SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ผู้เรียนจะต้องได้รับการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้ใช้กระบวนการสร้างประสบการณ์จากการได้ล
งมือปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคาถามจากข้อมูลหรือประสบการณ์ให
ม่ที่ได้รับ
เพื่อนาไปสู่การใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ ผู้เรียนตามแนวคิดของปรัชญา
นี้ จึงเป็นทั้งนักแก้ปัญหา (problem solver) และนักคิด
(thinker) โดยครูมีบทบาทในการจัดหรือเตรียมประสบการณ์ที่มีความหมายแก่ผู้เรียน
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ(learn by
doing) หลักสูตรตามแนวคิดของปรัชญาจึงมีลักษณะเป็นหลักสูตรประสบการณ์ที่เกิดจากปัญห
าหรือความสนใจของ ผู้เรียนเป็นสาคัญ หลักการจัดการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญาพิ
พัฒนนิยม ได้แก่
1. เน้นการให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติหรือเรียนรู้จากประสบการณ์
และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
2. หลอมรวมเนื้อหาให้มีลักษณะเป็นหลักสูตรบูรณาการ หรือหลักสูตรที่เน้นผู้เรี
ยนเป็นสาคัญโดยจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หัวเรื่องต่างๆ (thematic units)
ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจาวันหรือปัญหาอันเป็นความจาเป็นในสังคม
3. เน้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการแก้ปัญหาและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานกลุ่ม
โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านสังคม
5. สร้างค่านิยมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความรับผิดชอบต่อสังคม (social
responsibility)
learner in this conceptis problem solverand think. Teacherprepare and experence
for learners in order to lerni by doing. This philosophy has caused tha problems or
the attension of learners. With the following.
1.focus on learning by doing or experience-basedon learning.
2.include the content to the integrated curriculum or child-centered curriculum by
make a thematic units that relate to daily life or socialproblem.
3.use problem solving and critical thinking
4.encourage a group work by using cooperative learning to improve socialskills.
5.create values about democracyand socialresponsibility.It happens to be against
the tradition pedagogy that focus on
การจัดการศึกษาตามปรัชญาพิพัฒนนิยมแสดงในตารางดังนี้
ตารางการจัดการศึกษาตามปรัชญาพิพัฒนนิยม
องค์ประกอบ
ของการศึก
ษา
แนวทางการปฏิบัติ
1.
จุดมุ่งหมาย
ของการศึก
ษา
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา การศึกษาควรมุ่งตอบสนองต่อความต้องการและความสนใจของผู้
เรียนอย่างแท้จริง
aim : developmentstudent as human beings with the integrity of the
body,social,emotionaland intelligence and should focus on responding
to the demand and the attention.
2.
องค์ประกอบ
ของการศึก
ษา
2.1 หลัก
สูตร
หลักสูตรที่เน้นประสบการณ์ หลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (child-
centered curriculum) หรือหลักสูตรกิจกรรม (activities-based curriculum)
ซึ่งเกิดจากความสนใจและความต้องการของผู้เรียน กาหนดประสบการณ์ที่ส่งเสริ
มให้ผู้เรียนใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)
ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และไม่ถูกกาหนดไว้ล่วงหน้า
Curriculum is experience-based learning or activities-based,child-
centered.That was from attention and use scientific method in their
reserch.that isn't pre-defined.
Problem solving
1.becomeaware of the problem
2.define the problem
3.proposehypothesis to solve it
2.2 ครู
2.3 นักเรี
ยน
2.4 สถาบัน
การศึกษา
4.evaluate the consequencesof the hypotheses from one's past
experience
5.test the likeliestsolution.
ครูเป็นผู้จัดเตรียม แนะนาให้คาปรึกษา “กระตุ้นหนุน
หนี” เข้าใจและให้ความสาคัญกับความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
Teacher:they support,encourage,escape,inderstand and pay attention
on the differences of the individual student.
ผู้เรียนมีอิสระและเสรีภาพในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ของตนเอง มีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนเช่น
มีส่วนในการเลือกเนื้อหาหรือวิธีการเรียนตามลักษณะการเรียนรู้(learning
style)
Student:have freedom in selecting content or learning style.
ต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและการดาเนินชีวิตจริง
โดยเหมาสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
Teaching institution must comply with the socialand real world that suit
on the student’ maturity.
3.
กระบวนการ
เรียนการสอ
น
วิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (child-centered
approach) เช่น
การทาโครงงาน การแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบร่วมมือ การสร้างสรรค์ชิ้นงานหรื
อผลงาน การเรียนรู้รายบุคคล การอภิปรายการแสดงบทบาทสมมติ
ทัศนศึกษา ฯลฯ
Teaching process:such as a project,problem solving,cooperative
learning, creative work,individual learning,dicussionrolr play,excursion
etc.
teaching institution must comply with the socialand real life. Suiting on
the student maturity.
4.การวัดแล
ะการประเมิ
นผล
ต้องดูว่าเนื้อหาเหล่านั้นสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการแก้ปัญหา
ได้มากน้อยเพียงใด
Assesmentand evaluation.
Must see that content can develop the students ability to solve problems
as much.
พิพัฒนาการนิยมถูกตั้งขึ้นมาเพื่อต่อต้านแนวคิดการสอนแบบเดิมที่เน้นแต่เนื้อหา
สอนแต่ท่องจาไม่คานึงถึงความสนใจของเด็กและพัฒนาเด็กแต่เพียงสติปัญญาเท่านั้น
ทาให้ผู้เรียนขาดความ ริเริ่มสร้างสรรค์ไม่มีความมั่นใจในตนเอง
อีกอย่างหนึ่งเพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีใหม่ ๆ
ความนิยมในประชาธิปไตยและพัฒนาการใหม่ ๆ ทางจิตวิทยาการเรียนรู้
ในประเทศไทยเป็นที่รู้จักกันในนาม การศึกษาแผนใหม่
Progressive pedagogy was created because the tradition pedagogy focus on the
content and recitation and develop the child's intelligence only. It is regardlessthe
child's interseting. Another reasonis scientific progress and freedom of the
psychology learning. John Dewy praised Parkeras a father of progessivepedagogy.
In thailand, it is called Modern Organization Theory
การศึกษาไม่ใช่สอนให้คนยึดมั่นในความจริง หรือถูกกาหนดไว้ตายตัว
แต่จะต้องปรับปรุงการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางนาไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ ๆ เสมอ
Educationisn't to teach people adhere to the truth or set fixed. But it need improve
an educationto discovery.
แนวคิดในการจัดการศึกษาตามปรัชญาพิพัฒนาการเช่นนี้ ทาให้เกิดอัตลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักกัน
ทั่วไปว่า “การเรียนรู้จากการปฏิบัติ” (learning by doing)
This philosophy caused the identity is known learning by doing
เนื่องจากปรัชญาพิพัฒนาการนั้นถือกาเนิดบนพื้นฐานของความคิดของนักปรัชญา
สถานะเช่นนี้จึงกลายเป็นจุดอ่อนของตัวปรัชญาเอง เพราะปรัชญาต้องการอาศัย
“การตีความ” และ “การประยุกต์” ดังนั้นนักการศึกษาจานวนมาก
จึงสร้างแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาที่แตกต่างกันออกไป และทาให้การประเมินผลเป็นเรื่อง
ยากอย่างยิ่ง นอกจากนี้ ยังเกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการศึกษาทั้งในด้านหลักสูตรและรูป
แบบการจัดการเรียนรู้ว่าไม่อาจพัฒนาความสามารถในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Disadvantage :because this philosophywascreated onthe basisof ideas.Thuscausingto the teacher create
educational managementthatmake the difficultyevaluation.Andhave acriticisminboththe curriculumand
learningmanagementthatcouldn’tdevelopthe abilityof science.

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 

What's hot (20)

ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 

Similar to การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 

Similar to การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม (20)

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
L2
L2L2
L2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 

More from Sup's Tueng

การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
Progressive pedagogies
Progressive pedagogiesProgressive pedagogies
Progressive pedagogiesSup's Tueng
 
ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล นุ่มดี เลขที่ 10 ม.6/5
ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล  นุ่มดี  เลขที่ 10 ม.6/5 ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล  นุ่มดี  เลขที่ 10 ม.6/5
ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล นุ่มดี เลขที่ 10 ม.6/5 Sup's Tueng
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sup's Tueng
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sup's Tueng
 
สวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่น
สวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่นสวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่น
สวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่นSup's Tueng
 
ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์
ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์
ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์Sup's Tueng
 
งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10
งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10
งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10Sup's Tueng
 
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2Sup's Tueng
 
คำถาม การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำถาม  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศคำถาม  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำถาม การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSup's Tueng
 
แผนผังการนำเสนองาน
แผนผังการนำเสนองานแผนผังการนำเสนองาน
แผนผังการนำเสนองานSup's Tueng
 
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.doc
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.docการนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.doc
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.docSup's Tueng
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSup's Tueng
 

More from Sup's Tueng (15)

Hololens1
Hololens1Hololens1
Hololens1
 
Hololens2
Hololens2Hololens2
Hololens2
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
Progressive pedagogies
Progressive pedagogiesProgressive pedagogies
Progressive pedagogies
 
ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล นุ่มดี เลขที่ 10 ม.6/5
ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล  นุ่มดี  เลขที่ 10 ม.6/5 ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล  นุ่มดี  เลขที่ 10 ม.6/5
ข้อมูลสรุปกลุ่ม 4 (งานเดี่ยว) นายพัฒนพล นุ่มดี เลขที่ 10 ม.6/5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
สวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่น
สวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่นสวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่น
สวนน้ำสำหรับนักโต้คลื่น
 
ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์
ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์
ที่ชาร์ตแบตสำรอง ด้วยพลังโซลาร์เซลล์
 
งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10
งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10
งานเดี่ยวผู้ทดสอบ นายพัฒนพล นุ่มดี 5ห้อง5 เลขที่ 10
 
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ2
 
คำถาม การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำถาม  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศคำถาม  การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำถาม การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนผังการนำเสนองาน
แผนผังการนำเสนองานแผนผังการนำเสนองาน
แผนผังการนำเสนองาน
 
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.doc
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.docการนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.doc
การนำเสอนงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.doc
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม

  • 1. ผู้เรียนจะต้องได้รับการสนับสนุนหรือส่งเสริมให้ใช้กระบวนการสร้างประสบการณ์จากการได้ล งมือปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคาถามจากข้อมูลหรือประสบการณ์ให ม่ที่ได้รับ เพื่อนาไปสู่การใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ ผู้เรียนตามแนวคิดของปรัชญา นี้ จึงเป็นทั้งนักแก้ปัญหา (problem solver) และนักคิด (thinker) โดยครูมีบทบาทในการจัดหรือเตรียมประสบการณ์ที่มีความหมายแก่ผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ(learn by doing) หลักสูตรตามแนวคิดของปรัชญาจึงมีลักษณะเป็นหลักสูตรประสบการณ์ที่เกิดจากปัญห าหรือความสนใจของ ผู้เรียนเป็นสาคัญ หลักการจัดการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญาพิ พัฒนนิยม ได้แก่ 1. เน้นการให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติหรือเรียนรู้จากประสบการณ์ และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 2. หลอมรวมเนื้อหาให้มีลักษณะเป็นหลักสูตรบูรณาการ หรือหลักสูตรที่เน้นผู้เรี ยนเป็นสาคัญโดยจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หัวเรื่องต่างๆ (thematic units) ที่สัมพันธ์กับชีวิตประจาวันหรือปัญหาอันเป็นความจาเป็นในสังคม 3. เน้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการแก้ปัญหาและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานกลุ่ม โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตด้านสังคม 5. สร้างค่านิยมเกี่ยวกับประชาธิปไตยและความรับผิดชอบต่อสังคม (social responsibility) learner in this conceptis problem solverand think. Teacherprepare and experence for learners in order to lerni by doing. This philosophy has caused tha problems or the attension of learners. With the following. 1.focus on learning by doing or experience-basedon learning. 2.include the content to the integrated curriculum or child-centered curriculum by make a thematic units that relate to daily life or socialproblem. 3.use problem solving and critical thinking 4.encourage a group work by using cooperative learning to improve socialskills.
  • 2. 5.create values about democracyand socialresponsibility.It happens to be against the tradition pedagogy that focus on การจัดการศึกษาตามปรัชญาพิพัฒนนิยมแสดงในตารางดังนี้ ตารางการจัดการศึกษาตามปรัชญาพิพัฒนนิยม องค์ประกอบ ของการศึก ษา แนวทางการปฏิบัติ 1. จุดมุ่งหมาย ของการศึก ษา พัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การศึกษาควรมุ่งตอบสนองต่อความต้องการและความสนใจของผู้ เรียนอย่างแท้จริง aim : developmentstudent as human beings with the integrity of the body,social,emotionaland intelligence and should focus on responding to the demand and the attention. 2. องค์ประกอบ ของการศึก ษา 2.1 หลัก สูตร หลักสูตรที่เน้นประสบการณ์ หลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (child- centered curriculum) หรือหลักสูตรกิจกรรม (activities-based curriculum) ซึ่งเกิดจากความสนใจและความต้องการของผู้เรียน กาหนดประสบการณ์ที่ส่งเสริ มให้ผู้เรียนใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ (scientific method) ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และไม่ถูกกาหนดไว้ล่วงหน้า Curriculum is experience-based learning or activities-based,child- centered.That was from attention and use scientific method in their reserch.that isn't pre-defined. Problem solving 1.becomeaware of the problem 2.define the problem 3.proposehypothesis to solve it
  • 3. 2.2 ครู 2.3 นักเรี ยน 2.4 สถาบัน การศึกษา 4.evaluate the consequencesof the hypotheses from one's past experience 5.test the likeliestsolution. ครูเป็นผู้จัดเตรียม แนะนาให้คาปรึกษา “กระตุ้นหนุน หนี” เข้าใจและให้ความสาคัญกับความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล Teacher:they support,encourage,escape,inderstand and pay attention on the differences of the individual student. ผู้เรียนมีอิสระและเสรีภาพในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ของตนเอง มีส่วน ร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนเช่น มีส่วนในการเลือกเนื้อหาหรือวิธีการเรียนตามลักษณะการเรียนรู้(learning style) Student:have freedom in selecting content or learning style. ต้องจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและการดาเนินชีวิตจริง โดยเหมาสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน Teaching institution must comply with the socialand real world that suit on the student’ maturity. 3. กระบวนการ เรียนการสอ น วิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (child-centered approach) เช่น การทาโครงงาน การแก้ปัญหา การเรียนรู้แบบร่วมมือ การสร้างสรรค์ชิ้นงานหรื อผลงาน การเรียนรู้รายบุคคล การอภิปรายการแสดงบทบาทสมมติ ทัศนศึกษา ฯลฯ Teaching process:such as a project,problem solving,cooperative learning, creative work,individual learning,dicussionrolr play,excursion etc. teaching institution must comply with the socialand real life. Suiting on the student maturity.
  • 4. 4.การวัดแล ะการประเมิ นผล ต้องดูว่าเนื้อหาเหล่านั้นสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการแก้ปัญหา ได้มากน้อยเพียงใด Assesmentand evaluation. Must see that content can develop the students ability to solve problems as much. พิพัฒนาการนิยมถูกตั้งขึ้นมาเพื่อต่อต้านแนวคิดการสอนแบบเดิมที่เน้นแต่เนื้อหา สอนแต่ท่องจาไม่คานึงถึงความสนใจของเด็กและพัฒนาเด็กแต่เพียงสติปัญญาเท่านั้น ทาให้ผู้เรียนขาดความ ริเริ่มสร้างสรรค์ไม่มีความมั่นใจในตนเอง อีกอย่างหนึ่งเพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ความนิยมในประชาธิปไตยและพัฒนาการใหม่ ๆ ทางจิตวิทยาการเรียนรู้ ในประเทศไทยเป็นที่รู้จักกันในนาม การศึกษาแผนใหม่ Progressive pedagogy was created because the tradition pedagogy focus on the content and recitation and develop the child's intelligence only. It is regardlessthe child's interseting. Another reasonis scientific progress and freedom of the psychology learning. John Dewy praised Parkeras a father of progessivepedagogy. In thailand, it is called Modern Organization Theory การศึกษาไม่ใช่สอนให้คนยึดมั่นในความจริง หรือถูกกาหนดไว้ตายตัว แต่จะต้องปรับปรุงการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางนาไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ ๆ เสมอ Educationisn't to teach people adhere to the truth or set fixed. But it need improve an educationto discovery. แนวคิดในการจัดการศึกษาตามปรัชญาพิพัฒนาการเช่นนี้ ทาให้เกิดอัตลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักกัน ทั่วไปว่า “การเรียนรู้จากการปฏิบัติ” (learning by doing) This philosophy caused the identity is known learning by doing
  • 5. เนื่องจากปรัชญาพิพัฒนาการนั้นถือกาเนิดบนพื้นฐานของความคิดของนักปรัชญา สถานะเช่นนี้จึงกลายเป็นจุดอ่อนของตัวปรัชญาเอง เพราะปรัชญาต้องการอาศัย “การตีความ” และ “การประยุกต์” ดังนั้นนักการศึกษาจานวนมาก จึงสร้างแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาที่แตกต่างกันออกไป และทาให้การประเมินผลเป็นเรื่อง ยากอย่างยิ่ง นอกจากนี้ ยังเกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการศึกษาทั้งในด้านหลักสูตรและรูป แบบการจัดการเรียนรู้ว่าไม่อาจพัฒนาความสามารถในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Disadvantage :because this philosophywascreated onthe basisof ideas.Thuscausingto the teacher create educational managementthatmake the difficultyevaluation.Andhave acriticisminboththe curriculumand learningmanagementthatcouldn’tdevelopthe abilityof science.