SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ความน่าปวดหัวของศัพท์ทางจริยศาสตร์ (ร่าง)
ยุทธศิลป์ อร่ามศรี
1. ศัพท์ทางจริยศาสตร์
• ศัพท์ทางจริยศาสตร์เช่น ethics, morality, moral, good, bad เป็นต้น
• นักปรัชญาแต่ละคนหรือสานักมักใช้ในความหมายต่างกัน
• ใน ppt. นี้จะอภิปรายความหมายของศัพท์เบื้องต้น
• เป้าหมายเพื่อสร้างความเข้าใจเบื้องต้น ไม่ได้ถกเถียงที่ควรจะเป็น
2. Morality, Moral, Ethics
1) morality เป็นคานาม แต่ moral เป็นทั้งคานามและคุณศัพท์
2) ถ้าไม่เคร่งครัด morality, moral, ethics จะใช้สลับกันได้หมายถึงจริยธรรม
(แต่ ethics มีหลายความหมาย)
3) นักปรัชญาบางคน/สานักเคร่งครัดจึงใช้ต่างกันเช่น บางคนเสนอว่า morality
ควรเป็นความหมายแคบ ส่วน ethics เป็นความหมายกว้าง
3. Morality
1) ในภาษาไทย morality มีคนแปลว่า “จริยธรรม” และ“ศีลธรรม” และใช้คาว่า
จริยธรรม สลับกับ ศีลธรรม
2) จริยธรรมและศีลธรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับการตัดสินประเมินคุณค่าของการกระทา,
สิ่งที่ควรทา ไม่ควรทา, เป้าหมายของชีวิต เป็นต้น
3) จริยธรรมไม่จาเป็นต้องเกี่ยวกับศาสนา
- บางคนเชื่อว่า เป็นคนดีไม่ได้ถ้าไม่นับถือศาสนา เพราะเชื่อว่าจริยธรรมไม่
สามารถแยกออกจาก
- แต่แยกได้จริงๆ เช่น จริยธรรมแพทย์ ไม่เกี่ยวกับศาสนาเลย
3. Morality (2)
4) ศีลธรรม มาจาก “ศีล” + “ธรรม” แสดงว่าให้นัยยะถึงศาสนาพุทธ แต่จริยธรรม
เป็นคากลางๆ
5) ส่วน morality เป็นคากลางๆ ดังนั้น ไม่ควรแปล morality ว่า ศีลธรรม แต่ควร
แปลว่า จริยธรรม
6) เมื่อแปล ศีลธรรม กลับเป็นภาษาอังกฤษ ควรจะตรงกับคาว่า Buddhist
morality ซึ่งก็คือ จริยธรรมแบบพุทธศาสนา
7) ข้อสังเกตคือ ทาไมต้องยังใช้คาว่า ศีลธรรม ทั้งๆ มีคาที่เข้ากันได้กับระบบ
มากกว่าคือจริยธรรมแบบพุทธศาสนา ?
4. Ethics
1) ethics มีหลายความหมาย นั่นคือ
4.1 จริยธรรม
4.2 จริยศาสตร์ (ความหมายแคบ)
4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง)
4.1 จริยธรรม
1) ethics มาจากภาษากรีก “ethos” แปลว่า ลักษณะบุคคล ธรรมเนียม เป็นต้น
2) morality มาจากภาษาละติน “moralis” แปลว่า ลักษณะบุคคล มารยาท เป็นต้น
3) ข้อสังเกตคือแต่ละสมัย แต่ละภาษาที่ได้รับเอาคาเหล่านี้ไปใช้ก็นาไปใช้ใน
ความหมายที่แตกต่างกันอีก
4.2 จริยศาสตร์ (ความหมายแคบ)
1) เหตุที่บอกว่าแคบเพราะปัจจุบันใช้กันในความหมายกว้าง
2) จริยศาสตร์คือสาขาหนึ่งของปรัชญา ศึกษา โต้แย้ง พัฒนาข้อถกเถียง การอ้าง
เหตุผลเกี่ยวกับจริยธรรม คุณธรรม และอื่นๆ
3) ข้อสังเกตคือคนจานวนมากในไทย แม้แต่ในระดับบัณฑิตศึกษาและอาจารย์ก็ไม่
เข้าใจว่าจริยศาสตร์ใช้วิธีการทางปรัชญา
4) และไม่ยอมเข้าใจสักทีว่าปรัชญาในฐานะวิชามาจากวิชาปรัชญา (philosophy as
discipline)กาเนิดขึ้นในโลกตะวันตก
5) ข้อสังเกตคือ philosophy as discipline กับ as love of wisdom ต่างกัน
4.2 จริยศาสตร์ (ความหมายแคบ) (2)
6) ความหมายกว้างจะเรียกจริยศาสตร์ (ความหมายแคบ, สาขาปรัชญา) ว่า
Moral philosophy
7) Moral philosophy มีคนแปลว่า จริยปรัชญา ปรัชญาจริยธรรม ปรัชญาศีลธรรม
ปรัชญาจริยะ และจริยศึกษา
8) ไม่ควรแปล Moral philosophy ว่าจริยศึกษา (ethical studies) เพราะมีคาแปล
สาหรับ Moral philosophy ที่ดีแล้วและซ้ากับจริยศึกษาที่เป็นอีกวิชาที่เกี่ยวกับ
การสอนจริยธรรมที่อยู่ในคณะศึกษาศาสตร์
4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง)
1) ปัจจุบันขอบเขตของจริยศาสตร์กว้างขึ้น เพราะการศึกษาจริยธรรมไม่ได้ใช้เพียง
วิธีการทางปรัชญาอย่างเดียวแบบในอดีต แต่ก่อนเลยใช้จริยศาสตร์ใน
ความหมายเดียวกับปรัชญาจริยธรรม แต่วงการปรัชญาเป็นที่รู้กันว่าเมื่อพูดถึง
จริยศาสตร์ก็คือปรัชญาจริยธรรม
2) ขอบเขตที่กว้างขึ้นเป็นผลจากการแยก fact กับ value หรือ is กับ ought แต่
การศึกษาจริยธรรมสามารถทาได้ทั้งสองแง่ จึงทาให้วิธีการอื่นที่ไม่ใช่วิธีการทาง
ปรัชญาเข้ามามีบทบาท
4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) (2)
3) วิธีการของจริยศาสตร์จึงประกอบด้วย
- วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาข้อเท็จจริง
- วิธีการทางปรัชญา ศึกษาคุณค่า
4) จริยศาสตร์อาจแบ่งออกเป็น 3 สาขาคือ
- จริยศาสตร์เชิงพรรณนา (descriptive ethics)
- จริยศาสตร์เชิงบรรทัดฐาน (normative ethics)
- อภิจริยศาสตร์ (meta-ethics)
4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) (3)
5) จริยศาสตร์เชิงพรรณนา มุ่งอธิบายปรากฏการณ์ทางจริยธรรมเช่น สาเหตุกับผล
(cause and effect) เช่น ทาไมคนไทยจึงคิดว่าบางสถาบันเป็นความดีสูงสุด
การศึกษาใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์
6) จริยศาสตร์เชิงบรรทัดฐาน มีเป้าหมายเพื่อตอบปัญหาจริยธรรมในเชิงบรรทัด
ฐาน เช่น การฆ่าตัวตายเป็นเรื่องที่ควรกระทาหรือไม่ การศึกษาใช้ปรัชญา
7) อภิจริยศาสตร์ มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์มโนทัศน์ที่เกี่ยวกับจริยธรรมเช่น ดีคือ
อะไร การฆ่าตัวตายคืออะไร เป็นต้น วิธีการศึกษาหนีไม่พ้นปรัชญา
4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) (4)
8) ข้อที่ 5-7 ยังมีการถกเถียงกันไม่จบ แต่อธิบายแบบนี้เพราะเป็นเบื้องต้นตาม
เป้าหมายของ ppt. ตัวอย่างเช่น...
9) บางคนรวมอภิจริยศาสตร์เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์เชิงพรรณนาเพราะ
ไม่ใช่เชิงบรรทัดฐาน
10) บางคนไม่ยอมรับให้การวิเคราะห์มโนทัศน์เช่น การฆ่าตัวตาย ผู้บริสุทธิ์ การทา
แท้ง การโกหก เป็นต้น เป็นส่วนหนึ่งของอภิจริยศาสตร์เพราะแม้จะปรากฏอยู่ใน
การอ้างเหตุผล แต่ไม่เกี่ยวกับคุณค่า ดี/เลว ถูก/ผิด
5. Ethical studies
1) Ethical studies แปลตรงๆ ได้ว่า “จริยศึกษา”
2) เรื่องนี้ไม่ควรจะอยู่ใน ppt. แต่เป็นเรื่องความสับสนอย่างมากเพราะ
มีคนเปลี่ยนชื่อจริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม) ให้เป็นจริยศึกษา
3) ปัจจุบันมีคนใช้คาและเช้าใจ Ethical studies ไปใน 3 ทางคือ
3.1 จริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม)
3.2 สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์
3.3 จริยศาสตร์ศึกษา
5.1 จริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม)
1) Ethical studies = จริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม)
2) ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าวิชาที่ลงท้ายด้วย “-ศึกษา” ควรถูกแบ่งกลุ่มแยกออกจาก
สาขาวิชาเดี่ยว (mono-discipline) และควรอยู่ในกลุ่มสาขาวิชาที่ไร้พรมแดน
(non-boundary discipline)
3) แต่จริยศาสตร์เป็นสาขาวิชาเดี่ยว ดังนั้นจึงไม่ควรแปล ethical studies ว่าจริย
ศาสตร์ และจริยศาสตร์ก็ตรงกับ ethics อยู่แล้ว คาถามคือจะสร้างความสับสน
ขึ้นมาเพื่ออะไร
5.2 สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์
1) สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์คือ จริยศึกษา นั่นก็คือความเข้าใจนี้แปลคาว่า
ethical studies ออกมาตรงๆ
2) วิชานี้ศึกษาวิธีการสอนจริยธรรม จะสอนให้คนมีจริยธรรมอย่างไร เหตุผลที่วิชา
นี้อยู่ในศึกษาศาสตร์ก็เพราะมีเป้าหมายเพื่อสอนให้ครูนาความรู้ไปสอนนักเรียน
ในโรงเรียน
3) ความเข้าใจและการแปลแบบนี้มีการยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลาย ไม่จากัด
เพียงพวกศึกษาศาสตร์เพียงอย่างเดียว
5.2 สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์ (2)
4) ข้อสังเกตคือความเข้าใจแบบนี้ดูเหมือนกับจะสหนัยกับฟิสิกส์ศึกษา เคมีศึกษา
วิทยาศาสตร์ศึกษา แต่พวกนี้แปลมาจาก physics education, chemistry
education และ science education
5) และเข้ากันไม่ได้กับเรื่องสาขาวิชาที่ไร้พรมแดน
6) ดังนั้น ควรเลือกแปลใหม่เป็น “การสอนจริยธรรม”
5.3 จริยศาสตร์ศึกษา
1) จริยศาสตร์ศึกษา = ethical studies
2) การแปลและความเข้าใจนี้มาจากหลักสูตรหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล อาจนับ
ได้ว่าเป็นความเข้าใจแบบใหม่ ที่ไม่เคยมีใครเข้าใจมาก่อนในไทยและในโลก นั่น
คือ จริยศาสตร์ศึกษาเกิดก่อน แล้วค่อยมีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ
3) จริยศาสตร์ศึกษาเป็นการศึกษาแบบสหสาขาวิชาเกี่ยวกับจริยธรรม นั่นคือไม่ได้
ศึกษาในเชิงปรัชญาอย่างเดียว แต่มีสังคมศาสตร์ จริยศึกษา (ที่อยู่ในคณะ
ศึกษาศาสตร์ด้วย)
5.3 จริยศาสตร์ศึกษา (2)
5) จริยศาสตร์ศึกษาควรมีอยู่หรือไม่เป็นที่ถกเถียงกันมาก
6) การทางานของจริยศาสตร์ศึกษาเป็นอย่างไรก็เถียงกันไม่เลิก
7) ข้อสังเกตคือ จริยศาสตร์เป็นสาขาวิชา เมื่อเติมคาว่า “-ศึกษา” ก็ควรเข้าใจว่า
เป็นการศึกษาวิชาจริยศาสตร์จากมุมมองต่างๆ แล้วมันคืออะไร?
8) จริยศาสตร์ศึกษาบอกเองว่าตนเองเป็นการศึกษาจริยธรรมแบบสหสาขา แสดง
ว่าควรเรียกตัวเองว่า จริยธรรมศึกษา มากกว่า ส่วนการแปลเป็น ethical
studies เหมาะสมแล้ว
6. Distinction
• คู่คาของจริยศาสตร์เช่น good/bad, right/wrong, permission/ non-permission,
good/evil, บุญ/บาป, ดี/เลว, ถูก/ผิด เป็นต้น
• ความสาคัญของเรื่องนี้คือเมื่อเราคู่คา 2 คู่จะได้ 4 แบบเช่น
- การกระทาหนึ่งถูกและบาป
- การกระทาหนึ่งถูกแต่ไม่บาป
- การกระทาหนึ่งผิดและบาป
- การกระทาหนึ่งผิดแต่ไม่บาป

More Related Content

What's hot

7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะPadvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ PdfMameaw Pawa
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 

Similar to Ethics, morality

ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีPa'rig Prig
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีPa'rig Prig
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 

Similar to Ethics, morality (20)

ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
10
1010
10
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 

Ethics, morality

  • 2. 1. ศัพท์ทางจริยศาสตร์ • ศัพท์ทางจริยศาสตร์เช่น ethics, morality, moral, good, bad เป็นต้น • นักปรัชญาแต่ละคนหรือสานักมักใช้ในความหมายต่างกัน • ใน ppt. นี้จะอภิปรายความหมายของศัพท์เบื้องต้น • เป้าหมายเพื่อสร้างความเข้าใจเบื้องต้น ไม่ได้ถกเถียงที่ควรจะเป็น
  • 3. 2. Morality, Moral, Ethics 1) morality เป็นคานาม แต่ moral เป็นทั้งคานามและคุณศัพท์ 2) ถ้าไม่เคร่งครัด morality, moral, ethics จะใช้สลับกันได้หมายถึงจริยธรรม (แต่ ethics มีหลายความหมาย) 3) นักปรัชญาบางคน/สานักเคร่งครัดจึงใช้ต่างกันเช่น บางคนเสนอว่า morality ควรเป็นความหมายแคบ ส่วน ethics เป็นความหมายกว้าง
  • 4. 3. Morality 1) ในภาษาไทย morality มีคนแปลว่า “จริยธรรม” และ“ศีลธรรม” และใช้คาว่า จริยธรรม สลับกับ ศีลธรรม 2) จริยธรรมและศีลธรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับการตัดสินประเมินคุณค่าของการกระทา, สิ่งที่ควรทา ไม่ควรทา, เป้าหมายของชีวิต เป็นต้น 3) จริยธรรมไม่จาเป็นต้องเกี่ยวกับศาสนา - บางคนเชื่อว่า เป็นคนดีไม่ได้ถ้าไม่นับถือศาสนา เพราะเชื่อว่าจริยธรรมไม่ สามารถแยกออกจาก - แต่แยกได้จริงๆ เช่น จริยธรรมแพทย์ ไม่เกี่ยวกับศาสนาเลย
  • 5. 3. Morality (2) 4) ศีลธรรม มาจาก “ศีล” + “ธรรม” แสดงว่าให้นัยยะถึงศาสนาพุทธ แต่จริยธรรม เป็นคากลางๆ 5) ส่วน morality เป็นคากลางๆ ดังนั้น ไม่ควรแปล morality ว่า ศีลธรรม แต่ควร แปลว่า จริยธรรม 6) เมื่อแปล ศีลธรรม กลับเป็นภาษาอังกฤษ ควรจะตรงกับคาว่า Buddhist morality ซึ่งก็คือ จริยธรรมแบบพุทธศาสนา 7) ข้อสังเกตคือ ทาไมต้องยังใช้คาว่า ศีลธรรม ทั้งๆ มีคาที่เข้ากันได้กับระบบ มากกว่าคือจริยธรรมแบบพุทธศาสนา ?
  • 6. 4. Ethics 1) ethics มีหลายความหมาย นั่นคือ 4.1 จริยธรรม 4.2 จริยศาสตร์ (ความหมายแคบ) 4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง)
  • 7. 4.1 จริยธรรม 1) ethics มาจากภาษากรีก “ethos” แปลว่า ลักษณะบุคคล ธรรมเนียม เป็นต้น 2) morality มาจากภาษาละติน “moralis” แปลว่า ลักษณะบุคคล มารยาท เป็นต้น 3) ข้อสังเกตคือแต่ละสมัย แต่ละภาษาที่ได้รับเอาคาเหล่านี้ไปใช้ก็นาไปใช้ใน ความหมายที่แตกต่างกันอีก
  • 8. 4.2 จริยศาสตร์ (ความหมายแคบ) 1) เหตุที่บอกว่าแคบเพราะปัจจุบันใช้กันในความหมายกว้าง 2) จริยศาสตร์คือสาขาหนึ่งของปรัชญา ศึกษา โต้แย้ง พัฒนาข้อถกเถียง การอ้าง เหตุผลเกี่ยวกับจริยธรรม คุณธรรม และอื่นๆ 3) ข้อสังเกตคือคนจานวนมากในไทย แม้แต่ในระดับบัณฑิตศึกษาและอาจารย์ก็ไม่ เข้าใจว่าจริยศาสตร์ใช้วิธีการทางปรัชญา 4) และไม่ยอมเข้าใจสักทีว่าปรัชญาในฐานะวิชามาจากวิชาปรัชญา (philosophy as discipline)กาเนิดขึ้นในโลกตะวันตก 5) ข้อสังเกตคือ philosophy as discipline กับ as love of wisdom ต่างกัน
  • 9. 4.2 จริยศาสตร์ (ความหมายแคบ) (2) 6) ความหมายกว้างจะเรียกจริยศาสตร์ (ความหมายแคบ, สาขาปรัชญา) ว่า Moral philosophy 7) Moral philosophy มีคนแปลว่า จริยปรัชญา ปรัชญาจริยธรรม ปรัชญาศีลธรรม ปรัชญาจริยะ และจริยศึกษา 8) ไม่ควรแปล Moral philosophy ว่าจริยศึกษา (ethical studies) เพราะมีคาแปล สาหรับ Moral philosophy ที่ดีแล้วและซ้ากับจริยศึกษาที่เป็นอีกวิชาที่เกี่ยวกับ การสอนจริยธรรมที่อยู่ในคณะศึกษาศาสตร์
  • 10. 4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) 1) ปัจจุบันขอบเขตของจริยศาสตร์กว้างขึ้น เพราะการศึกษาจริยธรรมไม่ได้ใช้เพียง วิธีการทางปรัชญาอย่างเดียวแบบในอดีต แต่ก่อนเลยใช้จริยศาสตร์ใน ความหมายเดียวกับปรัชญาจริยธรรม แต่วงการปรัชญาเป็นที่รู้กันว่าเมื่อพูดถึง จริยศาสตร์ก็คือปรัชญาจริยธรรม 2) ขอบเขตที่กว้างขึ้นเป็นผลจากการแยก fact กับ value หรือ is กับ ought แต่ การศึกษาจริยธรรมสามารถทาได้ทั้งสองแง่ จึงทาให้วิธีการอื่นที่ไม่ใช่วิธีการทาง ปรัชญาเข้ามามีบทบาท
  • 11. 4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) (2) 3) วิธีการของจริยศาสตร์จึงประกอบด้วย - วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาข้อเท็จจริง - วิธีการทางปรัชญา ศึกษาคุณค่า 4) จริยศาสตร์อาจแบ่งออกเป็น 3 สาขาคือ - จริยศาสตร์เชิงพรรณนา (descriptive ethics) - จริยศาสตร์เชิงบรรทัดฐาน (normative ethics) - อภิจริยศาสตร์ (meta-ethics)
  • 12. 4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) (3) 5) จริยศาสตร์เชิงพรรณนา มุ่งอธิบายปรากฏการณ์ทางจริยธรรมเช่น สาเหตุกับผล (cause and effect) เช่น ทาไมคนไทยจึงคิดว่าบางสถาบันเป็นความดีสูงสุด การศึกษาใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 6) จริยศาสตร์เชิงบรรทัดฐาน มีเป้าหมายเพื่อตอบปัญหาจริยธรรมในเชิงบรรทัด ฐาน เช่น การฆ่าตัวตายเป็นเรื่องที่ควรกระทาหรือไม่ การศึกษาใช้ปรัชญา 7) อภิจริยศาสตร์ มีเป้าหมายเพื่อวิเคราะห์มโนทัศน์ที่เกี่ยวกับจริยธรรมเช่น ดีคือ อะไร การฆ่าตัวตายคืออะไร เป็นต้น วิธีการศึกษาหนีไม่พ้นปรัชญา
  • 13. 4.3 จริยศาสตร์ (ความหมายกว้าง) (4) 8) ข้อที่ 5-7 ยังมีการถกเถียงกันไม่จบ แต่อธิบายแบบนี้เพราะเป็นเบื้องต้นตาม เป้าหมายของ ppt. ตัวอย่างเช่น... 9) บางคนรวมอภิจริยศาสตร์เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของจริยศาสตร์เชิงพรรณนาเพราะ ไม่ใช่เชิงบรรทัดฐาน 10) บางคนไม่ยอมรับให้การวิเคราะห์มโนทัศน์เช่น การฆ่าตัวตาย ผู้บริสุทธิ์ การทา แท้ง การโกหก เป็นต้น เป็นส่วนหนึ่งของอภิจริยศาสตร์เพราะแม้จะปรากฏอยู่ใน การอ้างเหตุผล แต่ไม่เกี่ยวกับคุณค่า ดี/เลว ถูก/ผิด
  • 14. 5. Ethical studies 1) Ethical studies แปลตรงๆ ได้ว่า “จริยศึกษา” 2) เรื่องนี้ไม่ควรจะอยู่ใน ppt. แต่เป็นเรื่องความสับสนอย่างมากเพราะ มีคนเปลี่ยนชื่อจริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม) ให้เป็นจริยศึกษา 3) ปัจจุบันมีคนใช้คาและเช้าใจ Ethical studies ไปใน 3 ทางคือ 3.1 จริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม) 3.2 สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์ 3.3 จริยศาสตร์ศึกษา
  • 15. 5.1 จริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม) 1) Ethical studies = จริยศาสตร์ (ปรัชญาจริยธรรม) 2) ก่อนอื่นต้องเข้าใจว่าวิชาที่ลงท้ายด้วย “-ศึกษา” ควรถูกแบ่งกลุ่มแยกออกจาก สาขาวิชาเดี่ยว (mono-discipline) และควรอยู่ในกลุ่มสาขาวิชาที่ไร้พรมแดน (non-boundary discipline) 3) แต่จริยศาสตร์เป็นสาขาวิชาเดี่ยว ดังนั้นจึงไม่ควรแปล ethical studies ว่าจริย ศาสตร์ และจริยศาสตร์ก็ตรงกับ ethics อยู่แล้ว คาถามคือจะสร้างความสับสน ขึ้นมาเพื่ออะไร
  • 16. 5.2 สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์ 1) สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์คือ จริยศึกษา นั่นก็คือความเข้าใจนี้แปลคาว่า ethical studies ออกมาตรงๆ 2) วิชานี้ศึกษาวิธีการสอนจริยธรรม จะสอนให้คนมีจริยธรรมอย่างไร เหตุผลที่วิชา นี้อยู่ในศึกษาศาสตร์ก็เพราะมีเป้าหมายเพื่อสอนให้ครูนาความรู้ไปสอนนักเรียน ในโรงเรียน 3) ความเข้าใจและการแปลแบบนี้มีการยอมรับและใช้กันอย่างแพร่หลาย ไม่จากัด เพียงพวกศึกษาศาสตร์เพียงอย่างเดียว
  • 17. 5.2 สาขาหนึ่งของศึกษาศาสตร์ (2) 4) ข้อสังเกตคือความเข้าใจแบบนี้ดูเหมือนกับจะสหนัยกับฟิสิกส์ศึกษา เคมีศึกษา วิทยาศาสตร์ศึกษา แต่พวกนี้แปลมาจาก physics education, chemistry education และ science education 5) และเข้ากันไม่ได้กับเรื่องสาขาวิชาที่ไร้พรมแดน 6) ดังนั้น ควรเลือกแปลใหม่เป็น “การสอนจริยธรรม”
  • 18. 5.3 จริยศาสตร์ศึกษา 1) จริยศาสตร์ศึกษา = ethical studies 2) การแปลและความเข้าใจนี้มาจากหลักสูตรหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหิดล อาจนับ ได้ว่าเป็นความเข้าใจแบบใหม่ ที่ไม่เคยมีใครเข้าใจมาก่อนในไทยและในโลก นั่น คือ จริยศาสตร์ศึกษาเกิดก่อน แล้วค่อยมีการแปลเป็นภาษาอังกฤษ 3) จริยศาสตร์ศึกษาเป็นการศึกษาแบบสหสาขาวิชาเกี่ยวกับจริยธรรม นั่นคือไม่ได้ ศึกษาในเชิงปรัชญาอย่างเดียว แต่มีสังคมศาสตร์ จริยศึกษา (ที่อยู่ในคณะ ศึกษาศาสตร์ด้วย)
  • 19. 5.3 จริยศาสตร์ศึกษา (2) 5) จริยศาสตร์ศึกษาควรมีอยู่หรือไม่เป็นที่ถกเถียงกันมาก 6) การทางานของจริยศาสตร์ศึกษาเป็นอย่างไรก็เถียงกันไม่เลิก 7) ข้อสังเกตคือ จริยศาสตร์เป็นสาขาวิชา เมื่อเติมคาว่า “-ศึกษา” ก็ควรเข้าใจว่า เป็นการศึกษาวิชาจริยศาสตร์จากมุมมองต่างๆ แล้วมันคืออะไร? 8) จริยศาสตร์ศึกษาบอกเองว่าตนเองเป็นการศึกษาจริยธรรมแบบสหสาขา แสดง ว่าควรเรียกตัวเองว่า จริยธรรมศึกษา มากกว่า ส่วนการแปลเป็น ethical studies เหมาะสมแล้ว
  • 20. 6. Distinction • คู่คาของจริยศาสตร์เช่น good/bad, right/wrong, permission/ non-permission, good/evil, บุญ/บาป, ดี/เลว, ถูก/ผิด เป็นต้น • ความสาคัญของเรื่องนี้คือเมื่อเราคู่คา 2 คู่จะได้ 4 แบบเช่น - การกระทาหนึ่งถูกและบาป - การกระทาหนึ่งถูกแต่ไม่บาป - การกระทาหนึ่งผิดและบาป - การกระทาหนึ่งผิดแต่ไม่บาป