SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Dynamic of 
behavioural 
management 
Community dentistry 1 
2014
พฤติกรรมสุขภาพ 
Health behavior 
พฤติกรรม 
Behavior 
สุขภาพ 
Health
พฤติกรรม (Behaviour) 
กิจกรรม หรือการกระทำใดๆ ของบุคคลเพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง ซึ่งสามารถสังเกต 
ได้โดยบุคคลอื่น 
พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) 
ลักษณะของการกระทำหรือกิจกรรมของบุคคลที่สามารถ 
สังเกตได้โดยบุคคลอื่น เช่น การกิน การนอน การนั่ง การ 
แสดงอาการเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น 
พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) 
ลักษณะของการกระทำหรือกิจกรรมของบุคคลที่เกิดขึ้น 
ภายในตัวของบุคคลนั้น โดยที่บุคคลอื่นไม่สามารถสังเกต 
ได้โดยง่าย แต่สามารถที่จะรับรู้ หรือทราบได้ว่าพฤติกรรม 
นั้นเกิดขึ้นจากเครื่องมือต่างๆ ได้แก่ ความคิด ความฝัน ค่า 
นิยม ทัศนคติ ความเชื่อ เป็นต้น 
พฤติกรรมปกติ 
•ต้องเป็นไปตามขั้นตอนของการพัฒนาตามวุฒิภาวะของ 
บุคคล 
•ต้องสอดคล้องกลมกลืนกับวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเอง 
เป็นสมาชิกอยู่ 
•ต้องเป็นไปตามกฎระเบียบของสังคมที่กำหนดไว้ 
พฤติกรรมอปกติ 
•เป็นพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากแบบแผนการพัฒนาตาม 
วุฒิภาวะของบุคคล 
•เป็นพฤติกรรมที่ขัดแย้งกับวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเอง 
อาศัยอยู่ 
•เป็นพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากบุคคลส่วนใหญ่
องค์ประกอบของพฤติกรรม 
• การเกิดพฤติกรรมต้องมีสาเหตุ 
• พฤติกรรมที่มีสาเหตุเดียวกันไม่จำเป็นต้องนำไปสู่การแสดงออกของพฤติกรรม 
เดียวกันก็ได้ 
• การแสดงออกของพฤติกรรมหนึ่งๆ อาจมาจากหลายสาเหตุก็ได้ 
• พฤติกรรมที่ต่างกันอาจมาจากสาเหตุเดียวกันก็ได้
แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม 
แนวคิดที่ 1 
•สาเหตุของพฤติกรรมเกิดจากการ 
ตัดสินใจของตนเอง 
•ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมาจาก 
องค์ประกอบภายในตัวบุคคลเอง 
ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ 
เจตคติ ค่านิยม แรงจูงใจ และความ 
ตั้งใจใฝ่พฤติกรรม เป็นต้น 
•มุ่งศึกษา และสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับ 
ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีเกี่ยวกับ 
เจตคติ และการเปลี่ยนแปลงเจตคติ 
ทฤษฎีแรงจูงใจ 
แนวคิดที่ 2 
•สาเหตุของพฤติกรรมเกิดจากปัจจัย 
ภายนอกตัวบุคคล 
•มุ่งศึกษาปัจจัยต่างๆ ทางด้านสิ่ง 
แวดล้อม ระบบสังคม การเมือง 
เศรษฐกิจ การศึกษา ศาสนา องค์ 
ประกอบทางประชากรศาสตร์ ลักษณะ 
ทางภูมิศาสตรและลักษณะทาง 
วัฒนธรรม 
แนวคิดที่ 3 
•สาเหตุของพฤติกรรมเกิดจากปัจจัย 
หลายๆ ด้าน 
•ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมาจาก 
ทั้งองค์ประกอบภายในตัวบุคคลเอง 
และองค์ประกอบภายนอกตัวบุคคล 
การแสดงออกของพฤติกรรมหนึ่งๆ อาจมาจากหลายสาเหตุก็ได้ ดังนั้นการแก้ปัญหาพฤติกรรมต้องอาศัยความรู้ 
ความชำนาญจากสหสาขาวิชาชีพเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาของพฤติกรรม
บรรทัดฐานทางสังคม 
แนวทางปฏิบัติของบุคคลในสังคมซึ่งปฏิบัติตามความเคยชิน และเป็นที่ยอมรับของ 
สังคม ผู้ที่ละเลยไม่ปฏิบัติตามจะได้รับการติเตียน เยาะเย้ย ถากถาง หรือการนินทา 
วิถีประชา 
Folkways 
กฎศีลธรรม/ 
จารีต 
Morals 
กฎหมาย 
Laws 
ระเบียบ แบบแผนที่สมาชิกในสังคมปฏิบัติโดยเคร่งครัด มี 
ความสำคัญมากกว่าวิถีประชา หากผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ 
ประนามอย่างรุนแรง มักเป็นข้อห้าม ข้อบังคับ มีเรื่องราวของ 
ความผิดชอบชั่วดีมาเกี่ยวข้อง 
กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับที่รัฐบัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร 
โดยองค์การทางการเมืองการปกครอง และได้รับการรับรอง 
จากองค์การของรัฐ เพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม
ความสำคัญของบรรทัดฐาน 
• เป็นแนวทางพฤติกรรมของมนุษย์ที่ทุกคนมีความเข้าใจร่วมกัน ทำให้มีการ 
ประพฤติในแนวทางเดียวกัน 
• มีไว้ควบคุมสมาชิกในสังคมให้อยู่ในกรอบของสังคม ไม่เป็นอันตรายต่อสังคม 
เพราะมนุษย์นั้นทำสิ่งที่ดีงามและชั่วร้าย
สุขภาพ 
สุขภาวะ 
ทาง 
วิญญาณ 
สุขภาวะทางสังคม 
สุขภาวะทางจิต 
สุขภาวะทางกาย 
ประเวศ วะสี 2540 
สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิต ทางสังคม 
และทางจิตวิญญาณ
สุขภาพ 4 มิติ 
ลำดับที่ สุขภาวะ ความหมาย 
1 ทางกาย (Physical) 
มีปัจจัย 4 เพียงพอ 
ร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยโดยไม่จำเป็น ไม่พิการ ไม่ตายก่อนวัยอันควร 
เมื่อป่วยได้รับการดูแลที่ดี หายดี หายเร็ว 
มีคุณภาพชีวิตที่ดี 
2 ทางใจ (Mental) 
จิตใจมีความสุข ไม่เครียด ไม่บีบคั้น ไม่เจ็บป่วยทางจิต หรือเมื่อมี 
ความเครียดสามารถคลายเครียดได้ 
3 ทางสังคม (Social) 
สังคมพึ่งพาช่วยเหลือเกื้อกูล สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมดี 
มีคุณค่า มีศักดิ์ศรี อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 
ครอบครัวอบอุ่น สังคมดี มีอาชญากรรม และความรุนแรงน้อย 
มีนโยบายสาธารณะ (Public policy) ดี 
4 ทางปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual) 
เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็นจริง 
จิตใจเปี่ยมสุข 
เข้าใจสิ่งดีงามถูกต้องสูงสุด 
จิตใจมีเมตตา กรุณา มีจิตใจสะอาด สง่า สงบ 
อำพล จินดาวัฒนะ, 2540
นิยามสุขภาพ (1) 
• พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2539 
“ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ” 
• Ottawa charter for health promotion, WHO (1986) 
“สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคมและจิตใจ ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัย 
ไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น” 
• วรรณา คุณาอภิสิทธิ์, 2547 
“ความเป็นดีอยู่ดี หรือภาวะที่เป็นสุขในลักษณะองค์รวมของสุขภาพด้านต่างๆ คือสุขภาวะทาง 
กาย สุขภาวะทางปัญญา สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ” 
• WHO, 1998 
“สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ (Spiritual well-being) 
ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น”
นิยามสุขภาพ (2) 
Medical model Sociological model 
• โรคคือกลไกของร่างกายที่ผิดปกติ 
•ความผิดปกติของมนุษย์เกิดจากสาเหตุที่ 
จำเพาะ 
• การรักษาทางการแพทย์เป็นการรักษาสาย 
หลัก ไม่จำเป็นต้องมีการรักษาทางเลือก 
• สันนิษฐานว่าร่างกายและจิตใจแยกจากกัน 
อย่างชัดเจน 
• สิ่งที่ทำให้เจ็บป่วยอยู่ร่างกายของคนหรือสิ่ง 
แวดล้อม 
• ความเจ็บป่วยมีหลายสาเหตุ ไม่เพียงสาเหตุ 
ใดสาเหตุหนึ่ง และการรักษาที่ดีที่สุดอย่าง 
เดียวไม่มี 
• โรคคือการตีความหมายทางการแพทย์เกี่ยว 
กับความจริง 
• ความไม่สบายของมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของ 
สังคม ความเป็นมาในอดีต และบริบททาง 
วัฒนธรรม 
•ความเจ็บป่วยเป็นตัวแปรกลางที่มีผลกระทบ 
ต่อความสัมพันธ์ทางสังคม 
Tuner, 1987
นิยามสุขภาพ (3) 
แนวคิดด้านชีวเวชศาสตร์ 
(Biomedical approach) 
“การปราศจากโรคหรือการทำ 
หน้าที่ผิดปกติของร่างกาย- ถ้า 
ท่านไม่ป่วยท่านก็จะมีสุขภาพดี” 
แนวคิดด้านจิตวิทยา 
(Psychological 
approach) 
“การสะท้อนความรู้สึกทั้งมวลของ 
บุคคลต่อสุขภาพของตนเอง ความ 
รู้สึกที่ดีในการดำรงชีวิตประจำวัน 
การประสบความสำเร็จการทำงาน 
ความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว และการ 
วิพากษ์จากบุคคลอื่น” 
แนวคิดด้านสังคมวิทยา 
(Sociological approach) 
“ความสามารถของบุคคลในการ 
ปฏิบัติหน้าที่และกิจการในชีวิต 
ประจำวันตามที่สังคมคาดหวัง เป้ 
นความรู้สึกบวกที่ประกอบด้วยมิติ 
ทุกด้านของบุคคล” 
Heiss and Walden, 2000
นิยามสุขภาพ (4) 
Eudemonistic perspective 
เป็นการตระหนักในศักยภาพของคนในการพัฒนาตนเอง เป็นภาวะที่บรรลุซึ่งความสำเร็จสูงสุดในชีวิต 
Adaptive model 
เป็นความสามารถที่จะมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างร่างกายและสังคมสิ่งแวดล้อม เชื่อว่ามนุษย์มีการ 
ปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมอย่างตลอดเวลาเพื่อรักษาสมดุล การมีโรคจึงเป็นความล้มเหลวในการปรับตัว 
Role performance model 
เป็นความสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม เช่น ความสามารถในการทำงาน การเจ็บป่วยจึงถูกกำหนด 
ด้วยความสามารถที่จะทำหน้าที่หรือกิจวัตรประจำวัน 
Clinical model 
สุขภาพเป็นการปราศจากโรคหรือการขาดสมดุล คนที่มีโรคคือคนที่มีสุขภาพไม่ดี 
Smith, 1981
สุขภาวะ 4 มิติ 
สุขภาวะ 
ทางกาย 
Physical 
ทางวิญญาณ 
Spiritual 
ทางใจ 
Mental 
ทางสังคม 
Social 
•มีปัจจัย 4 อย่างพอเพียง 
•ร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บ 
ป่วยโดยไม่จำเป็น ไม่พิการ 
ไม่ตายก่อนวัยอันควร 
•เมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแล 
อย่างดี หายดี หายเร็ว 
•มีคุณภาพชีวิตที่ดี 
•เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็น 
จริง 
•จิตใจเปี่ยมสุข 
•เข้าถึงความดีงามถูกต้อง 
สูงสุด 
•จิตใจมีเมตตา กรุณา 
•จิตใจมีความสุข 
•ไม่เครียด ไม่บีบคั้น 
•ไม่เจ็บป่วยทางจิต คลาย 
เครียดได้ 
•สังคมพึ่งพา ช่วยเหลือ 
เกื้อกูล 
•สิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อม 
ดี 
•มีคุณค่า มีศักดิ์ 
•อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 
•ครอบครัวอบอุ่น สังคมดี 
•อาชญากรรมและความ 
รุนแรงน้อย 
•นโยบายสาธารณะดี
พฤติกรรมสุขภาพ 
หมายถึง
พฤติกรรมสุขภาพ 
• Gochman, 1982 
“Health behavior as those personal attributes such as belief, expectations, motive, values, 
perceptions, and other, cognitive elements, personality characteristics, including affective and 
emotion states and traits and overt behavior patterns, action and habits that relate to health, 
maintenance, to health restoration and to health improvement” 
• ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์, 2534 
“การกระทำหรือการปฏิบัติของบุคคลต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน” 
• ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์, 2541 
“กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆ ของปัจเจกบุคคลที่กระทำไปเพื่อจุดประสงค์ในการส่งเสริม 
ป้องกัน หรือบำรุงรักษาสุขภาพโดยไม่คำนึงถึงสถานะสุขภาพที่ดำรงอยู่ หรือรับรู้ได้ ไม่ว่าพฤติ 
กรรมนั้นๆ จะสัมฤทธิ์ผลสมมุ่งหมายหรือไม่ในที่สุด”
Health behaviour 
Cognitive domain 
Affective domain 
Psychomotor domain 
พฤติกรรมสุขภาพที่มี 
ผลดีต่อสุขภาพ 
พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ 
เหมาะสมต่อสุขภาพ 
การกระทำด้วยจิตสำนึก 
การกระทำด้วยตามคำแนะนำ 
การกระทำด้วยตามกฎ ระเบียบ ข้อ 
บังคับ และเงื่อนไข 
การกระทำที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ 
การไม่กระทำที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ 
การกระทำที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ 
การไม่กระทำที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ 
ค่านิยม (Values) 
เจตคติ (Attitudes) 
ความรู้ (Knowledge) 
ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์, 2534
พฤติกรรมสุขภาพที่ 
ต้องการ 
พฤติกรรมการเจ็บป่วย 
พฤติกรรมการป้องกัน 
โรค 
พฤติกรรมการส่ง 
เสริมสุขภาพ 
พฤติกรรมการมีส่วน 
ร่วมในสาธารณสุข 
การแก้ปัญหาสาธารณสุข 
ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์, 2542 
การแสดงออกหรือการกระทำที่ 
แสดงออกเมื่อเจ็บป่วยหรือผิด 
ปกติ เช่น การไปรับบริการ การ 
ปล่อยให้หายเอง 
การกระทำหรือการแสดงออก 
เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย ซึ่งขึ้น 
อยู่กับความเชื่อ ประสบการณ์ 
การศึกษา และเศรษฐานะ 
การกระทำพึงแสดงออกของ 
บุคคล เพื่อการดูแลรักษาและส่ง 
เสริมสุขภาพ และพฤติกรรม 
สุขภาพให้มีความสมบูรณ์แข็ง 
แรงอยู่เสมอ 
การกระทำหรือการแสดงออก 
ของบุคคลในการมีส่วนร่วมใน 
กิจกรรมทางสาธารณสุขเพื่อการ 
มีสุขภาพที่ดี
พฤติกรรมสุขภาพ 
Cogni&ve)) 
Domain) 
Psychomotor) 
Domain) 
Affec&ve)Domain)
Cognitive domain 
Knowledge) Comprehensive) Applica5on) Analysis) Synthesis) Evalua5on)
Affective Domain 
การให้ความสนใจ (Receiving)! 
การตอบสนอง (Responding)! 
การสร้างคุณค่าและค่านิยม (Value)! 
การจัดกลุ่มค่า (Organizing)! 
การแสดงลักษณะค่านิยมที่ยึดถือ!
Psychomotor Domain 
การเลียนแบบ 
(Imita'on)+ 
การทำตามแบบ 
(Manipula'on)+ 
การมีความถูกต้อง 
(Precision)+ 
การกระทำโดย 
ธรรมชาติ 
(Naturaliza'on)+ 
การกระทำอย่าง 
ต่อเนื่อง 
(Ar'cula'on)+
ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม 
สุขภาพ 
ระบบบริการ 
สุขภาพ 
กายภาพ/ชีวภาพ 
เศรษฐกิจ/การเมือง 
วัฒนธรรม/ศาสนา 
ประชากร/การศึกษา 
ความมั่นคง 
การสื่อสาร/คมนาคม 
เทคโนโลยี/องค์ความรู้ 
กรรมพันธ์ุ 
พฤติกรรม 
ความเชื่อ 
จิตวิญญาณ 
วิถีชีวิต 
ความครอบคลุม/เสมอภาค 
ประเภท/ระดับการบริการ 
คุณภาพ/ประสิทธิภาพ 
ผู้จัด/ผู้จ่าย 
พลวัต 
สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
ทฤษฎีพฤติกรรม 
และ 
การปรับพฤติกรรม
Behavior Theory 
ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์
บุคลิกภาพ 
Personality 
พฤติกรรมศาสตร์ 
แรงจูงใจ 
Motivation 
การรับรู้ 
Perception 
การเรียนรู้ 
Learning 
พัฒนาการ 
Development
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ 
Personality theory
ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) 
• บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกำหนดพฤติกรรม และ 
แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล 
พันธุกรรม 
สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 
สิ่งแวดล้อมทาง 
ด้านสังคมและ 
วัฒนธรรม 
สิ่งแวดล้อมทาง 
ด้านสังคมนาคม 
(Socialization) 
การรับรู้ 
สิ่งแวดล้อม ลักษณะแห่งตน 
คุณค่า 
ประสิทธิผล 
ความสำเร็จ 
ประสบการณ์ 
การเจริญและ 
พัฒนาการ 
Chromosomal 
characteristic
ทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการ 
Development theory
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) 
วัย ภาระ 
วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี) 
เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้ 
ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้ 
ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้ 
ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอำนาจรับผิดชอบ เรียนรู้ 
การใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล 
วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี) 
มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง 
เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม 
และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คำนวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ 
ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด 
ชอบ 
วัยรุ่น (12-18 ปี) 
พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้ 
เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน 
วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสำหรับงาน 
อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสำหรับ 
การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) 
วัย ภาระ 
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) 
เข้าใจความหมายของคำว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส 
เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ 
ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่ 
พลเมืองที่ดี 
วัยกลางคน (36-60 ปี) 
รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง 
เศรษฐกิจสำหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย 
ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว 
ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง 
ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้ 
วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) 
ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด 
ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จำกัดในด้านความรับผิด 
ชอบต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) 
วัย ภาระ 
ทุกวัย 
พัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง ยอมรับตนเอง และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง 
ยอมรับความเป็นจริง และเสริมสร้างทัศนคติ และค่านิยมที่ถูกต้องและมีคุณค่า มีส่วนร่วม 
อย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อครอบครัวและต่อกลุ่มอื่น สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล 
อื่นในสังคม 
James C.Coleman, 1969
ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ 
Perception theory
ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Perception theory)
ทฤษฎีการจูงใจ 
Motivation theory
ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับความจำเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึก (Theory of unconscious motivation) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive theory) 
• ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ 
(Learning theory)
Bloom’s learning theory 
พุทธิพิสัย (Cognitive domain) เจตพิสัย (Affective domain) ทักษะพิสัย (Psychomotor domain) 
ความรู้ (Knowledge) การให้ความสนใจ (Receiving) การเลียนแบบ (Imitation) 
ความเข้าใจ (Comprehensive) การตอบสนอง (Responding) การทำตามแบบ (Manipulation) 
การประยุกต์ (Application) การสร้างคุณค่าและค่านิยม (Values) การมีความถูกต้อง (Precision) 
การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดกลุ่มค่า (Organising) การกระทำอย่างต่อเนื่อง (Articulation) 
การสังเคราะห์ (Synthesis) การแสดงลักษณะค่านิยมที่ยึดถือ การกระทำโดยธรรมชาติ 
(Naturalisation) 
การประเมินผล (Evaluation)
Cognitive Domain 
Original Domain New Domain 
Evaluation Creating 
Synthesis Evaluating 
Analysis Analyzing 
Application Applying 
Comprehension Understanding 
Knowledge Remembering
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ 
การรับรู้โอกาสเสี่ยง 
Received susceptibility 
การรับรู้ความรุนแรงของโรค 
Received seriousness 
ประชาสังคม 
Socio-demographic 
การรับรู้ถึงอันตราย 
Received threat 
การรับรู้ประโยชน์ 
Received benefits 
การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา 
Received barriers 
วิธีการปฏิบัติ 
Action 
http://www.med.usf.edu 
แนวทางในการปฏิบัติ 
Cues to action 
แรงจูงใจด้านสุขภาพ 
Health motivation 
ปัจจัยร่วม 
Modifying factors
Health belief model
เนื้อหา (Concepts) ความหมาย (Definition) การประยุกต์ใช้ (Applications) 
การรับรู้โอกาสเสี่ยง จะต้องมีโอกาสรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงต่อโรคนั้น ๆ 
ศึกษาประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ระดับความเสี่ยง 
ความเสี่ยงของบุคคลโดยยึดตามฐาน 
บุคลิกลักษณะ หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ 
แสดงออกในการรับรู้ภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรค 
การรับรู้ต่อความรุนแรงของโรค 
จะต้องรับรู้ถึงความรุนแรงและผลที่จะได้รับจาก 
การเป็นโรคนั้นๆ 
ระบุผลของการเป็นโรคตลอดจนเงื่อนไขต่างๆ ที่จะ 
ได้รับจากการเป็นโรค 
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ 
จะต้องรับรู้ถึงผลประโยชน์และประสิทธิผลใน 
การปฏิบัติเพื่อป้องกันและรักษาเกี่ยวกับโร 
คนั้นๆ 
หาวิธีการปฏิบัติว่าควรทำอย่างไร ทำเมื่อไหร่ 
ที่ไหน และประสิทธิผลที่คาดว่าจะได้รับ 
การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา 
จะต้องรับรู้อุปสรรคตลอดจนปัญหาต่างๆ ที่ 
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ 
วิเคราะห์ถึงปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะ 
เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขและลดการเกิด 
ปัญหาตลอดจนวิธีการให้ความช่วยเหลือ 
แนวทางในการปฏิบัติ 
แนวทางในการปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงจากการ 
เป็นโรคจะขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงและ 
ความรุนแรงของโรค 
มีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องชัดเจน 
เกี่ยวข้องกับการป้องกัน การรักษา ตลอดจนการ 
แก้ไขปัญหาต่างๆ แก่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง 
ความสามารถในการเปลี่ยนพฤติกรรม 
ของตนเอง (Self-efficacy) 
ผู้ปฏิบัติมีความมั่นใจในการปฏิบัติตามขั้นตอน 
และวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อ 
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง 
มีการให้ความรู้ การฝึกอบรม การให้สุขศึกษาเกี่ยว 
กับการปฏิบัติตนเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 
ของตนเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อ 
มั่นในการปฏิบัติดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม 
• การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสำคัญ 
และมีอำนาจเหนือกว่าตัวเราเอง 
• การจัดโปรแกรมสุขศึกษา 
• การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ 
ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่ 
• การสนับสนุนโดยการให้การประเมิน (Appraisal support) เช่น การให้ข้อมูล 
ย้อนกลับ การเห็นพ้อง การให้การรับรอง หรือการยอมรับในสิ่งที่คนอื่น 
แสดงออกมา หรือการช่วยเหลือโดยทางตรงหรือทางอ้อม 
• การให้ข้อมูลข่าวสาร (Information support) เช่น การให้คำปรึกษาแนะนำ การ 
ตักเตือน การให้ความรู้
ทฤษฎีความสามารถของตนเอง 
ความคาดหวังในผลของการกระทำที่จะเกิดขึ้น 
สูง ต่ำ 
ความคาดหวังเกี่ยวกับ 
ความสามารถของตนเอง 
สูง มีแนวโน้มที่จะทำแน่นอน มีแนวโน้มที่จะไม่ทำ 
ต่ำ มีแนวโน้มที่จะไม่ทำ มีแนวโน้มที่จะไม่ทำแน่นอน 
บุคคล 
Person 
พฤติกรรม 
Behavior 
ผลลัพธ์ 
Outcome 
ความคาดหวังในความสามารถ 
Efficacy expectations 
ความคาดหวังในผลของการกระทำที่จะเกิดขึ้น 
Outcome expectations
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล 
• Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทำ ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี 
อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด 
• Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสำเร็จ 
• Verbs persuasion คือ การที่ผู้อื่นใช้ความพยายามในการพูดกับบุคคลเพื่อให้เขา 
เชื่อว่าเข้ามีความสามารถที่จะกระทำพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้ประสบความ 
สำเร็จได้ 
• Emotion arousal คือ สภาวะทางอารมณ์ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ตื่น 
เต้น มีอาการอ่อนเพลีย เมื่อยล้า จะส่งผลต่อความคาดหวังต่อพฤติกรรมของ 
ตนเอง
ลักษณะความสามารถของบุคคล 
Bandura, 1977 
ปริมาณความคาดหวัง 
Magnitude 
การนำไปใช้ 
Generally 
ความมั่นใจ 
Strength
แนวความคิดเกี่ยวกับความเชื่ออำนาจแห่งตน 
พฤติกรรม ผลตอบแทน 
ความคาดหวังพฤติกรรม 
ใหม่ 
ผลตอบแทนจากพฤติกรรม 
ใหม่ 
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 
ย้อนกลับไปสู่ความคาด 
หวังอื่นๆ 
ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจ 
ภายใน/ภายนอกของตน 
ควาคาดหวังขยายออก 
ครอบคลุมพฤติกรรมทั่วไป 
อำนาจภายนอกตนเอง (External locus of control) 
บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ 
ตนนั้นขึ้นอยู่กับอิทธิพลภายนอกตนเองที่ไม่สามารถ 
ควบคุมได้ เช่น โชค เคราะห์ ความบังเอิญ หรืออิทธิพลที่ 
ผู้อื่นบันดาลให้เป็นไป 
อำนาจภายในตนเอง (Internal locus of control) 
บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ 
ตนนั้นเป็นผลมาจากการกระทำหรือจากความสามารถ 
ของตน 
•มีความกระตือรือร้นต่อความเป็นไปของสิ่งแวดล้อม ซึ่ง 
เป็นประโยชน์สำหรับพฤติกรรมในอนาคต 
•พยายามปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามขั้น 
•เห็นคุณค่าของทักษะหรือผลสัมฤทธิ์จากความพยายาม 
เป็นสำคัญและคำนึงถึงความสามารถของตนเองอยู่เสมอ
ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล 
ทัศนคติต่อพฤติกรรม 
พฤติกรรม 
น้ำหนักในการ 
พิจารณาด้วยทัศนคติ 
และบรรทัดฐาน 
บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง 
ความตั้งใจใน 
การที่จะประกอบ 
พฤติกรรม 
ความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับผลของ 
พฤติกรรมและการประเมินคุณค่าตาม 
ความเชื่อ 
ความเชื่อของบุคคลตามความคาดหวัง 
ของกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมและ 
แรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคาดหวัง 
นั้น 
Ajzen, I and Fishbein, M, 1980
PRECEDE framework model 
องค์ประกอบปัญหา 
สุขภาพ 
ปัจจัยนำ 
•ความรู้ 
•เจตคติ 
•ค่านิยม 
•การรับรู้ 
ปัจจัยเอื้อ 
•ทรัพยากรที่มีอยู่ 
•การเข้าถึงทรัพยากร 
•ทักษะ 
ปัจจัยเสริม 
เจตคติและพฤติกรรมของ 
บุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
เช่น กลุ่มเพื่อน พ่อแม่ 
พนักงาน ฯลฯ 
สาเหตุอื่นๆ 
สาเหตุพฤติกรรมทาง 
สุขภาพ 
คุณภาพชีวิต 
ปัญหาสุขภาพ 
ปัญหาอื่น 
ขั้นตอนที่ 6 
การวิเคราะห์ทางการ 
บริหาร 
ขั้นตอนที่ 4-5 
การวิเคราะห์ทางการ 
ศึกษา 
ขั้นตอนที่ 3 
การวิเคราะห์ทาง 
พฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม 
ขั้นตอนที่ 1-2 
การวิเคราะห์ทางการ 
ระบาดวิทยาและสังคม 
Lawrence W.Green, et. al. , 1980
การวิเคราะห์ทางสังคม 
Social diagnosis 
• เน้นปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งผู้ที่วิเคราะห์ต้องมีความรู้ความ 
เข้าใจปัญหานั้นเช่นเดียวกับประชาชนในชุมชนนั้นด้วย 
1 
Communit 
y forum 
Nominal 
groups 
Focus 
groups 
Central 
location 
intercept 
การยึดจุดศูนย์กลางของสังคม 
Interviews 
Survey 
การเข้าร่วมในชุมชน 
การศึกษาแบบกลุ่มเดี่ยว/ย่อย 
การสัมภาษณ์ 
การสำรวจ การศึกษากลุ่มเป้าหมาย
การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา 
Epidemiological diagnosis 
• ช่วยค้นหาปัจจัยทางด้านพฤติกรรม และสิ่งแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพ 
2 
ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา 
สุขภาพที่เกิดขึ้น เงื่อนไขหรือสภาวะสุข 
ภาพอื่นๆ กับคุณภาพชีวิต 
การกำหนดแนวทาง วิธีการ 
ดำเนินการ เพื่อให้สอดคล้องกับ 
ทรัพยากรที่มีอยู่ 
ความเป็นไปได้ในการกำหนด 
ความรับผิดชอบระหว่างเจ้าหน้าที่กับ 
หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 
กลุ่มเป้าหมายคือใคร (Who) 
ผลลัพธ์ที่ตามมาคืออะไร (What) 
ผลประโยชน์มีมากน้อยเพียงใด 
(How much) 
เมื่อใดที่จะได้รับผลประโยชน์นั้น 
(When)
การวิเคราะห์ทางพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม 
Behavioural and environmental diagnosis 
• ปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพที่มีและไม่มีผลต่อสุขภาพ 
• ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ กับการเกิดโรค 
• ปัญหาสุขภาพที่ไม่ได้เกิดจากปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพ เช่น พันธุกรรม อายุ เพศ อากาศ 
สถานที่ปฏิบัติงาน ความพอเพียงของอุปกรณ์ทางการแพทย์ 
3
การวิเคราะห์ทางการศึกษา 
4 Educational diagnosis 
ปัจจัยนำ 
Predisposing factor 
ปัจจัยเอื้อ 
Enabling factor 
ปัจจัยเสริม 
Reinforcing factor 
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการกระทำของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลในลักษณะของการจูงใจ หรือ 
ความชอบส่วนบุคคล ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณลักษณะประชากร ความรู้ เจตคติ และความเชื่อ 
ปัจจัยที่จำเป็นต่อการทำให้เกิดพฤติกรรมทางด้านสุขภาพ ประกอบด้วย ทักษะ (ความรู้ความ 
สามารถของเจ้าหน้าที่ การให้บริการ) ทรัพยากร (สิ่งที่เอื้ออำนวยในการรักษาสุขภาพ บุคคล 
โรงเรียน คลินิค และทรัพยากรต่างๆ) รวมทั้งความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากร 
ปัจจัยที่แสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมสุขภาพนั้นได้รับการสนับสนุน การเสริมแรงจะเป็นได้ทั้งทาง 
ด้านบวกและลบ ขึ้นอยู่กับทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคลเหล่านั้น
การวิเคราะห์ทางการบริหาร 
5 Administration diagnosis 
• การประเมินทรัพยากร 
• งบประมาณ 
• การกำหนดระยะเวลาในการดำเนินงาน 
• หน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 
• การได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ 
• ความร่วมมือจากชุมชน 
• นโยบาย และสถานการณ์ขององค์การที่แอบแฝง
การดำเนินการ 
6 Implementation of the programme 
• ดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดเอาไว้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
การประเมินกระบวนการดำเนินงาน 
7 Process evaluation 
• เพื่อประเมินกระบวนการเกี่ยวกับการดำเนินงานตามแผนที่วางเอาไว้ว่ามีประสิทธิผลมากน้อย 
เพียงใด 
• เพื่อหาข้อผิดพลาด และปัญหาที่เอาจเกิดขึ้นระหว่างการดำเนินการ
การประเมินปัญหาและอุปสรรค 
8 Impact evaluation 
• ประเมินประสิทธิผลและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม
การประเมินผลลัพธ์ 
9 Outcome evaluation 
• ประเมินผลที่เกิดจากการดำเนินการตามแผนที่วางเอาไว้ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 
มากน้อยเพียงใด มีความเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับสุขภาพที่เกิดขึ้นหรือไม่ และประโยชน์ที่สังคม 
จะได้รับ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของประชาชนที่เกิดขึ้นหลังการดำเนินการ
PRECEDE PROCEED model 
• ใช้อธิบายพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มบุคคล 
• ใช้วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และหาสาเหตุเพื่อวางแผนงานส่งเสริมสุขภาพ 
• วิเคราะห์ในหลายประเด็น 
• สาเหตุทางสังคม 
• สาเหตุทางชีวภาพการแพทย์ 
• สาเหตุทางพฤติกรรมศาสตร์ 
• สาเหตุทางด้านการบริหาร
หลักการของ PRECEDE PROCEED model 
PRECEDE 
PROCEED Model 
การ1 มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 
2 ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
The behavioral matrix 
ความสำคัญ/ความสามารถ 
ในการเปลี่ยนแปลง 
มีสำคัญมาก มีสำคัญน้อย 
สามารถเปลี่ยนแปลงได้มาก 
มีความสำคัญมากและ 
เปลี่ยนแปลงได้มาก 
มีความสำคัญน้อยแต่ 
เปลี่ยนแปลงได้มาก 
สามารถเปลี่ยนแปลงได้น้อย 
มีความสำคัญมากแต่ 
เปลี่ยนแปลงได้น้อย 
มีความสำคัญน้อยและ 
เปลี่ยนแปลงได้น้อย
Empowerment education model 
การศึกษาเพื่อสร้างพลัง การสร้างพลัง 
Paulo Freire , 1975 
เป็นการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วน 
ร่วมโดยให้ผู้เรียนระบุปัญหาของตน 
วิเคราะห์สาเหตุและความมั่นคงของปัญญา 
โดยใช้วิจารณญาณ การมองภาพสังคมที่ 
ควรเป็น และการพัฒนากลวิธีที่จะแก้ไข 
อุปสรรคเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ 
เป็นกระบวนการที่บุคคลและชุมชน มีความ 
สามารถร่วมมือและควบคุมในการ 
เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต และสังคม สิ่งแวดล้อม 
ที่ตนอาศัยอยู่ให้สอดคล้องกับสภาพความ 
เป็นจริง
Empowerment education model 
•การเรียนการสอนเน้นการสร้างพลังให้แก่บุคคล เป็นการสนับสนุนให้บุคคลเล็งเห็นความสัมพันธ์ของตนกับสิ่ง 
แวดล้อม และเชื่อว่าตนสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง ชุมชน และสังคมได้ •การเรียนรู้ที่จะเริ่มจากประสบการณ์ของผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนวิทเคราะห์ โยงใยปัญหาต่างๆ ของบุคคลเข้ากับปัจจัย 
ทางสังคมที่เป็นเหตุนำไปสู่การปรับพฤติกรรม •การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกๆ ขั้นตอน ตั้งแต่การเลือก 
ปัญหา การวางแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลตนเอง และการประเมินผลโครงการ •การเรียนรู้ร่วมกันเป้นกลุ่ม ให้โอกาสผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดซึ่งกันและกัน •การเรียนรู้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งความรู้ ทัศนคติ และทักษะซึ่งอาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทันทีหรือภายหลัง 
การลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม •การเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นและมีความต่อเนื่องในกระบวนการเรียนการสอน •การเรียนการสอนที่สนุกสนานไม่น่าเบื่อ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 
Paulo Freire , 1975 
หลักการของ Empowerment
กระบวนการของ Empowerment 
ประสบการณ์ (Experience) 
การนำประสบการณ์ที่ผู้เรียนหรือบุคคล 
กระทำ รู้สึก มองเห็น หรือได้ยิน การ 
จำลองประสบการณ์เป็นจุดเริ่มต้นของ 
กระบวนการเรียนรู้ 
การระบุประสบการณ์ (Naming) 
การแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึกต่อ 
ประสบการณ์โดยผู้เรียน 
การวิเคราะห์ (Analysis) 
การให้ผู้เรียนแต่ละคนและกลุ่มเกิดความ 
เข้าใจในอิทธิพลและความสัมพันธ์กับสิง่ 
ต่างๆ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุกา 
รณ์นั้นๆ 
การปฎิบัติ (Doing) 
การกระทำเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงและการ 
ปฏิบัติ โดยการปฏิบัติจะกลายเป็น 
ประสบการณ์ใหม่ที่จะทำไปสู่การเรียนรู้ที่ 
ต่อเนื่องต่อไป 
การวางแผน (Planning) 
ผู้เรียนได้หาแนวทางหรือกลวิธีเพื่อการ 
เปลี่ยนแปลงโดยกำหนดว่าจะทำอะไร 
และอย่างไรต่อไปจากประสบการณ์นั้น
การวางแผนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 
• การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ/ปัญหาสาธารณสุข 
• การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรม 
• ปัจจัยนำ (Predisposing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นฐานและก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของ 
บุคคล ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม การรับรู้ และทักษะดั้งเดิม 
• ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors) คือ สิ่งที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่จำเป็นในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ชุมชน 
และทักษะใหม่ 
• ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นผลสะท้อนที่บุคคลจะได้รับหรือคาดว่าจะได้รับจากการ 
แสดงพฤติกรรมนั้น เช่น รางวัล ผลตอบแทน การลงโทษ 
• การวิเคราะห์พฤติกรรมเป้าหมาย 
• การวางแผนดำเนินงาน 
• การดำเนินงานตามแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่วางไว้ 
• การประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การปรับพฤติกรรม 
Behaviour = f ( Organism * Environment) 
Knowledge 
Attitude 
Belief 
Value 
Perception 
Skill 
Intention 
practice
ดร.ธรรมรักษ์ เรืองจรัส

More Related Content

What's hot

7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
Watcharin Chongkonsatit
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
guest3d68ee
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
Sani Satjachaliao
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
Aum Soodtaling
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
NU
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 

What's hot (20)

7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
คุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรมคุณธรรมและจริยธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 

Viewers also liked

การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
Ratchadaporn Khwanpanya
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
Chakkraphan Phetphum
 
ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่
ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่
ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่
Butsakorn Pangprasert
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
Nokko Bio
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
icecenterA11
 

Viewers also liked (20)

ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุราทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์  อรอุรา
ทฤษฎีการรับรู้ อารีลักษณ์ อรอุรา
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
 
Strategic Issue Communication Management
Strategic Issue Communication ManagementStrategic Issue Communication Management
Strategic Issue Communication Management
 
ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่
ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่
ความคาดหวังและการรับรู้ในคุณภาพการบริการของธุรกิจซอฟต์แวร์สต็อกบ้านไผ่
 
ใบความรู้+การตรวจวัดการเต้นของชีพจร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f04-1page
 ใบความรู้+การตรวจวัดการเต้นของชีพจร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f04-1page ใบความรู้+การตรวจวัดการเต้นของชีพจร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f04-1page
ใบความรู้+การตรวจวัดการเต้นของชีพจร+ป.6+292+dltvscip6+54sc p06 f04-1page
 
Microsoft excel
Microsoft excelMicrosoft excel
Microsoft excel
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
ปฏิบัติการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ สู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ - Social Determinan...
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 
งานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
งานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ดงานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
งานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารฟาสต์ฟู้ด
 
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 

Similar to 3 dynamic of behavioural management

Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Nan Natni
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
wichien wongwan
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
Watcharin Chongkonsatit
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
Watcharin Chongkonsatit
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
Da Arsisa
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
primpatcha
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 

Similar to 3 dynamic of behavioural management (20)

Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
8
88
8
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
10
1010
10
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
3
33
3
 
3
33
3
 
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao TPsychological Development in Pediatrics _ Padkao T
Psychological Development in Pediatrics _ Padkao T
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 

More from Watcharin Chongkonsatit

More from Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

3 dynamic of behavioural management

  • 1. Dynamic of behavioural management Community dentistry 1 2014
  • 2. พฤติกรรมสุขภาพ Health behavior พฤติกรรม Behavior สุขภาพ Health
  • 3. พฤติกรรม (Behaviour) กิจกรรม หรือการกระทำใดๆ ของบุคคลเพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง ซึ่งสามารถสังเกต ได้โดยบุคคลอื่น พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) ลักษณะของการกระทำหรือกิจกรรมของบุคคลที่สามารถ สังเกตได้โดยบุคคลอื่น เช่น การกิน การนอน การนั่ง การ แสดงอาการเคลื่อนไหวต่างๆ เป็นต้น พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) ลักษณะของการกระทำหรือกิจกรรมของบุคคลที่เกิดขึ้น ภายในตัวของบุคคลนั้น โดยที่บุคคลอื่นไม่สามารถสังเกต ได้โดยง่าย แต่สามารถที่จะรับรู้ หรือทราบได้ว่าพฤติกรรม นั้นเกิดขึ้นจากเครื่องมือต่างๆ ได้แก่ ความคิด ความฝัน ค่า นิยม ทัศนคติ ความเชื่อ เป็นต้น พฤติกรรมปกติ •ต้องเป็นไปตามขั้นตอนของการพัฒนาตามวุฒิภาวะของ บุคคล •ต้องสอดคล้องกลมกลืนกับวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเอง เป็นสมาชิกอยู่ •ต้องเป็นไปตามกฎระเบียบของสังคมที่กำหนดไว้ พฤติกรรมอปกติ •เป็นพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากแบบแผนการพัฒนาตาม วุฒิภาวะของบุคคล •เป็นพฤติกรรมที่ขัดแย้งกับวัฒนธรรมของสังคมที่ตนเอง อาศัยอยู่ •เป็นพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากบุคคลส่วนใหญ่
  • 4. องค์ประกอบของพฤติกรรม • การเกิดพฤติกรรมต้องมีสาเหตุ • พฤติกรรมที่มีสาเหตุเดียวกันไม่จำเป็นต้องนำไปสู่การแสดงออกของพฤติกรรม เดียวกันก็ได้ • การแสดงออกของพฤติกรรมหนึ่งๆ อาจมาจากหลายสาเหตุก็ได้ • พฤติกรรมที่ต่างกันอาจมาจากสาเหตุเดียวกันก็ได้
  • 5. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม แนวคิดที่ 1 •สาเหตุของพฤติกรรมเกิดจากการ ตัดสินใจของตนเอง •ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมาจาก องค์ประกอบภายในตัวบุคคลเอง ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ เจตคติ ค่านิยม แรงจูงใจ และความ ตั้งใจใฝ่พฤติกรรม เป็นต้น •มุ่งศึกษา และสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับ ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีเกี่ยวกับ เจตคติ และการเปลี่ยนแปลงเจตคติ ทฤษฎีแรงจูงใจ แนวคิดที่ 2 •สาเหตุของพฤติกรรมเกิดจากปัจจัย ภายนอกตัวบุคคล •มุ่งศึกษาปัจจัยต่างๆ ทางด้านสิ่ง แวดล้อม ระบบสังคม การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา ศาสนา องค์ ประกอบทางประชากรศาสตร์ ลักษณะ ทางภูมิศาสตรและลักษณะทาง วัฒนธรรม แนวคิดที่ 3 •สาเหตุของพฤติกรรมเกิดจากปัจจัย หลายๆ ด้าน •ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมาจาก ทั้งองค์ประกอบภายในตัวบุคคลเอง และองค์ประกอบภายนอกตัวบุคคล การแสดงออกของพฤติกรรมหนึ่งๆ อาจมาจากหลายสาเหตุก็ได้ ดังนั้นการแก้ปัญหาพฤติกรรมต้องอาศัยความรู้ ความชำนาญจากสหสาขาวิชาชีพเพื่อร่วมกันแก้ปัญหาของพฤติกรรม
  • 6. บรรทัดฐานทางสังคม แนวทางปฏิบัติของบุคคลในสังคมซึ่งปฏิบัติตามความเคยชิน และเป็นที่ยอมรับของ สังคม ผู้ที่ละเลยไม่ปฏิบัติตามจะได้รับการติเตียน เยาะเย้ย ถากถาง หรือการนินทา วิถีประชา Folkways กฎศีลธรรม/ จารีต Morals กฎหมาย Laws ระเบียบ แบบแผนที่สมาชิกในสังคมปฏิบัติโดยเคร่งครัด มี ความสำคัญมากกว่าวิถีประชา หากผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ประนามอย่างรุนแรง มักเป็นข้อห้าม ข้อบังคับ มีเรื่องราวของ ความผิดชอบชั่วดีมาเกี่ยวข้อง กฎเกณฑ์หรือข้อบังคับที่รัฐบัญญัติขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร โดยองค์การทางการเมืองการปกครอง และได้รับการรับรอง จากองค์การของรัฐ เพื่อควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม
  • 7. ความสำคัญของบรรทัดฐาน • เป็นแนวทางพฤติกรรมของมนุษย์ที่ทุกคนมีความเข้าใจร่วมกัน ทำให้มีการ ประพฤติในแนวทางเดียวกัน • มีไว้ควบคุมสมาชิกในสังคมให้อยู่ในกรอบของสังคม ไม่เป็นอันตรายต่อสังคม เพราะมนุษย์นั้นทำสิ่งที่ดีงามและชั่วร้าย
  • 8. สุขภาพ สุขภาวะ ทาง วิญญาณ สุขภาวะทางสังคม สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางกาย ประเวศ วะสี 2540 สุขภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
  • 9. สุขภาพ 4 มิติ ลำดับที่ สุขภาวะ ความหมาย 1 ทางกาย (Physical) มีปัจจัย 4 เพียงพอ ร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยโดยไม่จำเป็น ไม่พิการ ไม่ตายก่อนวัยอันควร เมื่อป่วยได้รับการดูแลที่ดี หายดี หายเร็ว มีคุณภาพชีวิตที่ดี 2 ทางใจ (Mental) จิตใจมีความสุข ไม่เครียด ไม่บีบคั้น ไม่เจ็บป่วยทางจิต หรือเมื่อมี ความเครียดสามารถคลายเครียดได้ 3 ทางสังคม (Social) สังคมพึ่งพาช่วยเหลือเกื้อกูล สิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมดี มีคุณค่า มีศักดิ์ศรี อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ครอบครัวอบอุ่น สังคมดี มีอาชญากรรม และความรุนแรงน้อย มีนโยบายสาธารณะ (Public policy) ดี 4 ทางปัญญา/จิตวิญญาณ (Spiritual) เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็นจริง จิตใจเปี่ยมสุข เข้าใจสิ่งดีงามถูกต้องสูงสุด จิตใจมีเมตตา กรุณา มีจิตใจสะอาด สง่า สงบ อำพล จินดาวัฒนะ, 2540
  • 10. นิยามสุขภาพ (1) • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2539 “ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ การสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ” • Ottawa charter for health promotion, WHO (1986) “สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคมและจิตใจ ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัย ไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น” • วรรณา คุณาอภิสิทธิ์, 2547 “ความเป็นดีอยู่ดี หรือภาวะที่เป็นสุขในลักษณะองค์รวมของสุขภาพด้านต่างๆ คือสุขภาวะทาง กาย สุขภาวะทางปัญญา สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทางจิตวิญญาณ” • WHO, 1998 “สภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ (Spiritual well-being) ประกอบกัน ไม่เพียงแต่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรือความพิการเท่านั้น”
  • 11. นิยามสุขภาพ (2) Medical model Sociological model • โรคคือกลไกของร่างกายที่ผิดปกติ •ความผิดปกติของมนุษย์เกิดจากสาเหตุที่ จำเพาะ • การรักษาทางการแพทย์เป็นการรักษาสาย หลัก ไม่จำเป็นต้องมีการรักษาทางเลือก • สันนิษฐานว่าร่างกายและจิตใจแยกจากกัน อย่างชัดเจน • สิ่งที่ทำให้เจ็บป่วยอยู่ร่างกายของคนหรือสิ่ง แวดล้อม • ความเจ็บป่วยมีหลายสาเหตุ ไม่เพียงสาเหตุ ใดสาเหตุหนึ่ง และการรักษาที่ดีที่สุดอย่าง เดียวไม่มี • โรคคือการตีความหมายทางการแพทย์เกี่ยว กับความจริง • ความไม่สบายของมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของ สังคม ความเป็นมาในอดีต และบริบททาง วัฒนธรรม •ความเจ็บป่วยเป็นตัวแปรกลางที่มีผลกระทบ ต่อความสัมพันธ์ทางสังคม Tuner, 1987
  • 12. นิยามสุขภาพ (3) แนวคิดด้านชีวเวชศาสตร์ (Biomedical approach) “การปราศจากโรคหรือการทำ หน้าที่ผิดปกติของร่างกาย- ถ้า ท่านไม่ป่วยท่านก็จะมีสุขภาพดี” แนวคิดด้านจิตวิทยา (Psychological approach) “การสะท้อนความรู้สึกทั้งมวลของ บุคคลต่อสุขภาพของตนเอง ความ รู้สึกที่ดีในการดำรงชีวิตประจำวัน การประสบความสำเร็จการทำงาน ความรู้สึกเปล่าเปลี่ยว และการ วิพากษ์จากบุคคลอื่น” แนวคิดด้านสังคมวิทยา (Sociological approach) “ความสามารถของบุคคลในการ ปฏิบัติหน้าที่และกิจการในชีวิต ประจำวันตามที่สังคมคาดหวัง เป้ นความรู้สึกบวกที่ประกอบด้วยมิติ ทุกด้านของบุคคล” Heiss and Walden, 2000
  • 13. นิยามสุขภาพ (4) Eudemonistic perspective เป็นการตระหนักในศักยภาพของคนในการพัฒนาตนเอง เป็นภาวะที่บรรลุซึ่งความสำเร็จสูงสุดในชีวิต Adaptive model เป็นความสามารถที่จะมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างร่างกายและสังคมสิ่งแวดล้อม เชื่อว่ามนุษย์มีการ ปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมอย่างตลอดเวลาเพื่อรักษาสมดุล การมีโรคจึงเป็นความล้มเหลวในการปรับตัว Role performance model เป็นความสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม เช่น ความสามารถในการทำงาน การเจ็บป่วยจึงถูกกำหนด ด้วยความสามารถที่จะทำหน้าที่หรือกิจวัตรประจำวัน Clinical model สุขภาพเป็นการปราศจากโรคหรือการขาดสมดุล คนที่มีโรคคือคนที่มีสุขภาพไม่ดี Smith, 1981
  • 14. สุขภาวะ 4 มิติ สุขภาวะ ทางกาย Physical ทางวิญญาณ Spiritual ทางใจ Mental ทางสังคม Social •มีปัจจัย 4 อย่างพอเพียง •ร่างกายแข็งแรง ไม่เจ็บ ป่วยโดยไม่จำเป็น ไม่พิการ ไม่ตายก่อนวัยอันควร •เมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแล อย่างดี หายดี หายเร็ว •มีคุณภาพชีวิตที่ดี •เข้าใจสรรพสิ่งอย่างเป็น จริง •จิตใจเปี่ยมสุข •เข้าถึงความดีงามถูกต้อง สูงสุด •จิตใจมีเมตตา กรุณา •จิตใจมีความสุข •ไม่เครียด ไม่บีบคั้น •ไม่เจ็บป่วยทางจิต คลาย เครียดได้ •สังคมพึ่งพา ช่วยเหลือ เกื้อกูล •สิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อม ดี •มีคุณค่า มีศักดิ์ •อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข •ครอบครัวอบอุ่น สังคมดี •อาชญากรรมและความ รุนแรงน้อย •นโยบายสาธารณะดี
  • 16. พฤติกรรมสุขภาพ • Gochman, 1982 “Health behavior as those personal attributes such as belief, expectations, motive, values, perceptions, and other, cognitive elements, personality characteristics, including affective and emotion states and traits and overt behavior patterns, action and habits that relate to health, maintenance, to health restoration and to health improvement” • ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์, 2534 “การกระทำหรือการปฏิบัติของบุคคลต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน” • ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์, 2541 “กิจกรรมหรือการปฏิบัติใดๆ ของปัจเจกบุคคลที่กระทำไปเพื่อจุดประสงค์ในการส่งเสริม ป้องกัน หรือบำรุงรักษาสุขภาพโดยไม่คำนึงถึงสถานะสุขภาพที่ดำรงอยู่ หรือรับรู้ได้ ไม่ว่าพฤติ กรรมนั้นๆ จะสัมฤทธิ์ผลสมมุ่งหมายหรือไม่ในที่สุด”
  • 17. Health behaviour Cognitive domain Affective domain Psychomotor domain พฤติกรรมสุขภาพที่มี ผลดีต่อสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ เหมาะสมต่อสุขภาพ การกระทำด้วยจิตสำนึก การกระทำด้วยตามคำแนะนำ การกระทำด้วยตามกฎ ระเบียบ ข้อ บังคับ และเงื่อนไข การกระทำที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ การไม่กระทำที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ การกระทำที่เป็นผลเสียต่อสุขภาพ การไม่กระทำที่เป็นผลดีต่อสุขภาพ ค่านิยม (Values) เจตคติ (Attitudes) ความรู้ (Knowledge) ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์, 2534
  • 18. พฤติกรรมสุขภาพที่ ต้องการ พฤติกรรมการเจ็บป่วย พฤติกรรมการป้องกัน โรค พฤติกรรมการส่ง เสริมสุขภาพ พฤติกรรมการมีส่วน ร่วมในสาธารณสุข การแก้ปัญหาสาธารณสุข ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์, 2542 การแสดงออกหรือการกระทำที่ แสดงออกเมื่อเจ็บป่วยหรือผิด ปกติ เช่น การไปรับบริการ การ ปล่อยให้หายเอง การกระทำหรือการแสดงออก เพื่อป้องกันการเจ็บป่วย ซึ่งขึ้น อยู่กับความเชื่อ ประสบการณ์ การศึกษา และเศรษฐานะ การกระทำพึงแสดงออกของ บุคคล เพื่อการดูแลรักษาและส่ง เสริมสุขภาพ และพฤติกรรม สุขภาพให้มีความสมบูรณ์แข็ง แรงอยู่เสมอ การกระทำหรือการแสดงออก ของบุคคลในการมีส่วนร่วมใน กิจกรรมทางสาธารณสุขเพื่อการ มีสุขภาพที่ดี
  • 19. พฤติกรรมสุขภาพ Cogni&ve)) Domain) Psychomotor) Domain) Affec&ve)Domain)
  • 20. Cognitive domain Knowledge) Comprehensive) Applica5on) Analysis) Synthesis) Evalua5on)
  • 21. Affective Domain การให้ความสนใจ (Receiving)! การตอบสนอง (Responding)! การสร้างคุณค่าและค่านิยม (Value)! การจัดกลุ่มค่า (Organizing)! การแสดงลักษณะค่านิยมที่ยึดถือ!
  • 22. Psychomotor Domain การเลียนแบบ (Imita'on)+ การทำตามแบบ (Manipula'on)+ การมีความถูกต้อง (Precision)+ การกระทำโดย ธรรมชาติ (Naturaliza'on)+ การกระทำอย่าง ต่อเนื่อง (Ar'cula'on)+
  • 23. ปัจเจกบุคคล สภาพแวดล้อม สุขภาพ ระบบบริการ สุขภาพ กายภาพ/ชีวภาพ เศรษฐกิจ/การเมือง วัฒนธรรม/ศาสนา ประชากร/การศึกษา ความมั่นคง การสื่อสาร/คมนาคม เทคโนโลยี/องค์ความรู้ กรรมพันธ์ุ พฤติกรรม ความเชื่อ จิตวิญญาณ วิถีชีวิต ความครอบคลุม/เสมอภาค ประเภท/ระดับการบริการ คุณภาพ/ประสิทธิภาพ ผู้จัด/ผู้จ่าย พลวัต สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, 2542
  • 26. บุคลิกภาพ Personality พฤติกรรมศาสตร์ แรงจูงใจ Motivation การรับรู้ Perception การเรียนรู้ Learning พัฒนาการ Development
  • 28. ทฤษฎีเกี่ยวกับบุคลิกภาพ (Personality theory) • บุคลิกภาพเป็นกระบวนการจัดการพลวัตรของระบบจิต-สรีรวิทยาภายในตัวบุคคล ซึ่งกำหนดพฤติกรรม และ แนวความคิดที่บ่งลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล พันธุกรรม สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ สิ่งแวดล้อมทาง ด้านสังคมและ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมทาง ด้านสังคมนาคม (Socialization) การรับรู้ สิ่งแวดล้อม ลักษณะแห่งตน คุณค่า ประสิทธิผล ความสำเร็จ ประสบการณ์ การเจริญและ พัฒนาการ Chromosomal characteristic
  • 30. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ วัยเด็กตอนต้น (0-6 ปี) เกิดความรู้สึกไว้วางใจตนเองและผู้อื่น พัฒนาแนวคิดที่เหมาะเกี่ยวกับตน เรียนรู้ที่จะให้ ความรักแก่ผู้อื่น รวมกลุ่มกับเพื่อนเพศเดียวกัน มีลักษณะการเคลื่อนไหวที่ผสมผสาน เรียนรู้ ในการเป็นสมาชิกของครอบครัว เริ่มเรียนรู้ถึงความจริงทางกายภาพและสังคม เริ่มเรียนรู้ ถึงความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด เคารพในกฎเกณฑ์และอำนาจรับผิดชอบ เรียนรู้ การใช้ภาษา และเรียนรู้การดูแลสุขภาพส่วนบุคคล วัยเด็กตอนกลาง (6-12 ปี) มีความรู้กว้างขวางขึ้นและเข้าใจโรคทางกายภาพและสังคม สร้างทัศนคติที่ดีต่อตนเอง เรียนรุ้ถึงบทบาทที่เหมาะสมของเพศหญิงและเพศชาย พัฒนาความรู้สึกกลัวบาป ศีลธรรม และค่านิยม เรียนรู้ในการอ่าน เขียน คิด คำนวณ และทักษะทางสติปัญญาอื่นๆ เรียนรู้ที่จะ ชนะและให้ตนเองอยู่ในกลุ่มเพื่อน เรียนรู้ที่จะให้และรับ และเกิดการแลกเปลีย่นความรับผิด ชอบ วัยรุ่น (12-18 ปี) พัฒนาความรู้สึกที่ชัดเจนของการเป็นตัวของตัวเอง และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ปรับตัวให้ เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สร้างสัมพันธภาพที่ใหม่และเป็นผู้ใหญ่มากขึ้นในเพื่อน วัยเดียวกัน มีอารมณ์ที่เป็นตัวของตัวเองโดยไม่ขึ้นกับพ่อแม่ เลือกและเตรียมตัวสำหรับงาน อาชีพ มีค่านิยมที่เหมาะสมกับวุฒิภาวะ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม เตรียมตัวสำหรับ การแต่งงานและมีครอบครัว สร้างความสนใจในสิ่งอื่นนอกเหนือจากตนเอง
  • 31. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (18-35 ปี) เข้าใจความหมายของคำว่าชีวิต เริ่มต้นงานอาชีพ เลือกและเรียนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่กับคู่สมรส เริ่มต้นตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย และจิตใจของบุตร บริหาร-จัดการ ครอบครัว พบปะสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มสังคมที่ถูกคอกัน รับผิดชอบในหน้าที่ พลเมืองที่ดี วัยกลางคน (36-60 ปี) รับผิดชอบในหน้าที่พลเมืองที่ดีและหน้าที่ต่อสังคมอย่างเต็มที่ สร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจสำหรับครอบครัวในอนาคต มีกิจกรรมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยาย ขอบเขตของความสนใจ ช่วยให้วัยรุ่นกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและมีสุข ปรับตัว ให้เหมาะสมกับการเป็นบิดามารดาในวัยที่มีอายุมากขึ้น ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกายของคนในวัยนี้ วัยสุดท้ายของชีวิต (60 ปีขึ้นไป) ปรับตัวต่อการลดลงของความแข็งแรงทางด้านร่างกาย ปรับตัวต่อการเกษียณอายุ การลด ลงของรายได้ การเสียชีวิตของคู่สมรสและเพื่อนฝูง มีบทบาทที่จำกัดในด้านความรับผิด ชอบต่อสังคมทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละบุคคล
  • 32. ทฤษฎีพัฒนาการ (Development theory) วัย ภาระ ทุกวัย พัฒนาและใช้ความสามารถของตนเอง ยอมรับตนเอง และพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง ยอมรับความเป็นจริง และเสริมสร้างทัศนคติ และค่านิยมที่ถูกต้องและมีคุณค่า มีส่วนร่วม อย่างสร้างสรรค์และรับผิดชอบต่อครอบครัวและต่อกลุ่มอื่น สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล อื่นในสังคม James C.Coleman, 1969
  • 34.
  • 36.
  • 38. ทฤษฎีการจูงใจ (Motivation theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสมดุลยภาพและแรงขับ (Homeostasis and drive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับความจำเป็นและแรงขับ (Theory of needs and drives) • ทฤษฎีเกี่ยวกับเหตุกระตุ้นใจ (Incentive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับสัญชาตญาณ (Instinct theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตไร้สำนึก (Theory of unconscious motivation) • ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive theory) • ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิญญาณ (Spiritual theory)
  • 40.
  • 41. Bloom’s learning theory พุทธิพิสัย (Cognitive domain) เจตพิสัย (Affective domain) ทักษะพิสัย (Psychomotor domain) ความรู้ (Knowledge) การให้ความสนใจ (Receiving) การเลียนแบบ (Imitation) ความเข้าใจ (Comprehensive) การตอบสนอง (Responding) การทำตามแบบ (Manipulation) การประยุกต์ (Application) การสร้างคุณค่าและค่านิยม (Values) การมีความถูกต้อง (Precision) การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดกลุ่มค่า (Organising) การกระทำอย่างต่อเนื่อง (Articulation) การสังเคราะห์ (Synthesis) การแสดงลักษณะค่านิยมที่ยึดถือ การกระทำโดยธรรมชาติ (Naturalisation) การประเมินผล (Evaluation)
  • 42. Cognitive Domain Original Domain New Domain Evaluation Creating Synthesis Evaluating Analysis Analyzing Application Applying Comprehension Understanding Knowledge Remembering
  • 43.
  • 44.
  • 46. แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การรับรู้โอกาสเสี่ยง Received susceptibility การรับรู้ความรุนแรงของโรค Received seriousness ประชาสังคม Socio-demographic การรับรู้ถึงอันตราย Received threat การรับรู้ประโยชน์ Received benefits การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา Received barriers วิธีการปฏิบัติ Action http://www.med.usf.edu แนวทางในการปฏิบัติ Cues to action แรงจูงใจด้านสุขภาพ Health motivation ปัจจัยร่วม Modifying factors
  • 48. เนื้อหา (Concepts) ความหมาย (Definition) การประยุกต์ใช้ (Applications) การรับรู้โอกาสเสี่ยง จะต้องมีโอกาสรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงต่อโรคนั้น ๆ ศึกษาประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ความเสี่ยงของบุคคลโดยยึดตามฐาน บุคลิกลักษณะ หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ แสดงออกในการรับรู้ภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรค การรับรู้ต่อความรุนแรงของโรค จะต้องรับรู้ถึงความรุนแรงและผลที่จะได้รับจาก การเป็นโรคนั้นๆ ระบุผลของการเป็นโรคตลอดจนเงื่อนไขต่างๆ ที่จะ ได้รับจากการเป็นโรค การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับ จะต้องรับรู้ถึงผลประโยชน์และประสิทธิผลใน การปฏิบัติเพื่อป้องกันและรักษาเกี่ยวกับโร คนั้นๆ หาวิธีการปฏิบัติว่าควรทำอย่างไร ทำเมื่อไหร่ ที่ไหน และประสิทธิผลที่คาดว่าจะได้รับ การรับรู้อุปสรรค/ปัญหา จะต้องรับรู้อุปสรรคตลอดจนปัญหาต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ วิเคราะห์ถึงปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะ เกิดขึ้นเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขและลดการเกิด ปัญหาตลอดจนวิธีการให้ความช่วยเหลือ แนวทางในการปฏิบัติ แนวทางในการปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงจากการ เป็นโรคจะขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงภาวะเสี่ยงและ ความรุนแรงของโรค มีขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องชัดเจน เกี่ยวข้องกับการป้องกัน การรักษา ตลอดจนการ แก้ไขปัญหาต่างๆ แก่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง ความสามารถในการเปลี่ยนพฤติกรรม ของตนเอง (Self-efficacy) ผู้ปฏิบัติมีความมั่นใจในการปฏิบัติตามขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง มีการให้ความรู้ การฝึกอบรม การให้สุขศึกษาเกี่ยว กับการปฏิบัติตนเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของตนเพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น เพื่อก่อให้เกิดความเชื่อ มั่นในการปฏิบัติดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 49. แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม • การตัดสินใจส่วนใหญ่ของบุคคลจะขึ้นอยู่กับอิทธิพลของบุคคลผู้ซึ่งมีความสำคัญ และมีอำนาจเหนือกว่าตัวเราเอง • การจัดโปรแกรมสุขศึกษา • การสนับสนุนทางด้านอารมณ์ (Emotional support) เช่น การให้ความสนใจ การ ยอมรับนับถือ ความห่วงใย การกระตุ้นเตือน การถามไถ่ • การสนับสนุนโดยการให้การประเมิน (Appraisal support) เช่น การให้ข้อมูล ย้อนกลับ การเห็นพ้อง การให้การรับรอง หรือการยอมรับในสิ่งที่คนอื่น แสดงออกมา หรือการช่วยเหลือโดยทางตรงหรือทางอ้อม • การให้ข้อมูลข่าวสาร (Information support) เช่น การให้คำปรึกษาแนะนำ การ ตักเตือน การให้ความรู้
  • 50. ทฤษฎีความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลของการกระทำที่จะเกิดขึ้น สูง ต่ำ ความคาดหวังเกี่ยวกับ ความสามารถของตนเอง สูง มีแนวโน้มที่จะทำแน่นอน มีแนวโน้มที่จะไม่ทำ ต่ำ มีแนวโน้มที่จะไม่ทำ มีแนวโน้มที่จะไม่ทำแน่นอน บุคคล Person พฤติกรรม Behavior ผลลัพธ์ Outcome ความคาดหวังในความสามารถ Efficacy expectations ความคาดหวังในผลของการกระทำที่จะเกิดขึ้น Outcome expectations
  • 51. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความคาดหวังความสามารถของบุคคล • Performance accomplishment คือ ความสามารถจากการกระทำ ซึ่งเป็นปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อความคาดหวังเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลมากที่สุด • Vicarious experience คือ การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่นประสบความสำเร็จ • Verbs persuasion คือ การที่ผู้อื่นใช้ความพยายามในการพูดกับบุคคลเพื่อให้เขา เชื่อว่าเข้ามีความสามารถที่จะกระทำพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้ประสบความ สำเร็จได้ • Emotion arousal คือ สภาวะทางอารมณ์ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ตื่น เต้น มีอาการอ่อนเพลีย เมื่อยล้า จะส่งผลต่อความคาดหวังต่อพฤติกรรมของ ตนเอง
  • 52. ลักษณะความสามารถของบุคคล Bandura, 1977 ปริมาณความคาดหวัง Magnitude การนำไปใช้ Generally ความมั่นใจ Strength
  • 53.
  • 54. แนวความคิดเกี่ยวกับความเชื่ออำนาจแห่งตน พฤติกรรม ผลตอบแทน ความคาดหวังพฤติกรรม ใหม่ ผลตอบแทนจากพฤติกรรม ใหม่ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ย้อนกลับไปสู่ความคาด หวังอื่นๆ ความเชื่อเกี่ยวกับอำนาจ ภายใน/ภายนอกของตน ควาคาดหวังขยายออก ครอบคลุมพฤติกรรมทั่วไป อำนาจภายนอกตนเอง (External locus of control) บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ตนนั้นขึ้นอยู่กับอิทธิพลภายนอกตนเองที่ไม่สามารถ ควบคุมได้ เช่น โชค เคราะห์ ความบังเอิญ หรืออิทธิพลที่ ผู้อื่นบันดาลให้เป็นไป อำนาจภายในตนเอง (Internal locus of control) บุคคลเชื่อหรือรับรู้ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ตนนั้นเป็นผลมาจากการกระทำหรือจากความสามารถ ของตน •มีความกระตือรือร้นต่อความเป็นไปของสิ่งแวดล้อม ซึ่ง เป็นประโยชน์สำหรับพฤติกรรมในอนาคต •พยายามปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้เป็นไปตามขั้น •เห็นคุณค่าของทักษะหรือผลสัมฤทธิ์จากความพยายาม เป็นสำคัญและคำนึงถึงความสามารถของตนเองอยู่เสมอ
  • 55. ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล ทัศนคติต่อพฤติกรรม พฤติกรรม น้ำหนักในการ พิจารณาด้วยทัศนคติ และบรรทัดฐาน บรรทัดฐานของกลุ่มอ้างอิง ความตั้งใจใน การที่จะประกอบ พฤติกรรม ความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับผลของ พฤติกรรมและการประเมินคุณค่าตาม ความเชื่อ ความเชื่อของบุคคลตามความคาดหวัง ของกลุ่มอ้างอิงเกี่ยวกับพฤติกรรมและ แรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคาดหวัง นั้น Ajzen, I and Fishbein, M, 1980
  • 56. PRECEDE framework model องค์ประกอบปัญหา สุขภาพ ปัจจัยนำ •ความรู้ •เจตคติ •ค่านิยม •การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ •ทรัพยากรที่มีอยู่ •การเข้าถึงทรัพยากร •ทักษะ ปัจจัยเสริม เจตคติและพฤติกรรมของ บุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น กลุ่มเพื่อน พ่อแม่ พนักงาน ฯลฯ สาเหตุอื่นๆ สาเหตุพฤติกรรมทาง สุขภาพ คุณภาพชีวิต ปัญหาสุขภาพ ปัญหาอื่น ขั้นตอนที่ 6 การวิเคราะห์ทางการ บริหาร ขั้นตอนที่ 4-5 การวิเคราะห์ทางการ ศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ทาง พฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ขั้นตอนที่ 1-2 การวิเคราะห์ทางการ ระบาดวิทยาและสังคม Lawrence W.Green, et. al. , 1980
  • 57. การวิเคราะห์ทางสังคม Social diagnosis • เน้นปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งผู้ที่วิเคราะห์ต้องมีความรู้ความ เข้าใจปัญหานั้นเช่นเดียวกับประชาชนในชุมชนนั้นด้วย 1 Communit y forum Nominal groups Focus groups Central location intercept การยึดจุดศูนย์กลางของสังคม Interviews Survey การเข้าร่วมในชุมชน การศึกษาแบบกลุ่มเดี่ยว/ย่อย การสัมภาษณ์ การสำรวจ การศึกษากลุ่มเป้าหมาย
  • 58. การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา Epidemiological diagnosis • ช่วยค้นหาปัจจัยทางด้านพฤติกรรม และสิ่งแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สุขภาพที่เกิดขึ้น เงื่อนไขหรือสภาวะสุข ภาพอื่นๆ กับคุณภาพชีวิต การกำหนดแนวทาง วิธีการ ดำเนินการ เพื่อให้สอดคล้องกับ ทรัพยากรที่มีอยู่ ความเป็นไปได้ในการกำหนด ความรับผิดชอบระหว่างเจ้าหน้าที่กับ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มเป้าหมายคือใคร (Who) ผลลัพธ์ที่ตามมาคืออะไร (What) ผลประโยชน์มีมากน้อยเพียงใด (How much) เมื่อใดที่จะได้รับผลประโยชน์นั้น (When)
  • 59. การวิเคราะห์ทางพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม Behavioural and environmental diagnosis • ปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพที่มีและไม่มีผลต่อสุขภาพ • ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ กับการเกิดโรค • ปัญหาสุขภาพที่ไม่ได้เกิดจากปัจจัยด้านพฤติกรรมสุขภาพ เช่น พันธุกรรม อายุ เพศ อากาศ สถานที่ปฏิบัติงาน ความพอเพียงของอุปกรณ์ทางการแพทย์ 3
  • 60. การวิเคราะห์ทางการศึกษา 4 Educational diagnosis ปัจจัยนำ Predisposing factor ปัจจัยเอื้อ Enabling factor ปัจจัยเสริม Reinforcing factor ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการกระทำของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลในลักษณะของการจูงใจ หรือ ความชอบส่วนบุคคล ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณลักษณะประชากร ความรู้ เจตคติ และความเชื่อ ปัจจัยที่จำเป็นต่อการทำให้เกิดพฤติกรรมทางด้านสุขภาพ ประกอบด้วย ทักษะ (ความรู้ความ สามารถของเจ้าหน้าที่ การให้บริการ) ทรัพยากร (สิ่งที่เอื้ออำนวยในการรักษาสุขภาพ บุคคล โรงเรียน คลินิค และทรัพยากรต่างๆ) รวมทั้งความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากร ปัจจัยที่แสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมสุขภาพนั้นได้รับการสนับสนุน การเสริมแรงจะเป็นได้ทั้งทาง ด้านบวกและลบ ขึ้นอยู่กับทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคลเหล่านั้น
  • 61. การวิเคราะห์ทางการบริหาร 5 Administration diagnosis • การประเมินทรัพยากร • งบประมาณ • การกำหนดระยะเวลาในการดำเนินงาน • หน่วยงานหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง • การได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ • ความร่วมมือจากชุมชน • นโยบาย และสถานการณ์ขององค์การที่แอบแฝง
  • 62. การดำเนินการ 6 Implementation of the programme • ดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดเอาไว้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
  • 63. การประเมินกระบวนการดำเนินงาน 7 Process evaluation • เพื่อประเมินกระบวนการเกี่ยวกับการดำเนินงานตามแผนที่วางเอาไว้ว่ามีประสิทธิผลมากน้อย เพียงใด • เพื่อหาข้อผิดพลาด และปัญหาที่เอาจเกิดขึ้นระหว่างการดำเนินการ
  • 64. การประเมินปัญหาและอุปสรรค 8 Impact evaluation • ประเมินประสิทธิผลและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยเสริม
  • 65. การประเมินผลลัพธ์ 9 Outcome evaluation • ประเมินผลที่เกิดจากการดำเนินการตามแผนที่วางเอาไว้ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ มากน้อยเพียงใด มีความเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับสุขภาพที่เกิดขึ้นหรือไม่ และประโยชน์ที่สังคม จะได้รับ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของประชาชนที่เกิดขึ้นหลังการดำเนินการ
  • 66.
  • 67. PRECEDE PROCEED model • ใช้อธิบายพฤติกรรมของชุมชนหรือกลุ่มบุคคล • ใช้วิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ และหาสาเหตุเพื่อวางแผนงานส่งเสริมสุขภาพ • วิเคราะห์ในหลายประเด็น • สาเหตุทางสังคม • สาเหตุทางชีวภาพการแพทย์ • สาเหตุทางพฤติกรรมศาสตร์ • สาเหตุทางด้านการบริหาร
  • 68. หลักการของ PRECEDE PROCEED model PRECEDE PROCEED Model การ1 มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 2 ปัจจัยสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
  • 69. The behavioral matrix ความสำคัญ/ความสามารถ ในการเปลี่ยนแปลง มีสำคัญมาก มีสำคัญน้อย สามารถเปลี่ยนแปลงได้มาก มีความสำคัญมากและ เปลี่ยนแปลงได้มาก มีความสำคัญน้อยแต่ เปลี่ยนแปลงได้มาก สามารถเปลี่ยนแปลงได้น้อย มีความสำคัญมากแต่ เปลี่ยนแปลงได้น้อย มีความสำคัญน้อยและ เปลี่ยนแปลงได้น้อย
  • 70. Empowerment education model การศึกษาเพื่อสร้างพลัง การสร้างพลัง Paulo Freire , 1975 เป็นการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมโดยให้ผู้เรียนระบุปัญหาของตน วิเคราะห์สาเหตุและความมั่นคงของปัญญา โดยใช้วิจารณญาณ การมองภาพสังคมที่ ควรเป็น และการพัฒนากลวิธีที่จะแก้ไข อุปสรรคเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ เป็นกระบวนการที่บุคคลและชุมชน มีความ สามารถร่วมมือและควบคุมในการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต และสังคม สิ่งแวดล้อม ที่ตนอาศัยอยู่ให้สอดคล้องกับสภาพความ เป็นจริง
  • 71. Empowerment education model •การเรียนการสอนเน้นการสร้างพลังให้แก่บุคคล เป็นการสนับสนุนให้บุคคลเล็งเห็นความสัมพันธ์ของตนกับสิ่ง แวดล้อม และเชื่อว่าตนสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตนเอง ชุมชน และสังคมได้ •การเรียนรู้ที่จะเริ่มจากประสบการณ์ของผู้เรียน แล้วให้ผู้เรียนวิทเคราะห์ โยงใยปัญหาต่างๆ ของบุคคลเข้ากับปัจจัย ทางสังคมที่เป็นเหตุนำไปสู่การปรับพฤติกรรม •การเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกๆ ขั้นตอน ตั้งแต่การเลือก ปัญหา การวางแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลตนเอง และการประเมินผลโครงการ •การเรียนรู้ร่วมกันเป้นกลุ่ม ให้โอกาสผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดซึ่งกันและกัน •การเรียนรู้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งความรู้ ทัศนคติ และทักษะซึ่งอาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงทันทีหรือภายหลัง การลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม •การเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นและมีความต่อเนื่องในกระบวนการเรียนการสอน •การเรียนการสอนที่สนุกสนานไม่น่าเบื่อ และมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน Paulo Freire , 1975 หลักการของ Empowerment
  • 72. กระบวนการของ Empowerment ประสบการณ์ (Experience) การนำประสบการณ์ที่ผู้เรียนหรือบุคคล กระทำ รู้สึก มองเห็น หรือได้ยิน การ จำลองประสบการณ์เป็นจุดเริ่มต้นของ กระบวนการเรียนรู้ การระบุประสบการณ์ (Naming) การแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึกต่อ ประสบการณ์โดยผู้เรียน การวิเคราะห์ (Analysis) การให้ผู้เรียนแต่ละคนและกลุ่มเกิดความ เข้าใจในอิทธิพลและความสัมพันธ์กับสิง่ ต่างๆ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุกา รณ์นั้นๆ การปฎิบัติ (Doing) การกระทำเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงและการ ปฏิบัติ โดยการปฏิบัติจะกลายเป็น ประสบการณ์ใหม่ที่จะทำไปสู่การเรียนรู้ที่ ต่อเนื่องต่อไป การวางแผน (Planning) ผู้เรียนได้หาแนวทางหรือกลวิธีเพื่อการ เปลี่ยนแปลงโดยกำหนดว่าจะทำอะไร และอย่างไรต่อไปจากประสบการณ์นั้น
  • 73. การวางแผนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ • การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพ/ปัญหาสาธารณสุข • การวิเคราะห์สาเหตุของพฤติกรรม • ปัจจัยนำ (Predisposing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นฐานและก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของ บุคคล ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม การรับรู้ และทักษะดั้งเดิม • ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors) คือ สิ่งที่เป็นแหล่งทรัพยากรที่จำเป็นในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล ชุมชน และทักษะใหม่ • ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors) คือ ปัจจัยที่เป็นผลสะท้อนที่บุคคลจะได้รับหรือคาดว่าจะได้รับจากการ แสดงพฤติกรรมนั้น เช่น รางวัล ผลตอบแทน การลงโทษ • การวิเคราะห์พฤติกรรมเป้าหมาย • การวางแผนดำเนินงาน • การดำเนินงานตามแผนพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่วางไว้ • การประเมินผลการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
  • 74. การปรับพฤติกรรม Behaviour = f ( Organism * Environment) Knowledge Attitude Belief Value Perception Skill Intention practice