใน ได้แก่ เมืองที่อยูใกล้ราชธานี เช่น ่ ราชบุรี เพชรบุรี ชัยนาท ชลบุรี นครสวรรค์ สุพรรณบุรี เป็นต้น เมืองเหล่านี้มีรากฐานะเป็นเมืองจัตวา พระมหา กษัตริย์ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง ผู้ปกครองเมืองเรียก ว่า ผู้รั้ง ๒) หัว เมือ งชัน นอก ได้แก่ เมืองทีอยูหางไกลจาก ้ ่ ่ ่ ราชธานีออกไปแบ่งออกเป็น ชันเอก โท ตรี ตามขนาดและ ้ ความสำาคัญของแต่ละเมือง ดังต่อไปนี้
  • 29. 2 9 - เมืองชันเอก เป็นเมืองใหญ่มประชากรมาก เช่น ้ ี นครศรีธรรมราช พิษณุโลก - เมืองชั้นโท เป็นเมืองที่มีความสำาคัญรองลงมา เช่น สุโขทัย กำาแพงเพชร - เมืองชั้นตรี เป็นเมืองขนาดเล็ก เช่น ไชยา ชุมพร นครสวรรค์ ๓) หัว เมือ งประเทศราช ได้แก่ เมืองขึ้นของกรุง ศรีอยุธยา เช่น ปัตตานี มะละกา เชียงกราน ทวาย ผู้ ปกครองต้องส่งเครื่องราชบรรณาการ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง มาถวายกษัตริย์ที่กรุงศรีอยุธยา โดยมีกำาหนด ๓ ปีต่อหนึ่ง ครั้ง และต้องส่งกองทัพมาช่วยสู้รบกับข้าศึกศัตรูเมื่อเมือง หลวงเกิดมีศึกสงครามขึ้น วิธีการปกครองยังใช้วิธีเดียวกับ สมัยอยุธยาตอนต้น ๒.๓ การปกครองส่ว นท้อ งถิ่น สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงแบ่งการปกครองส่วน ท้องถินเป็นหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปกครองดูแลได้ทั่วถึง ่ มากขึ้น โดยเริ่มจาก - หมู่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน ดูแลปกครอง - ตำาบล กำานัน ดูแลปกครอง - แขวง หมื่นแขวง ดูแลปกครอง - เมือง เจ้าเมือง ดูแลปกครอง
  • 30. 3 0 แผนผัง แสดงการปกครองในสมัย ปฏิร ูป การปกครอง พระมหา กษัตริย์ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองส่วนท้องถิ่น ฝ่ายพลเรือน ฝ่ายทหาร เมือง หัวเมืองชั้นใน เมือง ประเทศราช แขวง สมุหนายก สมุหกลาโหม ตำาบล จตุสดมภ์ หัวเมืองชั้นนอก
  • 31. 3 1 หมู่บ้าน นครบาล เมืองชั้นเอก ธรรมาธิกรณ์ เมืองชั้นโท โกษาธิบดี เมืองชั้นตรี เกษตราธิการ ๓. สมัย อยุธ ยาตอนปลาย (พ.ศ. ๒๒๓๑ – พ.ศ. ๒๓๑๐) ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเพทราชาจนถึงสมัยสมเด็จ พระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ในสมัยพระเพทราชานั้น เนื่องจากงานของสมุหนายกและสมุหกลาโหมซำ้าซ้อน ก้าวก่ายกัน และทรงประสงค์จะป้องกันไม่ให้ขุนนางมี อำานาจมากนัก จึงโปรดเกล้าฯให้รวมทหารกับพลเรือนเข้า ด้วยกัน เพื่อลดอำานาจของสมุหกลาโหม ไม่ให้คุมกำาลัง ทหารทั้งอาณาจักร ฝ่ายเดียว และยังเป็นการถ่วงดุลอำานาจ ขุนนางด้วยกัน จึงเปลียนแปลง การจัดการปกครองใหม่ ่ ดังนี้ ๑. ให้สมุหกลาโหม รับผิดชอบทั้งด้านทหารและ พลเรือนปกครองหัวเมืองฝ่ายใต้ตั้งแต่เพชรบุรี ลงไป ๒. ให้สมุหนายกรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพลเรือน ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือและดูแลจตุสดมภ์ในส่วนกลาง ๓. ให้เสนาบดีกรมคลังรับผิดชอบทั้งด้านทหารและ พลเรือนปกครองหัวเมืองชายฝั่งตะวันออก ดูแลเกี่ยวกับราย ได้ของแผ่นดิน และการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ การจัดระเบียบการปกครองสมัยอยุธยานี้มีการปรับปรุง ใช้มาจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ ปกครองใหม่
  • 32. 3 2 กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๔ เรื่อ ง พัฒ นาการอาณาจัก รอยุธ ยาทางด้า นการ ปกครอง คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน จุด ประสงค์ อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้าน การเมืองการปกครองได้ คำา ชี้แ จง : แบ่งนักเรียนเป็น ๓ กลุ่ม ศึกษาค้นคว้ารูป แบบการปกครองของกรุงศรีอยุธยากลุ่มละ ๑ สมัยโดยร่วม กันวิเคราะห์ว่า มีแนวความคิดและลักษณะการปกครองเป็น อย่างไร มีขอดีและข้อเสียอย่างไร บันทึกผล และสรุปผล ้ การทำากิจกรรม กลุ่ม ที่............................................. ค้นคว้าเกี่ยวกับการปกครองของอยุธยาในสมัย .......................... ...........................................................................
  • 33. 3 3 ................................................................ ........................................................................... ................................................................ ........................................................................... ................................................................ ........................................................................... ................................................................ ข้อดีของการปกครองแบบนี้ คือ ........................................................................... ................................................................ ........................................................................... ................................................................ ........................................................................... ................................................................ ........................................................................... ................................................................ ข้อเสียของการปกครองแบบนี้ คือ........................................................................ ........................................................................... ........................................................................... .................................................................... ........................................................................... ...................................................................... กิจ กรรมฝึก ทัก ษะที่ ๕ เรื่อ ง พัฒ นาการอาณาจัก รอยุธ ยาทางด้า นการ ปกครอง คะแนนเต็ม
  • 34. 3 4 ๑๐ คะแนน จุด ประสงค์ อธิบายพัฒนาการอาณาจักรอยุธยาทางด้าน การเมืองการปกครองได้ คำา ชี้แ จง : ให้นักเรียนลากเส้นโยงข้อความที่มีความสัมพันธ์ กัน ๑. การปกครองส่วนกลาง ก กิจการพลเรือน . ๒. สมุหกลาโหม ข กิจการทหาร . ๓. สมุหนายก ค เมืองประเทศราช . ๔. จตุสดมภ์ ง. สมุหนายกและสมุก ลาโหม ๕. เวียง จ. หัวเมืองชั้นนอก ๖. วัง ฉ เวียง วัง คลัง นา . ๗. คลัง ช ดูแลการทำาไร่นา รักษาเสบียงอาหาร ๘. นา ซ พิจารณาพิพากษา คดี ๙. เมืองที่อยูตามชายแดน ่ ฌ รักษาความสงบ เรียบร้อย ของราษฎร ๑ เมืองพระยามหานคร ญ เก็บภาษีอากร รักษา ๐. ผลประโยชน์ของ
  • 35. 3 5 แผ่นดิน