SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
       ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ
       (Introduction to Organizational Behavior)
หั ว เ รื่ อ ง ใ น บ ท ที่ 1
	       1.	 ความหมายของพฤติกรรมองค์การ
	       2.	 ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การ
	       3.	 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมองค์การกับศาสตร์อื่น
	       4.	 การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ




                                  1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ
Introduction to Organizational Behavior

	      โดยปกติมนุษย์เป็นสัตว์สังคมโดยธรรมชาติ (Man is a social animal by nature) สิ่งที่ท�ำให้
มนุษย์มการรวมตัวกันเป็นกลุมหรือเป็นหมูเ่ หล่า มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น เพือความมันคง
        ี                  ่                                                       ่        ่
และความปลอดภัยในการด�ำเนินชีวิต เพื่อเป็นการพึ่งพาอาศัยกันในการท�ำงานต่าง ๆ หรือเพื่อร่วมมือ
กันท�ำงานบางอย่างให้บรรลุผลส�ำเร็จของกลุ่ม ทั้งนี้เพราะมนุษย์แต่ละคนมีข้อจ�ำกัดด้านความรู้ ความ
สามารถ ทักษะความช�ำนาญที่แตกต่างกัน
	      ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การจะท�ำให้ผู้ศึกษาได้ทราบถึงพฤติกรรมของบุคคลใน      
องค์การ พฤติกรรมกลุ่ม การบริหารงานในองค์การและปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ

ความหมายของพฤติกรรมองค์การ
	
	       นักวิชาการได้ให้ความหมายของพฤติกรรมองค์การเอาไว้หลายท่าน ดังต่อไปนี้
	       Richard M. Hodgetty ได้กล่าวเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การ หมายถึง ลักษณะวิชาที่เกี่ยวกับ
การอธิบาย การท�ำความเข้าใจ การคาดคะเนและการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ
	       Robert A. Baron ได้อธิบายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การ เป็นการศึกษาอย่างเป็นระบบ ที่
เกี่ยวข้องกับบุคคลในองค์การ กลุ่มคนและองค์การ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิผลขององค์การ
และความอยู่ดีของคนในองค์การ
	       Stephen P. Robbins ได้ให้ความหมายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาผลกระทบ
ของบุคคล กลุมบุคคล โครงสร้างต่าง ๆ ทีมตอพฤติกรรมภายในองค์การ โดยมีจดประสงค์เพือปรับปรุง
               ่                     ่ี่                                  ุ         ่
ประสิทธิผลการท�ำงานขององค์การ
	       John R. Schermerhorn ได้อธิบายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการ
กระท�ำของบุคคลในองค์การ ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในองค์การ เพราะ
พฤติกรรมองค์การเกี่ยวข้องโดยตรงกับสถานการณ์การจ้างงาน การปฏิบัติงาน การออกจากงาน
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การประเมินผลการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการในองค์การ

สรุปความหมายพฤติกรรมองค์การ	
	
	      จากความหมายทีกล่าวมาพอสรุปได้วา พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ ทัศนคติ
                    ่                 ่
ค่านิยม ความสามารถในการรับรู้ การเรียนรู้ของคน ผลการปฏิบัติงานของคนในองค์การ โดยใช้ทฤษฎี
                                              2
วิธการและหลักการของศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ทังนีเ้ พือให้องค์การ
   ี                                                                       ้ ่
สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การ
	
	        วิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะที่แตกต่างจากวิชาบริหารอื่น ๆ เพราะมีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่ง
สามารถสรุปได้ดังนี้
	        1.	 วิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะเป็นสหวิชา เพราะเป็นการรวมศาสตร์หลาย ๆ แขนง เช่น
จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รัฐศาสตร์ และศาสตร์สาขาอื่น ๆ อีก เป็นการน�ำแนวคิด ทฤษฎี
และองค์ความรู้ต่าง ๆ มาท�ำการศึกษา เพื่อให้เกิดความเข้าใจในด้านพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ	
	        2.	 วิชาพฤติกรรมองค์การมีพื้นฐานมาจากพฤติกรรมศาสตร์ เพราะเป็นการศึกษาพฤติกรรม
ของบุคคลอย่างเป็นระบบ เป็นการศึกษารวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระท�ำของคนในองค์การ         
ซึ่งจะเน้นท�ำการศึกษาไปที่พฤติกรรมของคนในองค์การเป็นส�ำคัญ
	        3.	 วิชาพฤติกรรมองค์การใช้เครื่องมือและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษา คือ เป็นการ
ศึกษารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ จากนั้นน�ำมาวิเคราะห์และประมวลผล เพื่อให้สามารถ      
อธิบายและท�ำนายพฤติกรรมของบุคคลในองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้
	        4.	 วิชาพฤติกรรมองค์การท�ำการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การทั้ง 3 ระดับ คือ เริ่ม
ท�ำการศึกษาตั้งแต่พฤติกรรมระดับบุคคล ซึ่งเป็นรากฐานที่ส�ำคัญ จากนั้นท�ำการศึกษาพฤติกรรมใน
ระดับกลุ่ม การรวมกลุ่ม อิทธิพลของกลุ่ม และอีกส่วนหนึ่งคือ พฤติกรรมในระดับองค์การ ซึ่งเป็น         
การศึกษาถึงโครงสร้างขององค์การ กระบวนการท�ำงานต่าง ๆ และวัฒนธรรมองค์การ
	        5.	 วิชาพฤติกรรมองค์การได้ท�ำการศึกษาถึงสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การ เพราะ
สถานการณ์อาจมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น พฤติกรรมของบุคคลจะปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เกิด
ขึ้น
	        6.	 วิชาพฤติกรรมองค์การเน้นท�ำการศึกษาเพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้กับงาน คือ สามารถน�ำความ
รู้ต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อ
การบริหารจัดการในองค์การต่อไป

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมองค์การกับศาสตร์อื่น
	
	      ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าวิชาพฤติกรรมองค์การเป็นสหวิชา คือเป็นการศึกษาและรวบรวมศาสตร์
ต่าง ๆ เพื่อน�ำมาประยุกต์ ดังนั้น พฤติกรรมองค์การจึงมีองค์ความรู้ ทฤษฎี แนวคิดของศาสตร์ต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้

                                               3
1.	 จิตวิทยา (Psychology)
	      เป็นศาสตร์ที่ศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมของแต่ละบุคคล การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์
และสัตว์ ความแตกต่างของแต่ละบุคคล เช่น การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ บุคลิกภาพ การฝึกอบรม
ความพึงพอใจในงาน การออกแบบงาน การตัดสินใจส่วนบุคคล การจูงใจ แนวคิด ความเป็นผู้น�ำ            
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ความกดดันในการท�ำงาน นอกจากนั้นยังศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
และสาเหตุที่ท�ำให้คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เช่น อิทธิพลของพันธุกรรม
	      2.	 สังคมวิทยา (Sociology)
	      เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบของสังคมที่บุคคลเหล่านั้นได้มีส่วนร่วม ซึ่งเป็นการศึกษาถึงความ
สัมพันธ์และความเป็นอยู่ของมนุษย์ การรวมกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร ความขัดแย้งระหว่างบุคคล ความ
ขัดแย้งระหว่างกลุ่ม การวิเคราะห์พฤติกรรมของกลุ่ม โครงสร้างองค์การแบบเป็นทางการ อ�ำนาจ  
เป็นต้น การศึกษาในเรืองต่าง ๆ ดังกล่าว จะท�ำให้ได้องค์ความรูทางด้านสังคมวิทยาเพือน�ำไปวิเคราะห์
                       ่                                    ้                    ่
หาพฤติกรรมของกลุ่มในองค์การ
	      3.	 จิตวิทยาสังคม (Social Psychology)
	      จิตวิทยาสังคมเป็นส่วนหนึ่งของวิชาจิตวิทยา แต่จิตวิทยาสังคมจะเน้นศึกษาในเรื่องอิทธิพล        
ของคนที่มีต่อบุคคลอื่น ซึ่งจะมุ่งเน้นวิเคราะห์พฤติกรรมในระดับกลุ่มและระดับสังคม การเปลี่ยน       
แปลงพฤติกรรม การตัดสินใจของกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ กระบวนการกลุ่ม
	      4.	 มานุษยวิทยา (Anthropology)
	      เป็นการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ มุ่งศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ใน
แง่ต่าง ๆ ความเป็นมาของวัฒนธรรม วิวัฒนาการและการพัฒนาวัฒนธรรม วัฒนธรรมองค์การ ความ
แตกต่างด้านวัฒนธรรม ความแตกต่างด้านค่านิยมพื้นฐานของมนุษย์ ทัศนคติ สภาพแวดล้อมของ
องค์การ นอกจากนี้ยังท�ำการศึกษาถึงโบราณคดี ชาติพันธุ์ ภาษาศาสตร์ มานุษยวิทยากายภาพ
เป็นต้น	
	      5. 	 รัฐศาสตร์ (Political Science)
	      เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมบุคคลและกลุ่มบุคคลภายใต้สภาพแวดล้อมของการปกครอง
รัฐศาสตร์เน้นให้การศึกษาถึงพฤติกรรมบุคคลและกลุ่ม ภายใต้สภาพแวดล้อมทางการเมือง เช่น เรื่อง
อ�ำนาจ ความขัดแย้งระดับบุคคล ความขัดแย้งระดับกลุ่มและปัญหาต่าง ๆ ในด้านการเมืองการ      
ปกครอง
	      อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาวิชาพฤติกรรมองค์การจึงมีความจ� ำเป็นที่จะต้องท�ำการศึกษา         
ศาสตร์อื่น ๆ อีกหลายแขนง ทั้งจิตวิทยา สังคมวิทยา จิตวิทยาสังคม มานุษยวิทยาและรัฐศาสตร์ ทั้งนี้
เพื่อจะได้มีความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และน�ำความรู้ดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา
ด้านพฤติกรรมองค์การได้อย่างถูกต้องต่อไป


                                                4
ศาสตร์ที่เกี่ยวกับ                      เรื่อง                        ระดับ           ผลที่ได้รับ
พฤติกรรมศาสตร์                                                     การวิเคราะห์
                           การจูงใจ
                           การเรียนรู้
                           บุคลิกภาพ
                           ความรู้สึก
                           การฝึกอบรม
                           ความเป็นผู้น�ำ                          ระดับบุคคล
    จิตวิทยา
                           ความพึงพอใจในงาน
                           การประเมินผลทัศนคติ
                           การคัดเลือกพนักงาน
                           ความกดดันในการท�ำงาน
                           การออกแบบงาน

                           อ�ำนาจ
                           ความขัดแย้ง
                           พฤติกรรมระหว่างกลุ่ม
                           การติดต่อสื่อสาร
                           พลังของกลุ่ม                                               การศึกษา
                           ทีมงาน                                   ระดับกลุ่ม        พฤติกรรม
   สังคมวิทยา                                                                          องค์การ
                           ทฤษฎีองค์การแบบทางการ
                           เทคโนโลยีองค์การ
                           การเปลี่ยนแปลงองค์การ
                           การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม

                           การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
                           การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
 จิตวิทยาสังคม             การติดต่อสื่อสาร
                           การตัดสินใจของกลุ่ม
                           กระบวนการกลุ่ม

                           การเปรียบเทียบค่านิยม
                           การวิเคราะห์วัฒนธรรมที่แตกต่าง
                           การเปรียบเทียบทัศนคติ
  มานุษยวิทยา                                                     ระดับองค์การ
                           สภาพแวดล้อมองค์การ
                           วัฒนธรรมองค์การ

                           ความขัดแย้ง
    รัฐศาสตร์              อ�ำนาจ
                           การเมืองภายในองค์การ

                     รูปที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมองค์การกับศาสตร์อื่น
                                                       5
การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ
	
	      เนื่องจากพฤติกรรมองค์การเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ดังนั้น ในการศึกษา
จึงมีความจ�ำเป็นต้องท�ำการศึกษาให้ครอบคลุมหลายด้านหลายระดับ เพราะจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ในการศึกษา เมื่อได้มีการศึกษาขอบเขตต่าง ๆ อย่างทั่วถึง จะท�ำให้เข้าใจและสามารถวิเคราะห์
พฤติกรรมองค์การได้อย่างถูกต้อง ในการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การจึงแบ่งขอบเขตเพื่อ
ท�ำการศึกษา ออกเป็น 3 ระดับ ดังต่อไปนี้
	      1. 	 ระดับบุคคล (Individual Level)
	      2. 	 ระดับกลุ่ม (Group Level)
	      3. 	 ระดับองค์การ (Organization System Level)

                                                                    ระดับองค์การ

                                                       ระดับกลุ่ม

                                          ระดับบุคคล


                           รูปที่ 1.2 แสดงตัวแบบพฤติกรรมองค์การพื้นฐาน
                        (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.23)


ระดับบุคคล (Individual Level)
	
	     ในการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การในระดับบุคคล เป็นการศึกษาถึงรายละเอียด          
ต่าง ๆ ของบุคคลแต่ละคนในองค์การที่มีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน เช่น นิสัย อายุ เพศ       
สถานภาพสมรส บุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยม ความสามารถพื้นฐาน ปัจจัยดังกล่าวเป็นสิ่งที่แต่ละ       
บุคคลมีและติดตัวมา ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมในการท�ำงาน ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรม       
องค์การในระดับบุคคลจึงมีความจ�ำเป็นต้องท�ำการศึกษา วิเคราะห์ลักษณะที่แตกต่างของแต่ละคน
อย่างละเอียด เพราะปัจจัยดังกล่าวมีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคลและความสามารถในการ    
ท�ำงานในองค์การ


                                               6
ลักษณะทางกายภาพ


       บุคลิกภาพ                        การรับรู้
                                                                 การตัดสินใจ       ผลผลิต
   ค่านิยมและทัศนคติ                    การจูงใจ                  ของบุคคล       ขององค์การ
      ความสามารถ                       การเรียนรู้


                         รูปที่ 1.3 แสดงปัจจัยในการวิเคราะห์พฤติกรรมระดับบุคคล
                            (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.28)


ระดับกลุ่ม (Group Level)
	       การศึกษาพฤติกรรมในระดับกลุ่มนั้นเป็นการศึกษาพฤติกรรมของคนในกลุ่ม เช่น การติดต่อ
สื่อสารกันในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม ภาวะผู้น�ำ โครงสร้างกลุ่ม ความขัดแย้ง การเมืองและอ�ำนาจ
ทีมงานกลุ่มอื่น ๆ ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมระดับกลุ่มจึงเป็นการศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับกลุ่มมีอิทธิพล มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของกลุ่ม การบรรลุวัตถุประสงค์และประสิทธิ-      
ภาพขององค์การ


   การตัดสินใจของกลุ่ม                  ภาวะผู้น�ำกลุ่ม



    การติดต่อสื่อสาร
                                                                                    ผลผลิต
                                        โครงสร้างกลุ่ม                  ทีมงาน    ขององค์การ
       กลุ่มอื่น ๆ
                                                      การเมือง
                                 ความขัดแย้ง
                                                     และอ�ำนาจ

                         รูปที่ 1.4 แสดงปัจจัยในการวิเคราะห์พฤติกรรมระดับกลุ่ม
                           (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.28)
                                                      7
ระดับองค์การ (Organization System Level)
	
	      เป็นการศึกษาถึงภาพรวมขององค์การทั้งหมด แต่ละองค์การจะมีรูปแบบหรือลักษณะเฉพาะ
ของแต่ละองค์การที่แตกต่างกัน การแสดงออกและพฤติกรรมของบุคคลในองค์การจะเป็นไปตามที่
องค์การต้องการ ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมระดับองค์การจึงเป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ  
เช่น นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างและการออกแบบองค์การ
เทคโนโลยีและการออกแบบงาน ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมระดับองค์การจึงเป็นสิ่งส�ำคัญและมี
ความสลับซับซ้อนมาก แต่ถ้าได้ท�ำการศึกษาอย่างถ่องแท้ จะท�ำให้เข้าใจถึงผลกระทบต่อพฤติกรรม
องค์การและเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์การต่อไป


                                  นโยบาย
                              ด้านการบริหาร
                              ทรัพยากรมนุษย์



                               โครงสร้าง                  เทคโนโลยี
                                                                                        ผลผลิต
 วัฒนธรรมองค์การ            และการออกแบบ                และการออกแบบ
                                                                                      ขององค์การ
                                องค์การ                      งาน


                       รูปที่ 1.5 แสดงปัจจัยในการวิเคราะห์พฤติกรรมระดับองค์การ
                          (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.28)

	       จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นจะเห็นได้ว่า ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การนั้นต้องท�ำการศึกษา
วิเคราะห์ทกระดับอย่างละเอียด คือ ศึกษาตังแต่พฤติกรรมระดับบุคคล ซึงจะท�ำให้ทราบความแตกต่าง
           ุ                              ้                         ่
ขั้นพื้นฐานของแต่ละคนได้อย่างชัดเจน จึงจะท�ำให้สามารถเข้าใจถึงปัจจัยพื้นฐานที่แท้จริงที่ท�ำให้        
แต่ละบุคคลแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา และพฤติกรรมดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการท�ำงานของบุคคล
ในองค์การ ส่วนการศึกษาพฤติกรรมระดับกลุ่มจะท�ำให้เข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุ่ม การติดต่อ
สื่อสารภายในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม ผู้น�ำในกลุ่ม โครงสร้างกลุ่ม ความขัดแย้ง การเมืองในกลุ่ม
อ�ำนาจทีมงาน เป็นต้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะท�ำให้ทราบถึงความเคลื่อนไหวและประสิทธิภาพใน            
การท�ำงาน รวมทั้งปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุ่ม และในระดับองค์การจะท�ำให้เข้าใจนโยบายด้าน        
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมต่าง ๆ โครงสร้างและการออกแบบองค์การ รวมทั้งเทคโนโลยี


                                                  8
และการออกแบบงาน เป็นการศึกษาในภาพรวมทั้งหมดขององค์การ ซึ่งจะท�ำให้เข้าใจปัญหาต่าง ๆ        
ที่เกิดขึ้นในองค์การและจะน�ำไปสู่การปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีต่อการท�ำงานใน
องค์การ

สรุป (Summary)
	       พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ ทัศนคติ ค่านิยม ความสามารถในการรับรู้
การเรียนรู้ของคน ผลปฏิบัติงานของคนในองค์การ ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การเป็นสหวิชาซึ่ง
เกี่ยวข้องกับวิชาอื่น ๆ หลายวิชา เช่น จิตวิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจูงใจ การเรียนรู้ บุคลิกภาพ             
ความรู้สึก การฝึกอบรมความเป็นผู้น�ำ  ความพึงพอใจในงาน การประเมินผลทัศนคติ การคัดเลือก
พนักงาน ความกดดันในการท�ำงาน การออกแบบงาน สังคมวิทยาศึกษาเกี่ยวกับอ�ำนาจ ความขัดแย้ง
พฤติกรรมระหว่างกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร พลังของกลุ่ม ทีมงาน ทฤษฎีองค์การแบบทางการ          
เทคโนโลยีองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม จิตวิทยาสังคมศึกษา            
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การติดต่อสื่อสาร การตัดสินใจของ       
กลุ่ม กระบวนการกลุ่ม มานุษยวิทยาศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบค่านิยม การวิเคราะห์วัฒนธรรม
ที่แตกต่าง การเปรียบเทียบทัศนคติ สภาพแวดล้อมองค์การ วัฒนธรรมองค์การ รัฐศาสตร์ศึกษาเกี่ยว
กับความขัดแย้ง อ�ำนาจการเมืองภายในองค์การ การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การแบ่งเป็น 3 ระดับ
เป็นการวิเคราะห์องค์การในระดับบุคคลที่เกี่ยวกับนิสัย อายุ เพศ สถานภาพสมรส บุคลิกภาพ          
ทัศนคติ ค่านิยม ความสามารถพื้นฐาน ปัจจัยดังกล่าวเป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลมีและติดตัวมา ระดับ            
กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารกันในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม ภาวะผู้น�ำ  โครงสร้างกลุ่ม           
ความขัดแย้ง การเมืองและอ�ำนาจ ทีมงาน กลุ่มต่าง ๆ และระดับองค์การศึกษาเกี่ยวกับนโยบาย          
ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างและการออกแบบองค์การ เทคโนโลยี
และการออกแบบงาน
      	 ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การจะท�ำให้ผู้ศึกษาได้ทราบถึงพฤติกรรมของบุคคลใน      
องค์การ พฤติกรรมกลุ่ม การบริหารงานในองค์การและปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการใน
องค์การ




                                                   9
ค�ำถามท้ายบท

1. 	 พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง และ
    	 สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง จงอธิบาย
2. 	 วิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะที่แตกต่างจากวิชาอื่น ๆ อย่างไร และท�ำไมนักวิชาการจึงกล่าว
	 ว่าวิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะเฉพาะตัว จงอธิบาย
3. 	 วิชาพฤติกรรมองค์การมีความเกียวข้องกับศาสตร์อน ๆ อย่างไร จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ
                                   ่                ื่
4. 	 จงอธิบายความหมายของพฤติกรรมองค์การมาอย่างละเอียด
5. 	 ท�ำไมกลุ่มต่าง ๆ ในองค์การจึงมีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการในองค์การ จงอธิบาย
6. 	 การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การในระดับบุคคล (Individual level) จะต้องวิเคราะห์เกียวกับเรือง
                                                                                  ่        ่
    	 อะไรบ้าง จงอธิบายมาให้เข้าใจ
7. 	 ในการวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การท�ำไมจึงต้องท�ำการวิเคราะห์หลาย ๆ ด้าน มันมีความจ�ำเป็น
	 และส�ำคัญอย่างไร จงอธิบาย
8. 	 การวิเคราะห์พฤติกรรมในระดับกลุ่ม (Group Level ) จะต้องท�ำการวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องอะไร
	 บ้างและมันมีจ�ำเป็นอย่างไร จงอธิบาย
9.  	 ความแตกต่างกันของแต่ละบุคคลในองค์การส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการท�ำงานของพนักงาน
	 ในองค์การอย่างไร จงอธิบาย
10. 	ท�ำไมผู้บริหารองค์การจึงต้องท�ำการศึกษาและท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลใน
     	 องค์การ จงอธิบาย




                                             10

More Related Content

What's hot

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
website22556
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
Pongtong Kannacham
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
Wichai Likitponrak
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
Pazalulla Ing Chelsea
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
พัน พัน
 

What's hot (20)

ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
13.การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 

Viewers also liked

[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
guest817d3d
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
sukanya56106930005
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
issareening
 

Viewers also liked (15)

Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
วัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กรวัฒนธรรมองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Similar to 9789740330660

พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
Chatnakrop Sukhonthawat
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
csmithikrai
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
moohmed
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
นิพ พิทา
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
Watcharin Chongkonsatit
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
tltutortutor
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
Phornpen Fuangfoo
 

Similar to 9789740330660 (20)

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
Social psychology1
Social psychology1Social psychology1
Social psychology1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Ba.453 ch8
Ba.453 ch8 Ba.453 ch8
Ba.453 ch8
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330660

  • 1. 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ (Introduction to Organizational Behavior) หั ว เ รื่ อ ง ใ น บ ท ที่ 1 1. ความหมายของพฤติกรรมองค์การ 2. ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมองค์การกับศาสตร์อื่น 4. การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ 1
  • 2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ Introduction to Organizational Behavior โดยปกติมนุษย์เป็นสัตว์สังคมโดยธรรมชาติ (Man is a social animal by nature) สิ่งที่ท�ำให้ มนุษย์มการรวมตัวกันเป็นกลุมหรือเป็นหมูเ่ หล่า มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น เพือความมันคง ี ่ ่ ่ และความปลอดภัยในการด�ำเนินชีวิต เพื่อเป็นการพึ่งพาอาศัยกันในการท�ำงานต่าง ๆ หรือเพื่อร่วมมือ กันท�ำงานบางอย่างให้บรรลุผลส�ำเร็จของกลุ่ม ทั้งนี้เพราะมนุษย์แต่ละคนมีข้อจ�ำกัดด้านความรู้ ความ สามารถ ทักษะความช�ำนาญที่แตกต่างกัน ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การจะท�ำให้ผู้ศึกษาได้ทราบถึงพฤติกรรมของบุคคลใน องค์การ พฤติกรรมกลุ่ม การบริหารงานในองค์การและปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ ความหมายของพฤติกรรมองค์การ นักวิชาการได้ให้ความหมายของพฤติกรรมองค์การเอาไว้หลายท่าน ดังต่อไปนี้ Richard M. Hodgetty ได้กล่าวเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การ หมายถึง ลักษณะวิชาที่เกี่ยวกับ การอธิบาย การท�ำความเข้าใจ การคาดคะเนและการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ Robert A. Baron ได้อธิบายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การ เป็นการศึกษาอย่างเป็นระบบ ที่ เกี่ยวข้องกับบุคคลในองค์การ กลุ่มคนและองค์การ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิผลขององค์การ และความอยู่ดีของคนในองค์การ Stephen P. Robbins ได้ให้ความหมายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาผลกระทบ ของบุคคล กลุมบุคคล โครงสร้างต่าง ๆ ทีมตอพฤติกรรมภายในองค์การ โดยมีจดประสงค์เพือปรับปรุง ่ ่ี่ ุ ่ ประสิทธิผลการท�ำงานขององค์การ John R. Schermerhorn ได้อธิบายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการ กระท�ำของบุคคลในองค์การ ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าว จะมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในองค์การ เพราะ พฤติกรรมองค์การเกี่ยวข้องโดยตรงกับสถานการณ์การจ้างงาน การปฏิบัติงาน การออกจากงาน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การประเมินผลการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการในองค์การ สรุปความหมายพฤติกรรมองค์การ จากความหมายทีกล่าวมาพอสรุปได้วา พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ ทัศนคติ ่ ่ ค่านิยม ความสามารถในการรับรู้ การเรียนรู้ของคน ผลการปฏิบัติงานของคนในองค์การ โดยใช้ทฤษฎี 2
  • 3. วิธการและหลักการของศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ทังนีเ้ พือให้องค์การ ี ้ ่ สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การ วิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะที่แตกต่างจากวิชาบริหารอื่น ๆ เพราะมีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่ง สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. วิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะเป็นสหวิชา เพราะเป็นการรวมศาสตร์หลาย ๆ แขนง เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รัฐศาสตร์ และศาสตร์สาขาอื่น ๆ อีก เป็นการน�ำแนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรู้ต่าง ๆ มาท�ำการศึกษา เพื่อให้เกิดความเข้าใจในด้านพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ 2. วิชาพฤติกรรมองค์การมีพื้นฐานมาจากพฤติกรรมศาสตร์ เพราะเป็นการศึกษาพฤติกรรม ของบุคคลอย่างเป็นระบบ เป็นการศึกษารวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระท�ำของคนในองค์การ ซึ่งจะเน้นท�ำการศึกษาไปที่พฤติกรรมของคนในองค์การเป็นส�ำคัญ 3. วิชาพฤติกรรมองค์การใช้เครื่องมือและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษา คือ เป็นการ ศึกษารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ จากนั้นน�ำมาวิเคราะห์และประมวลผล เพื่อให้สามารถ อธิบายและท�ำนายพฤติกรรมของบุคคลในองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ 4. วิชาพฤติกรรมองค์การท�ำการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การทั้ง 3 ระดับ คือ เริ่ม ท�ำการศึกษาตั้งแต่พฤติกรรมระดับบุคคล ซึ่งเป็นรากฐานที่ส�ำคัญ จากนั้นท�ำการศึกษาพฤติกรรมใน ระดับกลุ่ม การรวมกลุ่ม อิทธิพลของกลุ่ม และอีกส่วนหนึ่งคือ พฤติกรรมในระดับองค์การ ซึ่งเป็น การศึกษาถึงโครงสร้างขององค์การ กระบวนการท�ำงานต่าง ๆ และวัฒนธรรมองค์การ 5. วิชาพฤติกรรมองค์การได้ท�ำการศึกษาถึงสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การ เพราะ สถานการณ์อาจมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น พฤติกรรมของบุคคลจะปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เกิด ขึ้น 6. วิชาพฤติกรรมองค์การเน้นท�ำการศึกษาเพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้กับงาน คือ สามารถน�ำความ รู้ต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อ การบริหารจัดการในองค์การต่อไป ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมองค์การกับศาสตร์อื่น ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าวิชาพฤติกรรมองค์การเป็นสหวิชา คือเป็นการศึกษาและรวบรวมศาสตร์ ต่าง ๆ เพื่อน�ำมาประยุกต์ ดังนั้น พฤติกรรมองค์การจึงมีองค์ความรู้ ทฤษฎี แนวคิดของศาสตร์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 3
  • 4. 1. จิตวิทยา (Psychology) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมของแต่ละบุคคล การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ และสัตว์ ความแตกต่างของแต่ละบุคคล เช่น การรับรู้ การเรียนรู้ ทัศนคติ บุคลิกภาพ การฝึกอบรม ความพึงพอใจในงาน การออกแบบงาน การตัดสินใจส่วนบุคคล การจูงใจ แนวคิด ความเป็นผู้น�ำ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ความกดดันในการท�ำงาน นอกจากนั้นยังศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม และสาเหตุที่ท�ำให้คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน เช่น อิทธิพลของพันธุกรรม 2. สังคมวิทยา (Sociology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบของสังคมที่บุคคลเหล่านั้นได้มีส่วนร่วม ซึ่งเป็นการศึกษาถึงความ สัมพันธ์และความเป็นอยู่ของมนุษย์ การรวมกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร ความขัดแย้งระหว่างบุคคล ความ ขัดแย้งระหว่างกลุ่ม การวิเคราะห์พฤติกรรมของกลุ่ม โครงสร้างองค์การแบบเป็นทางการ อ�ำนาจ เป็นต้น การศึกษาในเรืองต่าง ๆ ดังกล่าว จะท�ำให้ได้องค์ความรูทางด้านสังคมวิทยาเพือน�ำไปวิเคราะห์ ่ ้ ่ หาพฤติกรรมของกลุ่มในองค์การ 3. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) จิตวิทยาสังคมเป็นส่วนหนึ่งของวิชาจิตวิทยา แต่จิตวิทยาสังคมจะเน้นศึกษาในเรื่องอิทธิพล ของคนที่มีต่อบุคคลอื่น ซึ่งจะมุ่งเน้นวิเคราะห์พฤติกรรมในระดับกลุ่มและระดับสังคม การเปลี่ยน แปลงพฤติกรรม การตัดสินใจของกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ กระบวนการกลุ่ม 4. มานุษยวิทยา (Anthropology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ มุ่งศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ใน แง่ต่าง ๆ ความเป็นมาของวัฒนธรรม วิวัฒนาการและการพัฒนาวัฒนธรรม วัฒนธรรมองค์การ ความ แตกต่างด้านวัฒนธรรม ความแตกต่างด้านค่านิยมพื้นฐานของมนุษย์ ทัศนคติ สภาพแวดล้อมของ องค์การ นอกจากนี้ยังท�ำการศึกษาถึงโบราณคดี ชาติพันธุ์ ภาษาศาสตร์ มานุษยวิทยากายภาพ เป็นต้น 5. รัฐศาสตร์ (Political Science) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมบุคคลและกลุ่มบุคคลภายใต้สภาพแวดล้อมของการปกครอง รัฐศาสตร์เน้นให้การศึกษาถึงพฤติกรรมบุคคลและกลุ่ม ภายใต้สภาพแวดล้อมทางการเมือง เช่น เรื่อง อ�ำนาจ ความขัดแย้งระดับบุคคล ความขัดแย้งระดับกลุ่มและปัญหาต่าง ๆ ในด้านการเมืองการ ปกครอง อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาวิชาพฤติกรรมองค์การจึงมีความจ� ำเป็นที่จะต้องท�ำการศึกษา ศาสตร์อื่น ๆ อีกหลายแขนง ทั้งจิตวิทยา สังคมวิทยา จิตวิทยาสังคม มานุษยวิทยาและรัฐศาสตร์ ทั้งนี้ เพื่อจะได้มีความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง และน�ำความรู้ดังกล่าวมาใช้ประโยชน์ในการศึกษา ด้านพฤติกรรมองค์การได้อย่างถูกต้องต่อไป 4
  • 5. ศาสตร์ที่เกี่ยวกับ เรื่อง ระดับ ผลที่ได้รับ พฤติกรรมศาสตร์ การวิเคราะห์ การจูงใจ การเรียนรู้ บุคลิกภาพ ความรู้สึก การฝึกอบรม ความเป็นผู้น�ำ ระดับบุคคล จิตวิทยา ความพึงพอใจในงาน การประเมินผลทัศนคติ การคัดเลือกพนักงาน ความกดดันในการท�ำงาน การออกแบบงาน อ�ำนาจ ความขัดแย้ง พฤติกรรมระหว่างกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร พลังของกลุ่ม การศึกษา ทีมงาน ระดับกลุ่ม พฤติกรรม สังคมวิทยา องค์การ ทฤษฎีองค์การแบบทางการ เทคโนโลยีองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จิตวิทยาสังคม การติดต่อสื่อสาร การตัดสินใจของกลุ่ม กระบวนการกลุ่ม การเปรียบเทียบค่านิยม การวิเคราะห์วัฒนธรรมที่แตกต่าง การเปรียบเทียบทัศนคติ มานุษยวิทยา ระดับองค์การ สภาพแวดล้อมองค์การ วัฒนธรรมองค์การ ความขัดแย้ง รัฐศาสตร์ อ�ำนาจ การเมืองภายในองค์การ รูปที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมองค์การกับศาสตร์อื่น 5
  • 6. การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ เนื่องจากพฤติกรรมองค์การเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ดังนั้น ในการศึกษา จึงมีความจ�ำเป็นต้องท�ำการศึกษาให้ครอบคลุมหลายด้านหลายระดับ เพราะจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ ในการศึกษา เมื่อได้มีการศึกษาขอบเขตต่าง ๆ อย่างทั่วถึง จะท�ำให้เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ พฤติกรรมองค์การได้อย่างถูกต้อง ในการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การจึงแบ่งขอบเขตเพื่อ ท�ำการศึกษา ออกเป็น 3 ระดับ ดังต่อไปนี้ 1. ระดับบุคคล (Individual Level) 2. ระดับกลุ่ม (Group Level) 3. ระดับองค์การ (Organization System Level) ระดับองค์การ ระดับกลุ่ม ระดับบุคคล รูปที่ 1.2 แสดงตัวแบบพฤติกรรมองค์การพื้นฐาน (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.23) ระดับบุคคล (Individual Level) ในการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การในระดับบุคคล เป็นการศึกษาถึงรายละเอียด ต่าง ๆ ของบุคคลแต่ละคนในองค์การที่มีความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน เช่น นิสัย อายุ เพศ สถานภาพสมรส บุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยม ความสามารถพื้นฐาน ปัจจัยดังกล่าวเป็นสิ่งที่แต่ละ บุคคลมีและติดตัวมา ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมในการท�ำงาน ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรม องค์การในระดับบุคคลจึงมีความจ�ำเป็นต้องท�ำการศึกษา วิเคราะห์ลักษณะที่แตกต่างของแต่ละคน อย่างละเอียด เพราะปัจจัยดังกล่าวมีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคลและความสามารถในการ ท�ำงานในองค์การ 6
  • 7. ลักษณะทางกายภาพ บุคลิกภาพ การรับรู้ การตัดสินใจ ผลผลิต ค่านิยมและทัศนคติ การจูงใจ ของบุคคล ขององค์การ ความสามารถ การเรียนรู้ รูปที่ 1.3 แสดงปัจจัยในการวิเคราะห์พฤติกรรมระดับบุคคล (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.28) ระดับกลุ่ม (Group Level) การศึกษาพฤติกรรมในระดับกลุ่มนั้นเป็นการศึกษาพฤติกรรมของคนในกลุ่ม เช่น การติดต่อ สื่อสารกันในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม ภาวะผู้น�ำ โครงสร้างกลุ่ม ความขัดแย้ง การเมืองและอ�ำนาจ ทีมงานกลุ่มอื่น ๆ ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมระดับกลุ่มจึงเป็นการศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับกลุ่มมีอิทธิพล มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของกลุ่ม การบรรลุวัตถุประสงค์และประสิทธิ- ภาพขององค์การ การตัดสินใจของกลุ่ม ภาวะผู้น�ำกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร ผลผลิต โครงสร้างกลุ่ม ทีมงาน ขององค์การ กลุ่มอื่น ๆ การเมือง ความขัดแย้ง และอ�ำนาจ รูปที่ 1.4 แสดงปัจจัยในการวิเคราะห์พฤติกรรมระดับกลุ่ม (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.28) 7
  • 8. ระดับองค์การ (Organization System Level) เป็นการศึกษาถึงภาพรวมขององค์การทั้งหมด แต่ละองค์การจะมีรูปแบบหรือลักษณะเฉพาะ ของแต่ละองค์การที่แตกต่างกัน การแสดงออกและพฤติกรรมของบุคคลในองค์การจะเป็นไปตามที่ องค์การต้องการ ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมระดับองค์การจึงเป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ เช่น นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างและการออกแบบองค์การ เทคโนโลยีและการออกแบบงาน ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมระดับองค์การจึงเป็นสิ่งส�ำคัญและมี ความสลับซับซ้อนมาก แต่ถ้าได้ท�ำการศึกษาอย่างถ่องแท้ จะท�ำให้เข้าใจถึงผลกระทบต่อพฤติกรรม องค์การและเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์การต่อไป นโยบาย ด้านการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ โครงสร้าง เทคโนโลยี ผลผลิต วัฒนธรรมองค์การ และการออกแบบ และการออกแบบ ขององค์การ องค์การ งาน รูปที่ 1.5 แสดงปัจจัยในการวิเคราะห์พฤติกรรมระดับองค์การ (ดัดแปลงมาจาก Stephen P. Robbins, 1998, p.28) จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นจะเห็นได้ว่า ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การนั้นต้องท�ำการศึกษา วิเคราะห์ทกระดับอย่างละเอียด คือ ศึกษาตังแต่พฤติกรรมระดับบุคคล ซึงจะท�ำให้ทราบความแตกต่าง ุ ้ ่ ขั้นพื้นฐานของแต่ละคนได้อย่างชัดเจน จึงจะท�ำให้สามารถเข้าใจถึงปัจจัยพื้นฐานที่แท้จริงที่ท�ำให้ แต่ละบุคคลแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ออกมา และพฤติกรรมดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการท�ำงานของบุคคล ในองค์การ ส่วนการศึกษาพฤติกรรมระดับกลุ่มจะท�ำให้เข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุ่ม การติดต่อ สื่อสารภายในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม ผู้น�ำในกลุ่ม โครงสร้างกลุ่ม ความขัดแย้ง การเมืองในกลุ่ม อ�ำนาจทีมงาน เป็นต้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะท�ำให้ทราบถึงความเคลื่อนไหวและประสิทธิภาพใน การท�ำงาน รวมทั้งปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกลุ่ม และในระดับองค์การจะท�ำให้เข้าใจนโยบายด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมต่าง ๆ โครงสร้างและการออกแบบองค์การ รวมทั้งเทคโนโลยี 8
  • 9. และการออกแบบงาน เป็นการศึกษาในภาพรวมทั้งหมดขององค์การ ซึ่งจะท�ำให้เข้าใจปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การและจะน�ำไปสู่การปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีต่อการท�ำงานใน องค์การ สรุป (Summary) พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ ทัศนคติ ค่านิยม ความสามารถในการรับรู้ การเรียนรู้ของคน ผลปฏิบัติงานของคนในองค์การ ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การเป็นสหวิชาซึ่ง เกี่ยวข้องกับวิชาอื่น ๆ หลายวิชา เช่น จิตวิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจูงใจ การเรียนรู้ บุคลิกภาพ ความรู้สึก การฝึกอบรมความเป็นผู้น�ำ ความพึงพอใจในงาน การประเมินผลทัศนคติ การคัดเลือก พนักงาน ความกดดันในการท�ำงาน การออกแบบงาน สังคมวิทยาศึกษาเกี่ยวกับอ�ำนาจ ความขัดแย้ง พฤติกรรมระหว่างกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร พลังของกลุ่ม ทีมงาน ทฤษฎีองค์การแบบทางการ เทคโนโลยีองค์การ การเปลี่ยนแปลงองค์การ การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม จิตวิทยาสังคมศึกษา เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การติดต่อสื่อสาร การตัดสินใจของ กลุ่ม กระบวนการกลุ่ม มานุษยวิทยาศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบค่านิยม การวิเคราะห์วัฒนธรรม ที่แตกต่าง การเปรียบเทียบทัศนคติ สภาพแวดล้อมองค์การ วัฒนธรรมองค์การ รัฐศาสตร์ศึกษาเกี่ยว กับความขัดแย้ง อ�ำนาจการเมืองภายในองค์การ การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การแบ่งเป็น 3 ระดับ เป็นการวิเคราะห์องค์การในระดับบุคคลที่เกี่ยวกับนิสัย อายุ เพศ สถานภาพสมรส บุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยม ความสามารถพื้นฐาน ปัจจัยดังกล่าวเป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลมีและติดตัวมา ระดับ กลุ่มศึกษาเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารกันในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่ม ภาวะผู้น�ำ โครงสร้างกลุ่ม ความขัดแย้ง การเมืองและอ�ำนาจ ทีมงาน กลุ่มต่าง ๆ และระดับองค์การศึกษาเกี่ยวกับนโยบาย ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัฒนธรรมองค์การ โครงสร้างและการออกแบบองค์การ เทคโนโลยี และการออกแบบงาน ดังนั้น ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การจะท�ำให้ผู้ศึกษาได้ทราบถึงพฤติกรรมของบุคคลใน องค์การ พฤติกรรมกลุ่ม การบริหารงานในองค์การและปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการใน องค์การ 9
  • 10. ค�ำถามท้ายบท 1. พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง และ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง จงอธิบาย 2. วิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะที่แตกต่างจากวิชาอื่น ๆ อย่างไร และท�ำไมนักวิชาการจึงกล่าว ว่าวิชาพฤติกรรมองค์การมีลักษณะเฉพาะตัว จงอธิบาย 3. วิชาพฤติกรรมองค์การมีความเกียวข้องกับศาสตร์อน ๆ อย่างไร จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ ่ ื่ 4. จงอธิบายความหมายของพฤติกรรมองค์การมาอย่างละเอียด 5. ท�ำไมกลุ่มต่าง ๆ ในองค์การจึงมีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการในองค์การ จงอธิบาย 6. การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การในระดับบุคคล (Individual level) จะต้องวิเคราะห์เกียวกับเรือง ่ ่ อะไรบ้าง จงอธิบายมาให้เข้าใจ 7. ในการวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การท�ำไมจึงต้องท�ำการวิเคราะห์หลาย ๆ ด้าน มันมีความจ�ำเป็น และส�ำคัญอย่างไร จงอธิบาย 8. การวิเคราะห์พฤติกรรมในระดับกลุ่ม (Group Level ) จะต้องท�ำการวิเคราะห์เกี่ยวกับเรื่องอะไร บ้างและมันมีจ�ำเป็นอย่างไร จงอธิบาย 9. ความแตกต่างกันของแต่ละบุคคลในองค์การส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการท�ำงานของพนักงาน ในองค์การอย่างไร จงอธิบาย 10. ท�ำไมผู้บริหารองค์การจึงต้องท�ำการศึกษาและท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลใน องค์การ จงอธิบาย 10