SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้
ดร.สิรินาถ จงกลกลาง
การเปลี่ยนพฤติกรรม เนื่องจากประสบการณ์
(Harris)
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลเป็ นปฏิสัมพันธ์
จากสิ่งแวดล้อม (Burton , 1963)
กระบวนการเพิ่มพูน/ปรับแต่งศักยภาพของพฤติกรรม
ที่ค่อนข้างถาวร (Donald Clarh, 2005)
การมีความรู้ความสามารถ ทักษะและความประพฤติชอบ
ของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่ครูจัด (พิมพ์พันธ์, 2548)
การเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนทัศนคติ แนวคิด พฤติกรรม เนื่องจากได้รับ
ประสบการณ์ซึ่งควรปรับเปลี่ยนในทางที่ดีขึ้น (สกศ. , 2542)
ความหมาย
ความสาคัญของการเรียนรู้
4
1 ต่อการมีชีวิตรอด ได้แก่ เรียนรู้การแสวงหา
อาหาร น้า เป็ นต้น
2 ต่อการปรับตัว ช่วยให้บุคคลสามารถเลือก
วิธีการปรับตัวมาใช้ได้
3 ช่วยให้บุคคลไม่ตกเป็ นเครื่องมือของบุคคลอื่น
ต่อการเกษตร อุตสาหกรรม
คนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
ต่อ บุคคล และ สังคม ดังนี้
(วรรณี ลิมอักษร ,2546:55)
ลักษณะการเรียนรู้
1 ลักษณะที่เปลี่ยนไปจากเดิม
ไม่เข้าใจ --> เข้าใจ , ทาไม่เป็ น --> ทาเป็ น
ทาไม่ดี --> ทาดี
2 ค่อนข้างถาวร เช่น ขับรถยนต์ได้
(ไม่ถาวร เช่น ความเจ็บป่ วย การถูกบังคับ)
3 ประสบการณ์ เป็ นปัจจัยหลักที่ทาให้เปลี่ยนพฤติกรรม
(เปลี่ยนเพราะวุฒิภาวะ ความเคยชิน
ไม่เป็ นการเรียนรู้)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เกิดการเรียนรู้พิจาณาจาก
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)2
องค์ประกอบ
ของการเรียนรู้
Bloom
Taxonomy
1 ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
3 ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
Cognitive Domain
ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด เกี่ยวข้องกับความสามารถ
ทางสติปัญญาจากง่ายไปสู่สิ่งที่ซับซ้อน, จากรูปธรรม --> นามธรรม
แบ่งเป็ น 6 ขั้น
ความรู้ ความจา
(Knowledge)
“จดจา ระลึกถึงสิ่งของ
เรื่องราว กระบวนการ หรือ
หลักการ ตามเนื้อหาที่ได้รู้
หรือมีประสบการณ์”
1 2
เข้าใจ
(Comprehension)
“แปลความหมาย
ตีความหมาย ขยายความ
ข้อมูลข่าวสาร แนวคิด
ในรูปแบบอื่น”
Cognitive Domain
ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด เกี่ยวข้องกับความสามารถ
ทางสติปัญญาจากง่ายไปสู่สิ่งที่ซับซ้อน, จากรูปธรรม --> นามธรรม
แบ่งเป็ น 6 ขั้น
3
การนาไปใช้
(Application)
“เลือกใช้กฎ หลักการ
หรือกระบวนการ
สาหรับแก้ปัญหาต่าง”
4
การวิเคราะห์ (Analysis)
“แยกแยะส่วนประกอบ
ความสัมพันธ์ หรือหลักการ
แยกออกจากกันเป็ น
ส่วนประกอบย่อยๆ
จนเห็นความสัมพันธ์
อย่างชัดเจน”
Cognitive Domain
ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด เกี่ยวข้องกับความสามารถ
ทางสติปัญญาจากง่ายไปสู่สิ่งที่ซับซ้อน, จากรูปธรรม --> นามธรรม
แบ่งเป็ น 6 ขั้น
6
การประเมินผล
(Evaluation)
“ตัดสินคุณค่าของสิ่งของ
กระบวนการ ผลผลิต หรือ
แนวคิด โดยใช้หลักการ
แห่งเหตุผลภายใน หรือ
เกณฑ์มาตรฐานมาใช้
ในการตัดสิน”
การสังเคราะห์
(Synthesis)
“จัดรวมส่วนประกอบย่อยๆ
ข้อความ แผนงาน หรือ
หลักการ เข้าด้วยกัน
เป็ นรูปแบบ โครงสร้าง หรือ
แนวคิดใหม่ที่มีความหมาย”
5
Psychomotor Domain
“ทักษะ ความชานาญ
ของการปฏิบัติ
เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ
ของร่างกาย”
แบ่งจากง่ายไปถึงซับซ้อน
ได้ 7 ขั้นตอน
1 การรับรู้ของระบบประสาท และกล้ามเนื้อ
2 ความพร้อมในการปฏิบัติ
3 การปฏิบัติตามข้อแนะนา
4 การปฏิบัติจนเป็ นนิสัย
5 การปฏิบัติที่ซับซ้อน
6 การปรับเปลี่ยนถาวร
7 การสร้างปฏิบัติการใหม่
Affective Domain
อารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งเกี่ยวกับค่านิยม คุณธรรม
จริยธรรม เจตคติ แบ่งจากระดับต่าไปสูง เป็ น 5 ระดับ
การรับรู้ (Receive)
การตอบสนอง (Respond)
การเห็นคุณค่า (Value)
การจัดระบบค่านิยม
(Organize or Conceptualize Value)
การแสดงออกตามค่านิยม
(Internalize or Characterize Value)
กระบวนการเกิดการเรียนรู้
การรับรู้ (Preceptor) “ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5”
การรับรู้ ประสิทธิผลในการรับรู้
10%การอ่าน
20%การได้ยิน
30%การได้เห็น
50%การได้เห็นและได้ยิน
70%การได้พูดและได้ยิน
90%การได้พูดและได้ทา
(อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2543)
การเข้าใจ (Comprehension)
สามารถเปลี่ยนความหมาย ตีความ
สรุปความสาคัญในสิ่งที่ได้รับรู้
เกิดการเชื่อมโยง ความรู้ใหม่ กับ ความรู้เดิม
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ที่รับรู้
อภิปรายให้เหตุผลประกอบได้
กระบวนการเกิดการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยน (Tranformation)
นาความเข้าใจที่เกิดจากการรับรู้
มาสร้างแบบแผนพฤติกรรมของตน
เช่น รับรู้ว่าหนูเป็ นพาหะนาโรค
ก็จะไม่กล้าเข้าใกล้ ถึงแม้ว่าจะเห็นลูกหนู
เป็ นสัตว์ที่น่ารักก็ตาม
กระบวนการเกิดการเรียนรู้
การเรียนรู้
เป็ นกระบวนการ
ที่เกิดขึ้นตามลาดับ
สรุป
รับรู้
เข้าใจปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
ที่จะทา/ไม่ทา
สิ่งที่เรียนรู้
การเรียนรู้
เป็ นกระบวนการ
ที่เกิดขึ้นตามลาดับ
รับรู้
เข้าใจปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม
ที่จะทา/ไม่ทา
สิ่งที่เรียนรู้
ปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้
ได้แก่ วุฒิภาวะ ความพร้อม ประสบการณ์เดิม
อายุ ระดับสติปัญญา อารมณ์ ร่างกาย แรงจูงใจ
ความถนัด
ตัวผู้เรียน1
คุณลักษณะของบทเรียนที่มีอิทธิพล
คือ ความยาก ง่าย ความสั้น ยาว
ความหมายของบทเรียน
2 บทเรียน
การมีส่วนร่วม ใช้แรงเสริม การแนะแนว
การส่งเสริม ช่วงเวลา การฝึกฝน
3 วิธีการ
จัดการเรียนรู้
ปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้
Facilitator5
ตัวผู้สอน
(สาคัญที่สุด)
ทางกายภาพ ได้แก่สิ่งต่างๆ
ที่รับรู้ สัมผัส จับต้องได้
สภาพแวดล้อม
ทางการเรียนรู้4
ทางจิตวิทยา ได้แก่ บรรยากาศ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
ผู้เรียนด้วยกัน
รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style)
วิธีการที่ผู้เรียนชอบใช้เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
ของการเรียนรู้ (Honey and Munford, 1992 : 2)
เป็ นวิธีการ หรือช่องทางที่บุคคลรับรู้
แล้วจัดกระบวนการสิ่งที่ได้รับรู้ (Kolb, 1984 : 23)
เป็ นวิธีการ ที่ผู้เรียนใช้อย่างสม่าเสมอในการเรียนรู้
สร้างความคิดรวบยอด จัดระเบียบข้อมูล
รูปแบบการเรียนรู้ เป็ นผลมาจากความชอบ
ประสบการณ์เดิม (Ellia, 1985 : 52)
- วิธีการเรียนรู้
- ลักษณะการรับและคงไว้ซึ่งสิ่งที่เรียน
- การมีปฏิสัมพันธ์, ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อม
(ดวงกมล ไตรวิวัตรกุล, 2546 : 102)
ความหมาย
การจาแนกรูปแบบการเรียนรู้
ของ ริชาร์ด แมนน์ (Richard Mann)
ยึดงานเป็ นหลัก สนใจเฉพาะเรื่อง
ที่เกี่ยวกับงานของตน ไม่ชอบห้องเรียน
ที่ขาดระเบียบ ต้องการที่จะเข้าใจ
ในเนื้อหาที่เรียน
แบบยินยอม
(Compliant)1
วิตกกังวลสูงในทุกด้าน
ต้องการความช่วยเหลือจากผู้สอน
รู้สึกว่าตนเองไม่มีความสามารถ
2 แบบวิตกกังวล
(Anxious Dependent)
ไม่พึงพอใจในตนเอง และเมื่อมี
ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจะรู้สึกละอาย
และโทษตัวเองมองตนในแง่ลบ
3 แบบท้อแท้
(Discouraged)
การจาแนกรูปแบบการเรียนรู้
ของ ริชาร์ด แมนน์ (Richard Mann)
มีสติปัญญาดี
มั่นใจในตนเองสูง
แบบอิสระ
(Independent)4
มักเป็ นผู้ชาย เป็ นที่รู้จักของคนอื่น
เรียนเก่ง ผลงานมีทั้งประเภทสร้างสรรค์
และสร้างศัตรู ก่อให้เกิดความไม่พอใจได้
พึงพอใจในอานาจ
5 แบบวีรบุรุษ
(Heroic)
มองโลกในแง่ร้าย ภูมิใจในตนเองน้อย
มักทาให้ผู้สอนโกรธ โดยไม่มีเหตุผล
มีแนวโน้มเป็ นปฏิปักษ์กับผู้สอน มักหลบหนี
การเผชิญหน้ากับผู้สอน
6 แบบรอบยิง
(Sniper)
การจาแนกรูปแบบการเรียนรู้
ของ ริชาร์ด แมนน์ (Richard Mann)
มีบทบาททางสังคมมากกว่าด้านสติปัญญา
มักสร้างความสัมพันธ์กับผู้สอนเพื่อให้ชื่นชม
ต้องการเป็ นที่ยอมรับ และสนใจของเพื่อนๆ
และผู้สอน จะไม่มีความสุข ถ้าได้รับ
มอบหมายให้รับผิดชอบ
7
แบบแสวงหา
ความสนใจ
(Attentive)
ไม่ค่อยมีส่วนร่วมในกิจกรรม พูดน้อย
เงียบเฉย มีบทบาท และสัมพันธภาพ
กับผู้สอนน้อย
8 แบบสงบเงียบ
(Silent)
การจาแนกรูปแบบการเรียนรู้
ของ Witkin (1971)
1
แบบพึ่งพิง
สภาพแวดล้อม
2
แบบไม่พึ่งพิง
สภาพแวดล้อม
สรุป
การเรียนรู้ กระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างซับซ้อน
บุคคล
เปลี่ยน
พฤติกรรม
ความรู้
ทักษะ
เจตคติ
ปัจจัยที่ส่งเสริม
กระบวนการเกิดการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Prakul Jatakavon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
pentanino
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
Dee Arna'
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
hadesza
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
Mod DW
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
yuapawan
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
Watcharin Chongkonsatit
 

What's hot (20)

การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
บทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า
บทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่าบทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า
บทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management3 dynamic of behavioural management
3 dynamic of behavioural management
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุราทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 

Similar to บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)

5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
Mai Amino
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
Tawanat Ruamphan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
team00428
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
hadesza
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
nan1799
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
itedu355
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
pajyeeb
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
05102500
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
juriporn chuchanakij
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 

Similar to บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1) (20)

5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
5
55
5
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี

More from นางสาวอัมพร แสงมณี (16)

คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
 
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
 
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 

บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)