SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
77
บทที่ 5
การจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่น
การจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่นเป็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่นาเอาสารสนเทศในท้องถิ่น
ที่เกิดจากการสืบทอด ถ่ายทอดองค์ความรู้ในชุมชนท้องถิ่นมารวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ
เผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่น ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน การแสดง
พื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น ตลอดจนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในชุมชน เพื่อให้เกิดการเข้าถึงและใช้
สารสนเทศท้องถิ่นที่เหมาะสม โดยมีการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อดาเนินการให้ได้มาซึ่ง
ระบบสารสนเทศท้องถิ่นตามวัตถุประสงค์ ประกอบด้วย กิจกรรมและขั้นตอนการกาหนดและเลือก
โครงการ การเริ่มต้นและวางแผน การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาและติดตั้ง
ระบบ และการบารุงรักษาระบบ เพื่อนามาพัฒนาเผยแพร่และเกิดความสะดวกในการใช้
สารสนเทศท้องถิ่น
แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลท้องถิ่น
ฐานข้อมูลมีบทบาทสาคัญต่องานสารสนเทศ โดยเฉพาะใช้ในการบันทึกข้อมูลด้วย
ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาความล่าช้าและความยุ่งยากในการสืบค้นข้อมูล และทาให้ผู้ใช้
สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้รวดเร็วและตรงกับต้องการมากที่สุด หน่วยงานที่ให้บริการจึงนา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บเพื่อสืบค้นสารสนเทศในรูปของฐานข้อมูล
1. ความหมายและองค์ประกอบของฐานข้อมูลท้องถิ่น
มีผู้ให้ความหมายและองค์ประกอบของฐานข้อมูลท้องถิ่น ไว้ดังนี้
1.1 ความหมายของฐานข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง แหล่งสารสนเทศที่เก็บไว้ในรูปแบบ
ของอิเล็กทรอนิกส์โดยอาศัยระบบจัดการฐานข้อมูล และระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ทาให้
การประมวลผลสารสนเทศมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ฐานข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็นประเภท
ใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดีรอม และฐานข้อมูลที่จัดทาขึ้นเอง
ฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นโดยมุ่งรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล ผลิต และเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่น
รวมถึงเรื่องราว ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับท้องถิ่น ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน ศิลปะการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น
78
วัฒนธรรมความเป็นอยู่ สถานที่สาคัญ ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนเป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้
เกิดการเข้าถึง และการใช้สารสนเทศท้องถิ่นที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ (มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ.
2554 : 8-5)
1.2 องค์ประกอบของฐานข้อมูลท้องถิ่น มีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ สารสนเทศ
ท้องถิ่น กระบวนการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ. 2554 : 8-5) ดังนี้
1.2.1 สารสนเทศท้องถิ่น เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็น
ตัวชี้ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของฐานข้อมูลท้องถิ่น เนื่องจากต้องมีการเก็บข้อมูลจาก
แหล่งกาเนิดข้อมูลท้องถิ่นนั้น ๆ จะต้องมีความถูกต้อง ทันสมัย มีการกลั่นกรองตรวจสอบแล้ว
เท่านั้น จึงจะมีประโยชน์
ฐานข้อมูลท้องถิ่นนั้น เป็นการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผลข้อมูล
สารสนเทศเกี่ยวกับท้องถิ่นซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ ตัวเลข ภาพ เสียง และสื่อประสม
และข้อมูลดังกล่าวมีเนื้อหาหลากหลาย ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน
ศิลปะการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมความเป็นอยู่ สถานที่สาคัญ
ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชน ฯลฯ และยังมีทั้งการเก็บข้อมูลในรูปแบบเนื้อหาเต็ม และเก็บ
เฉพาะตัวแทนของข้อมูลในรูปแบบบรรณานุกรม เพื่อเชื่อมโยงการเข้าถึงและใช้สารสนเทศ ดังนั้น
จึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับองค์ประกอบด้านข้อมูลในการดาเนินงานฐานข้อมูลท้องถิ่น
1.2.2 กระบวนการ ฐานข้อมูลท้องถิ่นมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้
หรือของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เมื่อได้มีการพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่นขึ้นมาแล้ว จาเป็นต้องปฏิบัติงาน
ตามลาดับขั้นตอนในขณะใช้งานก็จาเป็นต้องคานึงถึงลาดับขั้นตอนการปฏิบัติของคนและ
ความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลสารสนเทศ
ท้องถิ่น ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเครื่องมือชารุดหรือข้อมูลสูญหาย และ
ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะต้องมีการซักซ้อม มีการ
เตรียมการ และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานระบบสารสนเทศท้องถิ่นให้ชัดเจน
1.2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
ดังนี้
79
1.2.3.1 ฮาร์ดแวร์ เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ
หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รอบข้าง เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องอ่าน
ตรวจ รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย
1.2.3.2 ซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่เป็น
ลาดับขั้นตอนของชุดคาสั่งที่สั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความ
ต้องการ ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์สาเร็จ ทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ใน
ระดับบุคคลเป็นไปอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมการทางานของกลุ่มมากขึ้น โดยเฉพาะส่วนงานใน
ระดับองค์กรส่วนใหญ่มักจะมีการพัฒนาฐานข้อมูลตามความต้องการ โดยการว่าจ้างบริษัทที่รับ
พัฒนาซอฟต์แวร์หรือโดยนักคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร เป็นต้น
ในการพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่นต้องนาแนวคิดพื้นฐานสาคัญทั้ง 3 องค์ประกอบ
มาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนา และดาเนินงานฐานข้อมูลท้องถิ่น
ลักษณะของการจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่น
ฐานข้อมูลท้องถิ่น อาจแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ คือ เว็บไซต์
ข้อมูลท้องถิ่น ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร และระบบสารสนเทศผู้เชี่ยวชาญหรือเฉพาะด้าน
โดยแต่ละลักษณะมีรายละเอียดและตัวอย่าง ดังที่ มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ (2554 : 8-7-8-11) ดังนี้
1. เว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่น
เว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่น เป็นลักษณะระบบประมวลผลรายการ การจาแนกประเภทนี้
เป็นการจาแนกตามโครงสร้างขององค์กร ตั้งแต่ระดับหน่วยย่อยระดับองค์กรทั้งหมด และระดับ
องค์กร ฐานข้อมูลท้องถิ่นประเภทเว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่นนี้ มักถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์กรภาครัฐ
หน่วยงาน สถาบัน รวมทั้งหน่วยงานท้องถิ่น เช่น สานักงานจังหวัด อาเภอ ตาบล ฯลฯ ซึ่งมี
หน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลความรู้ของชุมชนท้องถิ่นนั้น ๆ
โดยทั่วไปฐานข้อมูลท้องถิ่นประเภทนี้ จัดทาในลักษณะข้อมูลสาธารณะบนเว็บไซต์ เช่น
80
ภาพที่ 5.1 เว็บไซต์มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ
ที่มา : มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ. ออนไลน์. 2557.
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลท้องถิ่นสนับสนุนการทางาน
ตามหน้าที่ จัดทารายงานสรุป หรือการทากิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร โดยทั่วไปองค์กรมักใช้ระบบ
สารสนเทศในงานที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ต่าง ๆ
ภาพที่ 5.2 ระบบฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
ที่มา : กรมทรัพย์สินทางปัญญา. ออนไลน์. 2557.
81
ภาพที่ 5.3 ฐานข้อมูลท้องถิ่นออนไลน์ งานข้อมูลท้องถิ่นและจดหมายเหตุ
ที่มา : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการ. ออนไลน์. 2557.
3. ระบบสารสนเทศผู้เชี่ยวชาญหรือระบบสารสนเทศเฉพาะด้าน
ระบบสารสนเทศผู้เชี่ยวชาญหรือระบบสารสนเทศเฉพาะด้าน พัฒนาขึ้นโดย
วัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูลเฉพาะด้านสาหรับสนับสนุนการใช้งานของบุคลากรในงานเฉพาะ
ด้านและผู้เกี่ยวข้อง เป็นรูปแบบระบบข้อมูลกลาง มีการประมวลผลข้อมูลท้องถิ่นในลักษณะ
บูรณาการเพื่อการใช้งานทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
ภาพที่ 5.4 ฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นบนอินเทอร์เน็ต
ที่มา : คณะทางานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค. ออนไลน์. 2557
82
ภาพที่ 5.5 ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่มา : กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. ออนไลน์. 2557.
การเตรียมข้อมูลเพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น
ข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลสารสนเทศในท้องถิ่นซึ่ง
ครอบคลุมทั้งข้อมูลในด้านสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประวัติความเป็นมา
สภาพเศรษฐกิจ สังคม การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา
ตลอดจนสภาพปัญหาในชุมชน และสังคมนั้น ๆ ดังที่ มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ (2554 : 8-13-8-14) ;
อิสระ ศิริไสยาสน์, วาฐิตา ณ เชียงใหม่ และวัชรพงษ์ ณ เชียงใหม่ (2549) มีรายละเอียดดังนี้
1. การจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น
การเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายาม และตั้งใจดาเนินการ หรือการได้มาซึ่ง
ข้อมูลที่จะนามาใช้ประโยชน์ องค์กรสารสนเทศท้องถิ่นจาเป็นต้องลงทุนทั้งในด้านตัวข้อมูล
เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมี
ประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบที่
เป็นจริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่าแก่การลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้
ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้
83
1.1 การตรวจสอบข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง ขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลท้องถิ่นที่มี
อยู่เดิมซึ่งอยู่ในลักษณะกระดาษหรือเก็บไว้ในระบบมือ การตรวจสอบเพื่อหาข้อผิดพลาด
ตรวจสอบข้อมูลท้องถิ่นที่มีอยู่เพื่อความน่าเชื่อถือ เพื่อมั่นใจได้ว่าข้อมูลที่ได้รับการรวบรวมและ
บันทึกไว้อย่างถูกต้อง โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้
ความถูกต้องแม่นยามาก
1.2 การรวบรวมข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง ทาการออกสารวจ และรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
ข้างต้น ในพื้นที่จริงเพื่อการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล และบันทึกข้อมูลเพื่อการประมวลผล การรวบรวม
ข้อมูลทาได้หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง การบันทึกข้อมูลจากบันทึก หรือเอกสาร
ของหน่วยงานต่าง ๆ การอ่านและศึกษาค้นคว้า การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การเข้าร่วมใน
เหตุการณ์ต่าง ๆ การฟังวิทยุ และการดูโทรทัศน์
1.3 การประมวลข้อมูล หมายถึง ทาการออกสารวจมาจัดทา คัดแยกแบ่งกลุ่ม ลงใน
ระบบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด พร้อมทั้งเคลื่อนย้ายตาแหน่งข้อมูลบางส่วน
เพื่อให้ผู้ใช้บริการข้อมูลสามารถเข้าถึงข้อมูลที่สาคัญได้ง่ายที่สุด
1.4 การจัดเก็บข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ
เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปใน
อนาคตได้ นับเป็นขั้นตอนของการสร้างระบบฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถสืบค้นและจัดทาระบบ
บริการข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ได้จัดทาไว้ โดยมีรูปแบบตามความต้องการข้อมูลของผู้ใช้แต่ละ
กลุ่มได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง
1.5 การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินการเพื่อสรุปความสาคัญของ
ข้อมูลสารสนเทศให้ตรงสภาพที่เป็นจริงตรงตามวัตถุประสงค์ก่อนที่จะนาข้อมูลมาใช้
1.6 การนาข้อมูลไปใช้ ซึ่งรวมถึงการประมวลผลการใช้ข้อมูลท้องถิ่น และดาเนินการ
ปรับปรุงหากมีข้อที่ต้องแก้ไข
84
การพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น
การพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานข้อมูลท้องถิ่น ตาม
วัตถุประสงค์และขอบเขตที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย ขั้นตอนพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยเริ่มต้นและ
การวางแผน การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาและการติดตั้งระบบ และการ
บารุงรักษาระบบ ดังที่ มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ (2554 : 8-15-8-18) ดังนี้
1. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น
1.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น คือ การดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งระบบ
สารสนเทศท้องถิ่น ตามวัตถุประสงค์และขอบเขตที่ตั้งไว้ โดยทั่วไปประกอบกิจกรรม และขั้นตอน
ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยทั่วไป ดังนี้
1.1.1 การกาหนดและเลือกโครงการ (System identification and
selection)
1.1.2 การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (System initiation and planning)
1.1.3 การวิเคราะห์ระบบ (System analysis)
1.1.4 การออกแบบระบบ (System design)
1.1.5 การพัฒนาและติดตั้งระบบ (System implementation)
1.1.6 การบารุงรักษาระบบ (System maintenance)
1.2 รูปแบบการพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศมีรูปแบบและ
วิธีการดังนี้
1.2.1 การพัฒนาระบบแบบน้าตก (Waterfall model) แต่ละขั้นตอนของการ
พัฒนาระบบจะเริ่มได้ก็ต่อเมื่อได้ทาขั้นตอนก่อนหน้านี้เสร็จเรียบร้อยและจะไม่ย้อนกลับไปทา
ขั้นตอนก่อนหน้านี้อีก
1.2.2 การพัฒนาระบบแบบน้าตกที่ย้อนกลับได้ (Adapted waterfall) เป็น
รูปแบบการพัฒนาที่หากดาเนินการในขั้นตอนใดอยู่สามารถย้อนกลับไปขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้เพื่อ
แก้ไขข้อผิดพลาดหรือเพื่อต้องการความชัดเจน
1.2.3 การพัฒนาระบบแบบออบเจ็กต์ (Object-oriented methodology)
ประกอบด้วย กลุ่มของวัตถุ (Class of objects) ซึ่งทางานร่วมกัน มีการจัดกลุ่มของข้อมูลและ
85
พฤติกรรมหรือฟังก์ชันที่กระทากับข้อมูลนั้นเป็นกลุ่ม ๆ ในรูปของออบเจ็กต์จึงใช้เวลาในการพัฒนา
น้อยกว่าวิธีอื่น
1.2.4 การพัฒนาระบบงานประยุกต์แบบรวดเร็ว (Rapid application
development) เป็นรูปแบบการพัฒนาระบบที่ใช้ระยะเวลาในการพัฒนารวดเร็วกว่าและคุณภาพ
ดีกว่าวิธีพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม โดยมีการนาเครื่องมือซอฟต์แวร์มาช่วยในการพัฒนาระบบซึ่ง
มีขั้นตอนในการพัฒนาระบบอยู่ 4 ขั้นตอนคือ การกาหนดความต้องการ การออกแบบโดยผู้ใช้
การสร้างระบบ และการเปลี่ยนระบบหรือใช้ระบบ
1.2.5 การพัฒนาระบบในรูปแบบขดลวด (Evolutionary model SDLC)
เป็นการพัฒนาระบบแบบวนรอบเพื่อให้การพัฒนาระบบมีความรวดเร็วโดยการพัฒนาระบบจะเริ่ม
จากแกนกลาง ในรอบแรกของการพัฒนาจะได้ ระบบรุ่น (Version) แรกออกมาและจะปรับปรุงให้
ดีขึ้นในรุ่นที่สอง และดาเนินการแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้รุ่นที่สมบูรณ์
1.3 วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ
1.3.1 การพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม (Traditional SDLC methodology)
เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบที่มีขั้นตอนที่แน่นอน วิธีนี้เป็นวิธีเก่าแก่
ที่สุดและนิยมเรียกย่อ ๆ ว่า SDLC โดยแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นระยะ (Phase) ได้แก่
1.3.1.1 ระยะการวางแผน (Planning phase)
1.3.1.2 ระยะการวิเคราะห์ (Analysis phase)
1.3.1.3 ระยะการออกแบบ (Design phase)
1.3.1.4 ระยะการพัฒนาและติดตั้ง (Implementation phase)
1.3.2 การสร้างต้นแบบ (Prototyping) เป็นการสร้างระบบต้นแบบขึ้นมา
เพื่อให้ผู้ใช้ทดลองใช้งานซึ่งนอกจากผู้ใช้จะได้แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศที่ต้องการแล้วยังช่วยให้
มองเห็นภาพของระบบที่จะพัฒนาได้ชัดเจนขึ้น การพัฒนาระบบโดยใช้ต้นแบบแบ่งออกเป็น 4
ขั้นตอนคือ
86
ขั้นที่ 1 : ระบุความต้องการเบื้องต้นของผู้ใช้
ขั้นที่ 2 : พัฒนาต้นแบบเริ่มแรก
ขั้นที่ 3 : นาต้นแบบมาใช้
ขั้นที่ 4 : ปรับปรุงแก้ไขต้นแบบ
1.3.3 การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End-user development) เป็นการพัฒนา
ระบบโดยสารวจความต้องการจากผู้ใช้ เพื่อให้ได้ระบบที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง
1.3.4 การใช้บริการจากแหล่งภายนอก (Outsourcing) เนื่องจากองค์การไม่มี
บุคลากรที่มีทักษะความชานาญ การจ้างหน่วยงานหรือบริษัทภายนอกที่มีความชานาญด้านนี้มาทา
การพัฒนาระบบให้ ซึ่งการทาสัญญาจ้างให้หน่วยงานภายนอกมาทางานเกี่ยวกับการดาเนินงานของ
ฝ่ายคอมพิวเตอร์นี้เรียกว่า IT Outsourcing ในที่นี้จะเรียกสั้น ๆ ว่า Outsourcing
1.3.5 การใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปประยุกต์ (Application software package)
เป็นทางเลือกหนึ่งในการพัฒนา เช่น ระบบสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่น ระบบคลังสารสนเทศ
ท้องถิ่นนครราชสีมา หากซอฟต์แวร์สาเร็จรูปสามารถสนองต่อความต้องการระบบงานขององค์การ
ได้ องค์การก็ไม่จาเป็นต้องพัฒนาขึ้นเอง เนื่องจากโปรแกรมสาเร็จรูปได้รับการออกแบบและผ่าน
การทดสอบแล้ว จึงช่วยลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการพัฒนาระบบใหม่และยังช่วยให้การทดสอบการ
ติดตั้ง และบารุงรักษาระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น
1.4 วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ (System development life cycle : SDLC)
เป็นการพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม (Traditinal SDLC methodology) เป็นการพัฒนาระบบ
สารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบที่มีขั้นตอนที่แน่นอน เป็นวิธีเก่าแก่ที่สุดและนิยมเรียกย่อ ๆ
ว่า SDLC เป็นกระบวนการในการพัฒนาระบบ โดยแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นขั้นตอนต่าง ๆ
ได้แก่
87
ภาพที่ 5.6 วงจรชีวิตการพัฒนาระบบ
ที่มา : มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ. 2554 : 8-17.
1.4.1 การตรวจสอบเบื้องต้น (Preliminary investigation) เพื่อรวบรวมปัญหา
และทาความเข้าใจปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ เรียกว่าขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้
ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
ด้านที่ 1 ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical feasibility)
ด้านที่ 2 ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติ (Operational feasibility)
ด้านที่ 3 ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economical feasibility)
1.4.2 การวิเคราะห์ระบบ (System analysis) เป็นการวิเคราะห์ปัญหาของ
องค์การซึ่งจะแก้ไขโดยระบบสารสนเทศ ขั้นตอนนี้จะเกี่ยวข้องกับการระบุปัญหาขององค์การ
สาเหตุของปัญหา การแก้ปัญหา และระบุความต้องการสารสนเทศ (Information requirement)
1.4.3 การออกแบบระบบ (System design) เป็นการบรรยายเกี่ยวกับสิ่งที่
ระบบต้องทาเพื่อแก้ปัญหาองค์การ และวิธีการดาเนินงาน ประกอบด้วย
1.4.3.1 ปัจจัยนาเข้าของระบบ ผลผลิตของระบบ และการออกแบบ
1. การตรวจ
สอบเบื้องต้น
2. การวิเคราะห์
ระบบ
6. การบารุง
รักษาระบบ
5. การติดตั้ง
ระบบ
3. การออกแบบ
ระบบ
4. การพัฒนา
ระบบ
88
หน้าจอให้กับผู้ใช้ (User interface)
1.4.3.2 ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสารโทรคมนาคม
บุคลากร และกระบวนการ (Procedure)
1.4.3.3 การบูรณาการส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวอย่างเป็นระบบ
การออกแบบระบบมี 2 ประเภทคือ การออกแบบด้านกายภาพ (Physical
system design) เน้นการเปลี่ยนแปลงเชิงตรรกะซึ่งมีลักษณะนามธรรม ให้มีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ในการออกแบบด้านเทคนิคมากขึ้น รวมทั้งการออกแบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล และ
การออกแบบรายละเอียด (Detailed design)
1.4.4 การพัฒนาระบบ (System development) คือการเปลี่ยนจาก
รายละเอียดของการออกแบบ (Design specification) เป็นรหัสคอมพิวเตอร์ (Computer code)
ซึ่งกระบวนการดังกล่าวอาจจะใช้เวลานานโปรแกรมขนาดใหญ่อาจจะประกอบด้วยคาสั่งหลายหมื่น
บรรทัดโดยใช้โปรแกรมเมอร์เป็นร้อยคน
1.4.5 การติดตั้งระบบ (System implementation) การทดสอบและติดตั้ง
ระบบ การทดสอบจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ซึ่งเป็นการตรวจสอบว่ารหัส
คอมพิวเตอร์ที่เขียนไว้จะสามารถให้ผลตามที่ต้องการหรือไม่ การทดสอบจะต้องใช้เวลา และความ
พยายามมาก
การติดตั้งเป็นกระบวนการที่เปลี่ยนจากระบบเก่าเข้าสู่ระบบใหม่ ซึ่งวิธีการ
เปลี่ยนระบบสามารถทาได้ 4 รูปแบบคือ
1.4.5.1 แบบคู่ขนาน (Parallel) เป็นการดาเนินการพร้อมกันทั้งระบบ
เก่า และระบบใหม่ ในเวลาเดียวกัน เพื่อนาผลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน การเปลี่ยนแปลงแบบนี้ มี
ต้นทุนแพงที่สุด แต่มีความเสี่ยงน้อยที่สุด ระบบงานที่มีขนาดใหญ่มักนิยมใช้แบบนี้ เพื่อลดความ
เสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
1.4.5.2 แบบเปลี่ยนทั้งหมด (Direct conversion) เป็นการติดตั้งระบบ
ใหม่แทนระบบเดิมทั้งหมดการเปลี่ยนแปลงนี้มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่มีความเสี่ยงมากที่สุดหากระบบ
ไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้
89
1.4.5.3 การเปลี่ยนแปลงโดยใช้โครงการนาร่อง (Pilot conversion)
เป็นการติดตั้งระบบใหม่ส่วนใดส่วนหนึ่งขององค์การ และหลังจากที่ระบบใหม่ติดตั้งและดาเนินการ
ไประยะหนึ่งแล้วก็จะมีการประเมินผล หากระบบใหม่มีความเหมาะสมจึงค่อยนาไปใช้กับส่วนอื่น ๆ
1.4.5.4 การเปลี่ยนแปลงแบบมีขั้นตอน (Phased conversion) มีการ
แบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็นส่วนย่อย ๆ หรือ module หรือแบ่งระยะเวลาในการติดตั้ง จากนั้นจึง
ลองนาบาง module ไปทดลองติดตั้ง หากได้ผลจึงค่อยนา module อื่นไปปฏิบัติจนกระทั่งครบทั้ง
ระบบ
1.4.6 การบารุงรักษาระบบ (System maintenance) เมื่อมีการติดตั้งระบบ
ใหม่แล้ว จะต้องมีการบารุงรักษา ซึ่งมีหลายลักษณะ คือ
1.4.6.1 การประเมินผลการทางานของระบบ (System evaluation)
ตรวจความถูกต้องของโปรแกรม เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อเนื่องไปตลอดอายุของระบบ
1.4.6.2 การบารุงรักษาระบบ (System maintenance) การปรับปรุง
ระบบให้ทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไข การปฏิบัติที่อาจเปลี่ยนแปลงไป รวมถึง
การเพิ่มหน้าที่ทางานให้ระบบ
1.5 ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นให้ประสบความสาเร็จ การ
พัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น ได้ยึดแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศทั่วไปซึ่งมีความเสี่ยงใน
การที่จะพัฒนาให้ประสบความสาเร็จและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความต้องการของกลุ่มผู้ใช้
ดังนั้น การพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นให้ประสบความสาเร็จ ประกอบด้วยปัจจัยต่อไปนี้
(Foley, Alfonso and Wiseman. 2007)
1.5.1 พัฒนาขึ้นอย่างสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ มีการกาหนดขอบเขต
และวัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นที่ชัดเจน
1.5.2 มีการสนับสนุนจากฝ่ายบริหารตลอดจนผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสีย
เกี่ยวกับระบบสารสนเทศท้องถิ่น
1.5.3 มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น
จากตัวอย่างอื่น ๆ ที่ดี
1.5.4 อาจเริ่มต้นจากการพัฒนาระบบที่ง่ายต่อการใช้งานก่อน แล้วจึงค่อย ๆ
90
พัฒนารายละเอียด
1.5.5 สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ใช้และมีส่วนได้ส่วนเสีย
1.5.6 อาจเริ่มจากการใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่มีอยู่ในองค์การก่อน
1.5.7 ไม่จาเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่มีราคาแพง
เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล กระบวนการทางาน และพฤติกรรมการใช้
สารสนเทศของกลุ่มผู้ใช้
1.5.8 การบริหารโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตลอดจนมีการกาหนดวิธีการดูแลรักษาระบบสารสนเทศท้องถิ่น โดยเฉพาะการดูแลความถูกต้อง
และทันสมัยของสารสนเทศท้องถิ่นอย่างสม่าเสมอ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล DRUPAL
Drupal เริ่มขึ้นเมื่อ ค.ศ. 2000 โดย Dries Buytaert ชาวเบลเยี่ยม Dries ได้คิดค้น
ระบบ Drupal ขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสารในอนาคต ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 Dries ได้
เปิดตัวระบบซอร์ซโค้ดของโปรแกรม คือ Drupal จากนั้น Drupal ก็พัฒนาอย่างรวดเร็วด้วยความ
ร่วมมือของนักพัฒนาจานวนมากจากทั่วโลก Drupal เป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Content
management system - CMS) ทางานบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้บริการเว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต
แต่เราสามารถนา Drupal ไปใช้ในลักษณะงานอื่น ๆ ได้ เช่น ใช้ Drupal สาหรับทาเว็บไซต์บน
อินเทอร์เน็ต บนเซิร์ฟเวอร์ของตัวเอง แต่ถ้าไม่สามารถเช่าเนื้อที่เซิร์ฟเวอร์จากผู้ให้บริการ และใช้
Drupal เป็นเว็บไซต์ในองค์กร เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะที่โดดเด่น ซอฟต์แวร์ที่จาเป็น และสถิติที่พบ
(อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธ์ และสุกรี พัฒนภิรมย์. 2552 : 11-12) ดังนี้
1. ลักษณะที่โดดเด่นของระบบ Drupal
Drupal มีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ดังนี้
1.1 เป็นซอฟต์แวร์ในกลุ่มโอเพนซอร์ส ให้ดาวน์โหลดใช้งานได้ฟรี
1.2 ทางานบนฐาน PHP และ MySQL ทาให้สะดวกในการปรับแต่งแก้ไขโปรแกรม
1.3 มีโมดูลที่ตรงกับความต้องการ คือ Bibiliography module โดยที่โมดูลนี้มี
ลูกเล่นที่น่าสนใจหลากหลายประการ
1.4 รองรับการทาคลังเอกสารทั้งแบบปิด และแบบเปิดบนฐาน OAI-PMH
91
1.5 ระบบจัดการและเผยแพร่ (Publish) เนื้อหาเหมาะสมสาหรับเว็บไซต์องค์กร
เว็บไซต์ข่าว หรือเว็บไซต์ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
1.6 ระบบจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา (Category หรือ tag)
1.7 รองรับเว็บหลายภาษา รวมถึงภาษาไทย ฯลฯ
2. ซอฟต์แวร์ที่จาเป็นต้องใช้
ซอฟต์แวร์ที่จาเป็นต่อการทางานของ Drupal ประกอบด้วย
2.1 ระบบปฏิบัติการ
2.2 เว็บเซิร์ฟเวอร์
2.3 ระบบฐานข้อมูล
2.4 ตัวแปรภาษา PHP
3. สถิติที่แสดงความนิยมใช้ Drupal
สรุปความนิยมของ Drupal ได้จากตัวเลขต่าง ๆ ดังนี้
3.1 Drupal ถูกดาวน์โหลดไปเดือนละเกือบ 1 แสนครั้ง
3.2 มีสมาชิกที่ลงทะเบียนบนเว็บไซต์ Drupal.org มากกว่า 2 แสนคน
3.3 มีนักพัฒนากว่า 2,800 คนจากทุกมุมโลก เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
Drupal
3.4 มีโมดูลเสริมการใช้งาน และธีมสาหรับเว็บไซต์ มากกว่า 2,500 ชุด
3.5 โปรแกรม Drupal ถูกแปลไปแล้วมากว่า 52 สาขา (รวมทั้งภาษาไทย)
3.6 มีการจัดงานสัมมนา Drupal ในระดับนานาชาติเป็นประจาทุกปี (นับตั้งแต่ปี
2005) และงานระดับท้องถิ่นในหลายประเทศ
4. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ใช้ Drupal
หน่วยงานงานทั้งภาครัฐและเอกชนจานวนมากทั่วโลก ได้นา Drupal มาเป็นฐานใน
การพัฒนาเว็บไซต์ตัวเอง เช่น สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย และสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภาพต่อไปนี้เป็นตัวอย่าง
เว็บไซต์ในต่างประเทศและในประเทศไทยที่ใช้ระบบ Drup
92
ภาพที่ 5.7 เว็บไซต์สมัชชาเพื่อสุขภาพ
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. ออนไลน์. 2553.
ภาพที่ 5.8 เว็บไซต์ Nike INC
ที่มา : เว็บไซต์ Nike INC. ออนไลน์. 2557.
93
5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ DRUPAL
ระบบ Drupal เป็นเครื่องมือพัฒนาเว็บในกลุ่มโอเพนซอร์สที่ให้ดาวน์โหลดใช้งานได้
ฟรี โดยสามารถบริหารจัดการเนื้อหาและปรับระบบได้ตามที่ต้องการ การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในกลุ่ม
เปิดเผยรหัสต้นฉบับพัฒนาคลังจัดเก็บเอกสารดิจิทัลระบบเปิดจาเป็นต้องพิจารณาในหลาย ๆ
องค์ประกอบ เนื่องจากซอฟต์แวร์มีความแตกต่างกันในเรื่องคุณสมบัติ การใช้งานและความสามารถ
ดังนั้นการเลือกใช้งานจะต้องเลือกใช้โปรแกรมให้เหมาะสมกับรูปแบบ และแนวทางการจัดการที่
วางแผนไว้ ขั้นตอนการพัฒนาระบบ Drupal แบ่งเป็น 9 ขั้นตอน คือ ติดตั้งระบบ การใช้งานพื้นฐาน
การปรับแต่งหน้าตาเว็บไซต์ จัดแบ่งหมวดหมู่ของเนื้อหา จัดการผู้ใช้ ตรวจสอบประสิทธิภาพและ
การทางาน ปรับแต่ง/แก้ไข ใช้งาน พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถ
ภาพที่ 5.9 ขั้นตอนการพัฒนาระบบ Drupal
ที่มา : เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
9. พัฒนาและ
เพิ่มขีด
ความสามารถ
8. ใช้งาน
7. ปรับแต่ง/
แก้ไข
6. ตรวจสอบ
ประสิทธิภาพและ
การทางาน
5. จัดการผู้ใช้
4. จัดแบ่ง
หมวดหมู่ของ
เนื้อหา
3. การปรับแต่ง
หน้าตาเว็บไซต์
2. การใช้งาน
พื้นฐาน
1. ติดตั้งระบบ
ระบบ
Drupal
94
6. กรณีศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น
การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการจัดการงานพัฒนาศักยภาพ
แรงงานด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ (เอกรัตน์ นามวงค์. 2555) มีดังนี้
1. แนวคิดและความสาคัญของปัญหา ระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการจัดการ
งานพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ มีแนวคิดที่ต้องการให้มีแหล่งข้อมูล
หรือแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหม
แพรวา มีการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์กับกลุ่ม
ผู้ผลิต กลุ่มแปรรูป และกลุ่มผู้จัดจาหน่ายผ้าไหมแพรวา จึงพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน
การบริหารจัดการ การฝึกอบรมของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานด้านผ้าไหมแพรวาให้เกิดประสิทธิภาพ
มากขึ้น โดยระบบสารสนเทศนี้ทาหน้าที่รวบรวมสารสนเทศที่จาเป็นต่อการดาเนินงานฝึกอบรม
และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการฝึกอบรม ติดตามผลผู้เข้าฝึกอบรม ภายในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของ
ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานด้านผ้าไหมแพรวา เพื่อการสนับสนุนการจัดการงานพัฒนาศักยภาพแรงงาน
ด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงาน
ด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์
3. ขอบเขตการวิจัย ประกอบด้วย
3.1 ข้อมูลการฝึกอบรมผ้าไหมแพรวา แสดงข้อมูลตารางการฝึกอบรม วิทยากร
ฝึกอบรม
3.2 ข้อมูลใบรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแพรวา แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผ้า
ไหมแพรวา ได้แก่ สินค้า OTOP สินค้ามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
3.3 ข้อมูลกลุ่มอาชีพ ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จัดจาหน่าย
3.4 ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไฟล์เอกสาร ไฟล์ภาพ ไฟล์วีดิโอ
3.5 ข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แสดงข้อมูลผู้ทาการวิจัยเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวา
4. ข้อจากัดในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา ผู้วิจัยดาเนินตาม
ขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบ (System development life cycle - SDLC) โดยดาเนินการ
ตั้งแต่ขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนา
95
ระบบ และการประเมินระบบ ซึ่งจะนาไปใช้กับกลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมแพรวา กลุ่มแปรรูปผ้าไหมแพรวา
และกลุ่มผู้จาหน่ายผ้าไหมแพรวา จานวน 10 กลุ่ม เนื่องจากภายในจังหวัดกาฬสินธุ์มีผู้เกี่ยวข้องกับ
ผ้าไหมแพรวาเป็นจานวนมาก แล้วสรุปผลการวิจัยเพื่อเป็นแนวทางปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มี
ประสิทธิภาพต่อไป
5. ขั้นตอนการศึกษา การพัฒนาระบบใช้วิธีการตามหลักการของวงจรการพัฒนา
ระบบสารสนเทศ เริ่มจากการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบโดยสัมภาษณ์ผู้ใช้ ซึ่งเป็นบุคลากรของ
ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ และกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่
กลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมแพรวา กลุ่มผู้แปรรูปผ้าไหมแพรวา และกลุ่มผู้จาหน่ายผ้าไหมแพรวา รวม 20
คน จากนั้นวิเคราะห์และออกแบบระบบใหม่ ซึ่งประกอบด้วย ระบบย่อย 3 ระบบ คือ ระบบนาเข้า
ระบบค้นหา และระบบแสดงผล โดยครอบคลุมข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ การฝึกอบรม แหล่งผลิต แปรรูป
และจาหน่ายผ้าไหมแพรวา การพัฒนาระบบดาเนินการภายใต้ระบบปฏิบัติการ คือ Microsoft
Windows 7 Ultimate โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ คือ พีเอชพี โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล คือ
MySQL โปรแกรมพัฒนาเว็บเพจ คือ โปรแกรมจูมลา
6. ผลการวิจัยพบว่า ทาให้ได้ระบบสารสนเทศที่สามารถพัฒนาศักยภาพแรงงานด้าน
ผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ซึ่ง
ประกอบด้วย ผู้บริหารและบุคลากร และกลุ่มผู้ผลิต ผู้แปรรูป และกลุ่มผู้จาหน่ายผ้าไหมแพรวา
จานวน 25 คน พบว่า ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อระบบแสดงผล ค้นหา และภาพรวมของระบบ
อยู่ในระดับดี
96
สรุป
จากการศึกษาการจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็นแนวคิดเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศที่เก็บไว้
ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์โดยอาศัยระบบจัดการฐานข้อมูล และระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ที่ทาให้การประมวลผลสารสนเทศมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน โดยฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมุ่งรวบรวม
จัดเก็บ ประมวลผล ผลิต และเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับท้องถิ่น ได้แก่ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน ศิลปะการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น
วัฒนธรรมความเป็นอยู่ สถานที่สาคัญ ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนในการพัฒนาฐานข้อมูล
ท้องถิ่นต้องนาแนวคิดพื้นฐานสาคัญทั้ง 3 องค์ประกอบ ได้แก่ สารสนเทศท้องถิ่น กระบวนการ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนา และดาเนินงานฐานข้อมูลท้องถิ่น
การพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานข้อมูลท้องถิ่น ตามวัตถุประสงค์
และขอบเขตที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย ขั้นตอนพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยเริ่มต้นและการวางแผน
การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาและการติดตั้งระบบ และการบารุงรักษาระบบ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล DRUPAL สาหรับทาเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต บนเซิร์ฟเวอร์ของตัวเอง
การใช้ Drupal เป็นซอฟต์แวร์ในกลุ่มโอเพนซอร์ส ให้ดาวน์โหลดใช้งานได้ฟรี ทางานบนฐาน PHP
และ MySQLทาให้สะดวกในการปรับแต่งแก้ไขโปรแกรม เป็นระบบจัดการและเผยแพร่เนื้อหา
เหมาะสม มีระบบจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา และรองรับเว็บหลายภาษา

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Thotsaphon M'Max
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือwat_pun
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลRachabodin Suwannakanthi
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueIssara Mo
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
Strategy Map K
Strategy Map KStrategy Map K
Strategy Map K
 
ประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุดประเภทห้องสมุด
ประเภทห้องสมุด
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
จัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือจัดเตรียมหนังสือ
จัดเตรียมหนังสือ
 
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัลการวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
การวางแผน การดำเนินงาน และเทคโนโลยีที่ใช้ในงานสารสนเทศดิจิทัล
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissueเนื้อเยื่อพืช Plant tissue
เนื้อเยื่อพืช Plant tissue
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 

Similar to อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57

มุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศมุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศRitoru Usagi Oum
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554RMUTT
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1Prachyanun Nilsook
 
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจNatthawan Torkitkarncharern
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) Natthawan Torkitkarncharern
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15sangkom
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Similar to อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57 (20)

มุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศมุมอีสานสนเทศ
มุมอีสานสนเทศ
 
204215 Unit7.1
204215 Unit7.1204215 Unit7.1
204215 Unit7.1
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 
Chapter003
Chapter003Chapter003
Chapter003
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
Ku 54
Ku 54Ku 54
Ku 54
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน # 1
 
1
11
1
 
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคํญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Social Network
Social NetworkSocial Network
Social Network
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ (Information system)
ระบบสารสนเทศ (Information system)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
 
ระบบสารสนเทศ Up
ระบบสารสนเทศ Upระบบสารสนเทศ Up
ระบบสารสนเทศ Up
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี

More from นางสาวอัมพร แสงมณี (20)

คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 

อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57

  • 1. 77 บทที่ 5 การจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่น การจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่นเป็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่นาเอาสารสนเทศในท้องถิ่น ที่เกิดจากการสืบทอด ถ่ายทอดองค์ความรู้ในชุมชนท้องถิ่นมารวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ เผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่น ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน การแสดง พื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น ตลอดจนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ในชุมชน เพื่อให้เกิดการเข้าถึงและใช้ สารสนเทศท้องถิ่นที่เหมาะสม โดยมีการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อดาเนินการให้ได้มาซึ่ง ระบบสารสนเทศท้องถิ่นตามวัตถุประสงค์ ประกอบด้วย กิจกรรมและขั้นตอนการกาหนดและเลือก โครงการ การเริ่มต้นและวางแผน การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาและติดตั้ง ระบบ และการบารุงรักษาระบบ เพื่อนามาพัฒนาเผยแพร่และเกิดความสะดวกในการใช้ สารสนเทศท้องถิ่น แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูลท้องถิ่น ฐานข้อมูลมีบทบาทสาคัญต่องานสารสนเทศ โดยเฉพาะใช้ในการบันทึกข้อมูลด้วย ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาความล่าช้าและความยุ่งยากในการสืบค้นข้อมูล และทาให้ผู้ใช้ สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้รวดเร็วและตรงกับต้องการมากที่สุด หน่วยงานที่ให้บริการจึงนา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บเพื่อสืบค้นสารสนเทศในรูปของฐานข้อมูล 1. ความหมายและองค์ประกอบของฐานข้อมูลท้องถิ่น มีผู้ให้ความหมายและองค์ประกอบของฐานข้อมูลท้องถิ่น ไว้ดังนี้ 1.1 ความหมายของฐานข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง แหล่งสารสนเทศที่เก็บไว้ในรูปแบบ ของอิเล็กทรอนิกส์โดยอาศัยระบบจัดการฐานข้อมูล และระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ทาให้ การประมวลผลสารสนเทศมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ฐานข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็นประเภท ใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลซีดีรอม และฐานข้อมูลที่จัดทาขึ้นเอง ฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นโดยมุ่งรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล ผลิต และเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่น รวมถึงเรื่องราว ข่าวสาร ความรู้ ข้อเท็จจริงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับท้องถิ่น ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน ศิลปะการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น
  • 2. 78 วัฒนธรรมความเป็นอยู่ สถานที่สาคัญ ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนเป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ เกิดการเข้าถึง และการใช้สารสนเทศท้องถิ่นที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ (มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ. 2554 : 8-5) 1.2 องค์ประกอบของฐานข้อมูลท้องถิ่น มีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ สารสนเทศ ท้องถิ่น กระบวนการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ. 2554 : 8-5) ดังนี้ 1.2.1 สารสนเทศท้องถิ่น เป็นองค์ประกอบที่สาคัญของฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็น ตัวชี้ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของฐานข้อมูลท้องถิ่น เนื่องจากต้องมีการเก็บข้อมูลจาก แหล่งกาเนิดข้อมูลท้องถิ่นนั้น ๆ จะต้องมีความถูกต้อง ทันสมัย มีการกลั่นกรองตรวจสอบแล้ว เท่านั้น จึงจะมีประโยชน์ ฐานข้อมูลท้องถิ่นนั้น เป็นการจัดเก็บ บันทึก และประมวลผลข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับท้องถิ่นซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ ตัวเลข ภาพ เสียง และสื่อประสม และข้อมูลดังกล่าวมีเนื้อหาหลากหลาย ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน ศิลปะการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมความเป็นอยู่ สถานที่สาคัญ ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชน ฯลฯ และยังมีทั้งการเก็บข้อมูลในรูปแบบเนื้อหาเต็ม และเก็บ เฉพาะตัวแทนของข้อมูลในรูปแบบบรรณานุกรม เพื่อเชื่อมโยงการเข้าถึงและใช้สารสนเทศ ดังนั้น จึงจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับองค์ประกอบด้านข้อมูลในการดาเนินงานฐานข้อมูลท้องถิ่น 1.2.2 กระบวนการ ฐานข้อมูลท้องถิ่นมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้ หรือของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เมื่อได้มีการพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่นขึ้นมาแล้ว จาเป็นต้องปฏิบัติงาน ตามลาดับขั้นตอนในขณะใช้งานก็จาเป็นต้องคานึงถึงลาดับขั้นตอนการปฏิบัติของคนและ ความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลสารสนเทศ ท้องถิ่น ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเครื่องมือชารุดหรือข้อมูลสูญหาย และ ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะต้องมีการซักซ้อม มีการ เตรียมการ และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานระบบสารสนเทศท้องถิ่นให้ชัดเจน 1.2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ดังนี้
  • 3. 79 1.2.3.1 ฮาร์ดแวร์ เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รอบข้าง เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องอ่าน ตรวจ รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย 1.2.3.2 ซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง โปรแกรมที่เป็น ลาดับขั้นตอนของชุดคาสั่งที่สั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความ ต้องการ ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์สาเร็จ ทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ใน ระดับบุคคลเป็นไปอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมการทางานของกลุ่มมากขึ้น โดยเฉพาะส่วนงานใน ระดับองค์กรส่วนใหญ่มักจะมีการพัฒนาฐานข้อมูลตามความต้องการ โดยการว่าจ้างบริษัทที่รับ พัฒนาซอฟต์แวร์หรือโดยนักคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร เป็นต้น ในการพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่นต้องนาแนวคิดพื้นฐานสาคัญทั้ง 3 องค์ประกอบ มาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนา และดาเนินงานฐานข้อมูลท้องถิ่น ลักษณะของการจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่น ฐานข้อมูลท้องถิ่น อาจแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ คือ เว็บไซต์ ข้อมูลท้องถิ่น ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร และระบบสารสนเทศผู้เชี่ยวชาญหรือเฉพาะด้าน โดยแต่ละลักษณะมีรายละเอียดและตัวอย่าง ดังที่ มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ (2554 : 8-7-8-11) ดังนี้ 1. เว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่น เว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่น เป็นลักษณะระบบประมวลผลรายการ การจาแนกประเภทนี้ เป็นการจาแนกตามโครงสร้างขององค์กร ตั้งแต่ระดับหน่วยย่อยระดับองค์กรทั้งหมด และระดับ องค์กร ฐานข้อมูลท้องถิ่นประเภทเว็บไซต์ข้อมูลท้องถิ่นนี้ มักถูกพัฒนาขึ้นโดยองค์กรภาครัฐ หน่วยงาน สถาบัน รวมทั้งหน่วยงานท้องถิ่น เช่น สานักงานจังหวัด อาเภอ ตาบล ฯลฯ ซึ่งมี หน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวม จัดเก็บ และเผยแพร่ข้อมูลความรู้ของชุมชนท้องถิ่นนั้น ๆ โดยทั่วไปฐานข้อมูลท้องถิ่นประเภทนี้ จัดทาในลักษณะข้อมูลสาธารณะบนเว็บไซต์ เช่น
  • 4. 80 ภาพที่ 5.1 เว็บไซต์มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ ที่มา : มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ. ออนไลน์. 2557. 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลท้องถิ่นสนับสนุนการทางาน ตามหน้าที่ จัดทารายงานสรุป หรือการทากิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร โดยทั่วไปองค์กรมักใช้ระบบ สารสนเทศในงานที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ต่าง ๆ ภาพที่ 5.2 ระบบฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย ที่มา : กรมทรัพย์สินทางปัญญา. ออนไลน์. 2557.
  • 5. 81 ภาพที่ 5.3 ฐานข้อมูลท้องถิ่นออนไลน์ งานข้อมูลท้องถิ่นและจดหมายเหตุ ที่มา : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สานักวิทยบริการ. ออนไลน์. 2557. 3. ระบบสารสนเทศผู้เชี่ยวชาญหรือระบบสารสนเทศเฉพาะด้าน ระบบสารสนเทศผู้เชี่ยวชาญหรือระบบสารสนเทศเฉพาะด้าน พัฒนาขึ้นโดย วัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูลเฉพาะด้านสาหรับสนับสนุนการใช้งานของบุคลากรในงานเฉพาะ ด้านและผู้เกี่ยวข้อง เป็นรูปแบบระบบข้อมูลกลาง มีการประมวลผลข้อมูลท้องถิ่นในลักษณะ บูรณาการเพื่อการใช้งานทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ภาพที่ 5.4 ฐานข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นบนอินเทอร์เน็ต ที่มา : คณะทางานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค. ออนไลน์. 2557
  • 6. 82 ภาพที่ 5.5 ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มา : กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. ออนไลน์. 2557. การเตรียมข้อมูลเพื่อการพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น ข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น หมายถึง รายละเอียดของข้อมูลสารสนเทศในท้องถิ่นซึ่ง ครอบคลุมทั้งข้อมูลในด้านสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ประวัติความเป็นมา สภาพเศรษฐกิจ สังคม การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา ตลอดจนสภาพปัญหาในชุมชน และสังคมนั้น ๆ ดังที่ มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ (2554 : 8-13-8-14) ; อิสระ ศิริไสยาสน์, วาฐิตา ณ เชียงใหม่ และวัชรพงษ์ ณ เชียงใหม่ (2549) มีรายละเอียดดังนี้ 1. การจัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น การเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายาม และตั้งใจดาเนินการ หรือการได้มาซึ่ง ข้อมูลที่จะนามาใช้ประโยชน์ องค์กรสารสนเทศท้องถิ่นจาเป็นต้องลงทุนทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบที่ เป็นจริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่าแก่การลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้
  • 7. 83 1.1 การตรวจสอบข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง ขั้นตอนการตรวจสอบข้อมูลท้องถิ่นที่มี อยู่เดิมซึ่งอยู่ในลักษณะกระดาษหรือเก็บไว้ในระบบมือ การตรวจสอบเพื่อหาข้อผิดพลาด ตรวจสอบข้อมูลท้องถิ่นที่มีอยู่เพื่อความน่าเชื่อถือ เพื่อมั่นใจได้ว่าข้อมูลที่ได้รับการรวบรวมและ บันทึกไว้อย่างถูกต้อง โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงานเพื่อให้ได้ ความถูกต้องแม่นยามาก 1.2 การรวบรวมข้อมูลท้องถิ่น หมายถึง ทาการออกสารวจ และรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ข้างต้น ในพื้นที่จริงเพื่อการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล และบันทึกข้อมูลเพื่อการประมวลผล การรวบรวม ข้อมูลทาได้หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง การบันทึกข้อมูลจากบันทึก หรือเอกสาร ของหน่วยงานต่าง ๆ การอ่านและศึกษาค้นคว้า การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การเข้าร่วมใน เหตุการณ์ต่าง ๆ การฟังวิทยุ และการดูโทรทัศน์ 1.3 การประมวลข้อมูล หมายถึง ทาการออกสารวจมาจัดทา คัดแยกแบ่งกลุ่ม ลงใน ระบบ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด พร้อมทั้งเคลื่อนย้ายตาแหน่งข้อมูลบางส่วน เพื่อให้ผู้ใช้บริการข้อมูลสามารถเข้าถึงข้อมูลที่สาคัญได้ง่ายที่สุด 1.4 การจัดเก็บข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหาร โดยเก็บไว้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปใน อนาคตได้ นับเป็นขั้นตอนของการสร้างระบบฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถสืบค้นและจัดทาระบบ บริการข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ได้จัดทาไว้ โดยมีรูปแบบตามความต้องการข้อมูลของผู้ใช้แต่ละ กลุ่มได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง 1.5 การวิเคราะห์ข้อมูล หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินการเพื่อสรุปความสาคัญของ ข้อมูลสารสนเทศให้ตรงสภาพที่เป็นจริงตรงตามวัตถุประสงค์ก่อนที่จะนาข้อมูลมาใช้ 1.6 การนาข้อมูลไปใช้ ซึ่งรวมถึงการประมวลผลการใช้ข้อมูลท้องถิ่น และดาเนินการ ปรับปรุงหากมีข้อที่ต้องแก้ไข
  • 8. 84 การพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น การพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานข้อมูลท้องถิ่น ตาม วัตถุประสงค์และขอบเขตที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย ขั้นตอนพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยเริ่มต้นและ การวางแผน การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาและการติดตั้งระบบ และการ บารุงรักษาระบบ ดังที่ มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ (2554 : 8-15-8-18) ดังนี้ 1. ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น 1.1 การพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น คือ การดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งระบบ สารสนเทศท้องถิ่น ตามวัตถุประสงค์และขอบเขตที่ตั้งไว้ โดยทั่วไปประกอบกิจกรรม และขั้นตอน ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศโดยทั่วไป ดังนี้ 1.1.1 การกาหนดและเลือกโครงการ (System identification and selection) 1.1.2 การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (System initiation and planning) 1.1.3 การวิเคราะห์ระบบ (System analysis) 1.1.4 การออกแบบระบบ (System design) 1.1.5 การพัฒนาและติดตั้งระบบ (System implementation) 1.1.6 การบารุงรักษาระบบ (System maintenance) 1.2 รูปแบบการพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศมีรูปแบบและ วิธีการดังนี้ 1.2.1 การพัฒนาระบบแบบน้าตก (Waterfall model) แต่ละขั้นตอนของการ พัฒนาระบบจะเริ่มได้ก็ต่อเมื่อได้ทาขั้นตอนก่อนหน้านี้เสร็จเรียบร้อยและจะไม่ย้อนกลับไปทา ขั้นตอนก่อนหน้านี้อีก 1.2.2 การพัฒนาระบบแบบน้าตกที่ย้อนกลับได้ (Adapted waterfall) เป็น รูปแบบการพัฒนาที่หากดาเนินการในขั้นตอนใดอยู่สามารถย้อนกลับไปขั้นตอนก่อนหน้านี้ได้เพื่อ แก้ไขข้อผิดพลาดหรือเพื่อต้องการความชัดเจน 1.2.3 การพัฒนาระบบแบบออบเจ็กต์ (Object-oriented methodology) ประกอบด้วย กลุ่มของวัตถุ (Class of objects) ซึ่งทางานร่วมกัน มีการจัดกลุ่มของข้อมูลและ
  • 9. 85 พฤติกรรมหรือฟังก์ชันที่กระทากับข้อมูลนั้นเป็นกลุ่ม ๆ ในรูปของออบเจ็กต์จึงใช้เวลาในการพัฒนา น้อยกว่าวิธีอื่น 1.2.4 การพัฒนาระบบงานประยุกต์แบบรวดเร็ว (Rapid application development) เป็นรูปแบบการพัฒนาระบบที่ใช้ระยะเวลาในการพัฒนารวดเร็วกว่าและคุณภาพ ดีกว่าวิธีพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม โดยมีการนาเครื่องมือซอฟต์แวร์มาช่วยในการพัฒนาระบบซึ่ง มีขั้นตอนในการพัฒนาระบบอยู่ 4 ขั้นตอนคือ การกาหนดความต้องการ การออกแบบโดยผู้ใช้ การสร้างระบบ และการเปลี่ยนระบบหรือใช้ระบบ 1.2.5 การพัฒนาระบบในรูปแบบขดลวด (Evolutionary model SDLC) เป็นการพัฒนาระบบแบบวนรอบเพื่อให้การพัฒนาระบบมีความรวดเร็วโดยการพัฒนาระบบจะเริ่ม จากแกนกลาง ในรอบแรกของการพัฒนาจะได้ ระบบรุ่น (Version) แรกออกมาและจะปรับปรุงให้ ดีขึ้นในรุ่นที่สอง และดาเนินการแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้รุ่นที่สมบูรณ์ 1.3 วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ 1.3.1 การพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม (Traditional SDLC methodology) เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบที่มีขั้นตอนที่แน่นอน วิธีนี้เป็นวิธีเก่าแก่ ที่สุดและนิยมเรียกย่อ ๆ ว่า SDLC โดยแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นระยะ (Phase) ได้แก่ 1.3.1.1 ระยะการวางแผน (Planning phase) 1.3.1.2 ระยะการวิเคราะห์ (Analysis phase) 1.3.1.3 ระยะการออกแบบ (Design phase) 1.3.1.4 ระยะการพัฒนาและติดตั้ง (Implementation phase) 1.3.2 การสร้างต้นแบบ (Prototyping) เป็นการสร้างระบบต้นแบบขึ้นมา เพื่อให้ผู้ใช้ทดลองใช้งานซึ่งนอกจากผู้ใช้จะได้แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศที่ต้องการแล้วยังช่วยให้ มองเห็นภาพของระบบที่จะพัฒนาได้ชัดเจนขึ้น การพัฒนาระบบโดยใช้ต้นแบบแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนคือ
  • 10. 86 ขั้นที่ 1 : ระบุความต้องการเบื้องต้นของผู้ใช้ ขั้นที่ 2 : พัฒนาต้นแบบเริ่มแรก ขั้นที่ 3 : นาต้นแบบมาใช้ ขั้นที่ 4 : ปรับปรุงแก้ไขต้นแบบ 1.3.3 การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้ (End-user development) เป็นการพัฒนา ระบบโดยสารวจความต้องการจากผู้ใช้ เพื่อให้ได้ระบบที่สามารถนาไปใช้งานได้จริง 1.3.4 การใช้บริการจากแหล่งภายนอก (Outsourcing) เนื่องจากองค์การไม่มี บุคลากรที่มีทักษะความชานาญ การจ้างหน่วยงานหรือบริษัทภายนอกที่มีความชานาญด้านนี้มาทา การพัฒนาระบบให้ ซึ่งการทาสัญญาจ้างให้หน่วยงานภายนอกมาทางานเกี่ยวกับการดาเนินงานของ ฝ่ายคอมพิวเตอร์นี้เรียกว่า IT Outsourcing ในที่นี้จะเรียกสั้น ๆ ว่า Outsourcing 1.3.5 การใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปประยุกต์ (Application software package) เป็นทางเลือกหนึ่งในการพัฒนา เช่น ระบบสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่น ระบบคลังสารสนเทศ ท้องถิ่นนครราชสีมา หากซอฟต์แวร์สาเร็จรูปสามารถสนองต่อความต้องการระบบงานขององค์การ ได้ องค์การก็ไม่จาเป็นต้องพัฒนาขึ้นเอง เนื่องจากโปรแกรมสาเร็จรูปได้รับการออกแบบและผ่าน การทดสอบแล้ว จึงช่วยลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการพัฒนาระบบใหม่และยังช่วยให้การทดสอบการ ติดตั้ง และบารุงรักษาระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น 1.4 วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ (System development life cycle : SDLC) เป็นการพัฒนาระบบงานแบบดั้งเดิม (Traditinal SDLC methodology) เป็นการพัฒนาระบบ สารสนเทศตามวงจรการพัฒนาระบบที่มีขั้นตอนที่แน่นอน เป็นวิธีเก่าแก่ที่สุดและนิยมเรียกย่อ ๆ ว่า SDLC เป็นกระบวนการในการพัฒนาระบบ โดยแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่
  • 11. 87 ภาพที่ 5.6 วงจรชีวิตการพัฒนาระบบ ที่มา : มลิวัลย์ ประดิษฐ์ธีระ. 2554 : 8-17. 1.4.1 การตรวจสอบเบื้องต้น (Preliminary investigation) เพื่อรวบรวมปัญหา และทาความเข้าใจปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ เรียกว่าขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านที่ 1 ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical feasibility) ด้านที่ 2 ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติ (Operational feasibility) ด้านที่ 3 ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economical feasibility) 1.4.2 การวิเคราะห์ระบบ (System analysis) เป็นการวิเคราะห์ปัญหาของ องค์การซึ่งจะแก้ไขโดยระบบสารสนเทศ ขั้นตอนนี้จะเกี่ยวข้องกับการระบุปัญหาขององค์การ สาเหตุของปัญหา การแก้ปัญหา และระบุความต้องการสารสนเทศ (Information requirement) 1.4.3 การออกแบบระบบ (System design) เป็นการบรรยายเกี่ยวกับสิ่งที่ ระบบต้องทาเพื่อแก้ปัญหาองค์การ และวิธีการดาเนินงาน ประกอบด้วย 1.4.3.1 ปัจจัยนาเข้าของระบบ ผลผลิตของระบบ และการออกแบบ 1. การตรวจ สอบเบื้องต้น 2. การวิเคราะห์ ระบบ 6. การบารุง รักษาระบบ 5. การติดตั้ง ระบบ 3. การออกแบบ ระบบ 4. การพัฒนา ระบบ
  • 12. 88 หน้าจอให้กับผู้ใช้ (User interface) 1.4.3.2 ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสารโทรคมนาคม บุคลากร และกระบวนการ (Procedure) 1.4.3.3 การบูรณาการส่วนประกอบต่าง ๆ ดังกล่าวอย่างเป็นระบบ การออกแบบระบบมี 2 ประเภทคือ การออกแบบด้านกายภาพ (Physical system design) เน้นการเปลี่ยนแปลงเชิงตรรกะซึ่งมีลักษณะนามธรรม ให้มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ในการออกแบบด้านเทคนิคมากขึ้น รวมทั้งการออกแบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล และ การออกแบบรายละเอียด (Detailed design) 1.4.4 การพัฒนาระบบ (System development) คือการเปลี่ยนจาก รายละเอียดของการออกแบบ (Design specification) เป็นรหัสคอมพิวเตอร์ (Computer code) ซึ่งกระบวนการดังกล่าวอาจจะใช้เวลานานโปรแกรมขนาดใหญ่อาจจะประกอบด้วยคาสั่งหลายหมื่น บรรทัดโดยใช้โปรแกรมเมอร์เป็นร้อยคน 1.4.5 การติดตั้งระบบ (System implementation) การทดสอบและติดตั้ง ระบบ การทดสอบจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ซึ่งเป็นการตรวจสอบว่ารหัส คอมพิวเตอร์ที่เขียนไว้จะสามารถให้ผลตามที่ต้องการหรือไม่ การทดสอบจะต้องใช้เวลา และความ พยายามมาก การติดตั้งเป็นกระบวนการที่เปลี่ยนจากระบบเก่าเข้าสู่ระบบใหม่ ซึ่งวิธีการ เปลี่ยนระบบสามารถทาได้ 4 รูปแบบคือ 1.4.5.1 แบบคู่ขนาน (Parallel) เป็นการดาเนินการพร้อมกันทั้งระบบ เก่า และระบบใหม่ ในเวลาเดียวกัน เพื่อนาผลที่ได้มาเปรียบเทียบกัน การเปลี่ยนแปลงแบบนี้ มี ต้นทุนแพงที่สุด แต่มีความเสี่ยงน้อยที่สุด ระบบงานที่มีขนาดใหญ่มักนิยมใช้แบบนี้ เพื่อลดความ เสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น 1.4.5.2 แบบเปลี่ยนทั้งหมด (Direct conversion) เป็นการติดตั้งระบบ ใหม่แทนระบบเดิมทั้งหมดการเปลี่ยนแปลงนี้มีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่มีความเสี่ยงมากที่สุดหากระบบ ไม่เป็นไปตามที่กาหนดไว้
  • 13. 89 1.4.5.3 การเปลี่ยนแปลงโดยใช้โครงการนาร่อง (Pilot conversion) เป็นการติดตั้งระบบใหม่ส่วนใดส่วนหนึ่งขององค์การ และหลังจากที่ระบบใหม่ติดตั้งและดาเนินการ ไประยะหนึ่งแล้วก็จะมีการประเมินผล หากระบบใหม่มีความเหมาะสมจึงค่อยนาไปใช้กับส่วนอื่น ๆ 1.4.5.4 การเปลี่ยนแปลงแบบมีขั้นตอน (Phased conversion) มีการ แบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็นส่วนย่อย ๆ หรือ module หรือแบ่งระยะเวลาในการติดตั้ง จากนั้นจึง ลองนาบาง module ไปทดลองติดตั้ง หากได้ผลจึงค่อยนา module อื่นไปปฏิบัติจนกระทั่งครบทั้ง ระบบ 1.4.6 การบารุงรักษาระบบ (System maintenance) เมื่อมีการติดตั้งระบบ ใหม่แล้ว จะต้องมีการบารุงรักษา ซึ่งมีหลายลักษณะ คือ 1.4.6.1 การประเมินผลการทางานของระบบ (System evaluation) ตรวจความถูกต้องของโปรแกรม เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อเนื่องไปตลอดอายุของระบบ 1.4.6.2 การบารุงรักษาระบบ (System maintenance) การปรับปรุง ระบบให้ทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไข การปฏิบัติที่อาจเปลี่ยนแปลงไป รวมถึง การเพิ่มหน้าที่ทางานให้ระบบ 1.5 ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นให้ประสบความสาเร็จ การ พัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น ได้ยึดแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศทั่วไปซึ่งมีความเสี่ยงใน การที่จะพัฒนาให้ประสบความสาเร็จและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และความต้องการของกลุ่มผู้ใช้ ดังนั้น การพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นให้ประสบความสาเร็จ ประกอบด้วยปัจจัยต่อไปนี้ (Foley, Alfonso and Wiseman. 2007) 1.5.1 พัฒนาขึ้นอย่างสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ มีการกาหนดขอบเขต และวัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นที่ชัดเจน 1.5.2 มีการสนับสนุนจากฝ่ายบริหารตลอดจนผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสีย เกี่ยวกับระบบสารสนเทศท้องถิ่น 1.5.3 มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น จากตัวอย่างอื่น ๆ ที่ดี 1.5.4 อาจเริ่มต้นจากการพัฒนาระบบที่ง่ายต่อการใช้งานก่อน แล้วจึงค่อย ๆ
  • 14. 90 พัฒนารายละเอียด 1.5.5 สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ใช้และมีส่วนได้ส่วนเสีย 1.5.6 อาจเริ่มจากการใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่มีอยู่ในองค์การก่อน 1.5.7 ไม่จาเป็นต้องพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่มีราคาแพง เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล กระบวนการทางาน และพฤติกรรมการใช้ สารสนเทศของกลุ่มผู้ใช้ 1.5.8 การบริหารโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีการกาหนดวิธีการดูแลรักษาระบบสารสนเทศท้องถิ่น โดยเฉพาะการดูแลความถูกต้อง และทันสมัยของสารสนเทศท้องถิ่นอย่างสม่าเสมอ การพัฒนาระบบฐานข้อมูล DRUPAL Drupal เริ่มขึ้นเมื่อ ค.ศ. 2000 โดย Dries Buytaert ชาวเบลเยี่ยม Dries ได้คิดค้น ระบบ Drupal ขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสารในอนาคต ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 Dries ได้ เปิดตัวระบบซอร์ซโค้ดของโปรแกรม คือ Drupal จากนั้น Drupal ก็พัฒนาอย่างรวดเร็วด้วยความ ร่วมมือของนักพัฒนาจานวนมากจากทั่วโลก Drupal เป็นระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Content management system - CMS) ทางานบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้บริการเว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต แต่เราสามารถนา Drupal ไปใช้ในลักษณะงานอื่น ๆ ได้ เช่น ใช้ Drupal สาหรับทาเว็บไซต์บน อินเทอร์เน็ต บนเซิร์ฟเวอร์ของตัวเอง แต่ถ้าไม่สามารถเช่าเนื้อที่เซิร์ฟเวอร์จากผู้ให้บริการ และใช้ Drupal เป็นเว็บไซต์ในองค์กร เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะที่โดดเด่น ซอฟต์แวร์ที่จาเป็น และสถิติที่พบ (อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธ์ และสุกรี พัฒนภิรมย์. 2552 : 11-12) ดังนี้ 1. ลักษณะที่โดดเด่นของระบบ Drupal Drupal มีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ดังนี้ 1.1 เป็นซอฟต์แวร์ในกลุ่มโอเพนซอร์ส ให้ดาวน์โหลดใช้งานได้ฟรี 1.2 ทางานบนฐาน PHP และ MySQL ทาให้สะดวกในการปรับแต่งแก้ไขโปรแกรม 1.3 มีโมดูลที่ตรงกับความต้องการ คือ Bibiliography module โดยที่โมดูลนี้มี ลูกเล่นที่น่าสนใจหลากหลายประการ 1.4 รองรับการทาคลังเอกสารทั้งแบบปิด และแบบเปิดบนฐาน OAI-PMH
  • 15. 91 1.5 ระบบจัดการและเผยแพร่ (Publish) เนื้อหาเหมาะสมสาหรับเว็บไซต์องค์กร เว็บไซต์ข่าว หรือเว็บไซต์ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ 1.6 ระบบจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา (Category หรือ tag) 1.7 รองรับเว็บหลายภาษา รวมถึงภาษาไทย ฯลฯ 2. ซอฟต์แวร์ที่จาเป็นต้องใช้ ซอฟต์แวร์ที่จาเป็นต่อการทางานของ Drupal ประกอบด้วย 2.1 ระบบปฏิบัติการ 2.2 เว็บเซิร์ฟเวอร์ 2.3 ระบบฐานข้อมูล 2.4 ตัวแปรภาษา PHP 3. สถิติที่แสดงความนิยมใช้ Drupal สรุปความนิยมของ Drupal ได้จากตัวเลขต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 Drupal ถูกดาวน์โหลดไปเดือนละเกือบ 1 แสนครั้ง 3.2 มีสมาชิกที่ลงทะเบียนบนเว็บไซต์ Drupal.org มากกว่า 2 แสนคน 3.3 มีนักพัฒนากว่า 2,800 คนจากทุกมุมโลก เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา Drupal 3.4 มีโมดูลเสริมการใช้งาน และธีมสาหรับเว็บไซต์ มากกว่า 2,500 ชุด 3.5 โปรแกรม Drupal ถูกแปลไปแล้วมากว่า 52 สาขา (รวมทั้งภาษาไทย) 3.6 มีการจัดงานสัมมนา Drupal ในระดับนานาชาติเป็นประจาทุกปี (นับตั้งแต่ปี 2005) และงานระดับท้องถิ่นในหลายประเทศ 4. ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ใช้ Drupal หน่วยงานงานทั้งภาครัฐและเอกชนจานวนมากทั่วโลก ได้นา Drupal มาเป็นฐานใน การพัฒนาเว็บไซต์ตัวเอง เช่น สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย และสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภาพต่อไปนี้เป็นตัวอย่าง เว็บไซต์ในต่างประเทศและในประเทศไทยที่ใช้ระบบ Drup
  • 16. 92 ภาพที่ 5.7 เว็บไซต์สมัชชาเพื่อสุขภาพ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. ออนไลน์. 2553. ภาพที่ 5.8 เว็บไซต์ Nike INC ที่มา : เว็บไซต์ Nike INC. ออนไลน์. 2557.
  • 17. 93 5. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ DRUPAL ระบบ Drupal เป็นเครื่องมือพัฒนาเว็บในกลุ่มโอเพนซอร์สที่ให้ดาวน์โหลดใช้งานได้ ฟรี โดยสามารถบริหารจัดการเนื้อหาและปรับระบบได้ตามที่ต้องการ การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในกลุ่ม เปิดเผยรหัสต้นฉบับพัฒนาคลังจัดเก็บเอกสารดิจิทัลระบบเปิดจาเป็นต้องพิจารณาในหลาย ๆ องค์ประกอบ เนื่องจากซอฟต์แวร์มีความแตกต่างกันในเรื่องคุณสมบัติ การใช้งานและความสามารถ ดังนั้นการเลือกใช้งานจะต้องเลือกใช้โปรแกรมให้เหมาะสมกับรูปแบบ และแนวทางการจัดการที่ วางแผนไว้ ขั้นตอนการพัฒนาระบบ Drupal แบ่งเป็น 9 ขั้นตอน คือ ติดตั้งระบบ การใช้งานพื้นฐาน การปรับแต่งหน้าตาเว็บไซต์ จัดแบ่งหมวดหมู่ของเนื้อหา จัดการผู้ใช้ ตรวจสอบประสิทธิภาพและ การทางาน ปรับแต่ง/แก้ไข ใช้งาน พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถ ภาพที่ 5.9 ขั้นตอนการพัฒนาระบบ Drupal ที่มา : เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 9. พัฒนาและ เพิ่มขีด ความสามารถ 8. ใช้งาน 7. ปรับแต่ง/ แก้ไข 6. ตรวจสอบ ประสิทธิภาพและ การทางาน 5. จัดการผู้ใช้ 4. จัดแบ่ง หมวดหมู่ของ เนื้อหา 3. การปรับแต่ง หน้าตาเว็บไซต์ 2. การใช้งาน พื้นฐาน 1. ติดตั้งระบบ ระบบ Drupal
  • 18. 94 6. กรณีศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศท้องถิ่น การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการจัดการงานพัฒนาศักยภาพ แรงงานด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ (เอกรัตน์ นามวงค์. 2555) มีดังนี้ 1. แนวคิดและความสาคัญของปัญหา ระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการจัดการ งานพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ มีแนวคิดที่ต้องการให้มีแหล่งข้อมูล หรือแหล่งรวบรวมองค์ความรู้ที่ถูกต้องและเหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพแรงงานด้านผ้าไหม แพรวา มีการจัดเก็บข้อมูลที่เป็นระบบเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์กับกลุ่ม ผู้ผลิต กลุ่มแปรรูป และกลุ่มผู้จัดจาหน่ายผ้าไหมแพรวา จึงพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการ การฝึกอบรมของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานด้านผ้าไหมแพรวาให้เกิดประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยระบบสารสนเทศนี้ทาหน้าที่รวบรวมสารสนเทศที่จาเป็นต่อการดาเนินงานฝึกอบรม และนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการฝึกอบรม ติดตามผลผู้เข้าฝึกอบรม ภายในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานด้านผ้าไหมแพรวา เพื่อการสนับสนุนการจัดการงานพัฒนาศักยภาพแรงงาน ด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงาน ด้านผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ 3. ขอบเขตการวิจัย ประกอบด้วย 3.1 ข้อมูลการฝึกอบรมผ้าไหมแพรวา แสดงข้อมูลตารางการฝึกอบรม วิทยากร ฝึกอบรม 3.2 ข้อมูลใบรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแพรวา แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ผ้า ไหมแพรวา ได้แก่ สินค้า OTOP สินค้ามาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 3.3 ข้อมูลกลุ่มอาชีพ ได้แก่ ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จัดจาหน่าย 3.4 ข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไฟล์เอกสาร ไฟล์ภาพ ไฟล์วีดิโอ 3.5 ข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แสดงข้อมูลผู้ทาการวิจัยเกี่ยวกับผ้าไหมแพรวา 4. ข้อจากัดในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา ผู้วิจัยดาเนินตาม ขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบ (System development life cycle - SDLC) โดยดาเนินการ ตั้งแต่ขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนา
  • 19. 95 ระบบ และการประเมินระบบ ซึ่งจะนาไปใช้กับกลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมแพรวา กลุ่มแปรรูปผ้าไหมแพรวา และกลุ่มผู้จาหน่ายผ้าไหมแพรวา จานวน 10 กลุ่ม เนื่องจากภายในจังหวัดกาฬสินธุ์มีผู้เกี่ยวข้องกับ ผ้าไหมแพรวาเป็นจานวนมาก แล้วสรุปผลการวิจัยเพื่อเป็นแนวทางปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพต่อไป 5. ขั้นตอนการศึกษา การพัฒนาระบบใช้วิธีการตามหลักการของวงจรการพัฒนา ระบบสารสนเทศ เริ่มจากการศึกษาความเป็นไปได้ของระบบโดยสัมภาษณ์ผู้ใช้ ซึ่งเป็นบุคลากรของ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ และกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมแพรวา กลุ่มผู้แปรรูปผ้าไหมแพรวา และกลุ่มผู้จาหน่ายผ้าไหมแพรวา รวม 20 คน จากนั้นวิเคราะห์และออกแบบระบบใหม่ ซึ่งประกอบด้วย ระบบย่อย 3 ระบบ คือ ระบบนาเข้า ระบบค้นหา และระบบแสดงผล โดยครอบคลุมข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ การฝึกอบรม แหล่งผลิต แปรรูป และจาหน่ายผ้าไหมแพรวา การพัฒนาระบบดาเนินการภายใต้ระบบปฏิบัติการ คือ Microsoft Windows 7 Ultimate โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ คือ พีเอชพี โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล คือ MySQL โปรแกรมพัฒนาเว็บเพจ คือ โปรแกรมจูมลา 6. ผลการวิจัยพบว่า ทาให้ได้ระบบสารสนเทศที่สามารถพัฒนาศักยภาพแรงงานด้าน ผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ ซึ่ง ประกอบด้วย ผู้บริหารและบุคลากร และกลุ่มผู้ผลิต ผู้แปรรูป และกลุ่มผู้จาหน่ายผ้าไหมแพรวา จานวน 25 คน พบว่า ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อระบบแสดงผล ค้นหา และภาพรวมของระบบ อยู่ในระดับดี
  • 20. 96 สรุป จากการศึกษาการจัดทาฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็นแนวคิดเกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศที่เก็บไว้ ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์โดยอาศัยระบบจัดการฐานข้อมูล และระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ที่ทาให้การประมวลผลสารสนเทศมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน โดยฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นมุ่งรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล ผลิต และเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่นที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับท้องถิ่น ได้แก่ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน คติชาวบ้าน ศิลปะการละเล่น การแสดงพื้นบ้าน วรรณกรรมท้องถิ่น วัฒนธรรมความเป็นอยู่ สถานที่สาคัญ ตลอดจนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนในการพัฒนาฐานข้อมูล ท้องถิ่นต้องนาแนวคิดพื้นฐานสาคัญทั้ง 3 องค์ประกอบ ได้แก่ สารสนเทศท้องถิ่น กระบวนการ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบพัฒนา และดาเนินงานฐานข้อมูลท้องถิ่น การพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น เป็นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งฐานข้อมูลท้องถิ่น ตามวัตถุประสงค์ และขอบเขตที่ตั้งไว้ ประกอบด้วย ขั้นตอนพัฒนาฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยเริ่มต้นและการวางแผน การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบระบบ การพัฒนาและการติดตั้งระบบ และการบารุงรักษาระบบ การพัฒนาระบบฐานข้อมูล DRUPAL สาหรับทาเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต บนเซิร์ฟเวอร์ของตัวเอง การใช้ Drupal เป็นซอฟต์แวร์ในกลุ่มโอเพนซอร์ส ให้ดาวน์โหลดใช้งานได้ฟรี ทางานบนฐาน PHP และ MySQLทาให้สะดวกในการปรับแต่งแก้ไขโปรแกรม เป็นระบบจัดการและเผยแพร่เนื้อหา เหมาะสม มีระบบจัดการหมวดหมู่ของเนื้อหา และรองรับเว็บหลายภาษา