SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
ประวัติศาสตรจากการบอกเลา:ทฤษฎีและประสบการณ
รองศาสตราจารย ดร. พรรณี บัวเล็ก
หัวขอบรรยายมีทั้งหมด 5 หัวขอ
1. ความหมายของประวัติศาสตรบอกเลา
2. ประโยชนของประวัติศาสตรบอกเลา
3. ขอจํากัดของประวัติศาสตรบอกเลา
4. ลักษณะเชิงกลยุทธและวิธีการทําประวัติศาสตรบอกเลา
5. การใชประโยชนขอมูลจากประวัติศาสตรบอกเลา
1. ความหมายของประวัติศาสตรจากการบอกเลา
การหาขอมูลทางประวัติศาสตรจากการสัมภาษณ เปนหลักฐานประเภทหนึ่ง
นอกเหนือจากหลักฐานโบราณคดี ตัวเขียน หลักฐานประเภทสิ่งของ และ
ภาพบันทึกตางๆ
เปนการสรางขอมูลที่เกิดจากปฏิสัมพันธระหวางผูสัมภาษณกับผูถูก
สัมภาษณ ไมใชหลักฐานที่มีอยูแลวตามธรรมชาติ
เปนการสัมภาษณเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณในอดีตที่ผูถูกสัมภาษณไดผาน
ประสบการณนั้นโดยตรง หรือเปนเรื่องราวชีวิตของผูถูกสัมภาษณเอง
1.ความหมายของประวัติศาสตรจาการบอกเลา(ตอ)
การสัมภาษณจะสอบถามผูสูงอายุโดยสวนใหญ
ประวัติศาสตรบอกเลาเปนการสัมภาษณเชิงลึก(in-depth interview)
ขอมูลที่ตองการเปนขอมูลพรรณนา เปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative
Research) ประเภทหนึ่ง ซึ่งตองการตอบคําถามวาอะไร(what) อยางไร
(how) เปนสําคัญ ความพยายามตอบคําถามวาทําไม(why) นั้นงานวิจัย
ประเภทนี้ก็ตองการศึกษาแตสาเหตุบางครั้งมันซับซอนเกินกวาที่จะระบุ
อยางแนชัด ดังนั้นจึงยากที่จะหาคําตอบที่แนนอน สวนคําวาเมื่อไร
(when) เปนมิติทางประวัติศาสตรที่ตองใชในการควบคุมขอมูลตลอด
การศึกษา
2. ประโยชนของประวัติศาสตรบอกเลา
2.1 ทําใหเรื่องราวของสามัญชนถูกเปดเผย
ประวัติศาสตรจากการบอกเลามีประโยชนในการเลาเรื่องที่ขาดหายไป ที่
ไมไดถูกบันทึกไวในเอกสารราชการ โดยเฉพาะเรื่องราวของสามัญชน คน
ชั้นลาง ชีวิตเหลานี้ถูกมองขามไป เปนเรื่องของความยากลําบาก
ทําใหประวัติศาสตรบางเรื่องเปนไปไดที่จะศึกษา ไดแก ประวัติศาสตร
ทองถิ่น ประวัติศาสตรชุมชน ประวัติศาสตรสามัญชน รวมทั้ง
ประวัติศาสตรผูหญิงคนใชแรงงาน และประวัติศาสตรครอบครัว วงศ
ตระกูล เปนตน
2. ประโยชนของประวัติศาสตรบอกเลา (ตอ)
2.2 ชวยเปดเผยเรื่องราวที่ถูกซอนเรนมานาน และชวยเติมชองวางที่
ขาดหายไปจากบันทึกเอกสาร
ในชวงที่เกิดเหตุการณในประวัติศาสตร หลักฐานที่จดบันทึกจะถูก
กระทําจากผูมีอํานาจ ดังนั้นเรื่องราวที่กระทบกระเทือนกับ
ผลประโยชนผูมีอํานาจจึงถูกปดบัง
บางเรื่องที่ถูกปดบังซอนเรนดวยเหตุผลบางประการ ความจริงสามารถ
กลับมาอีกครั้งหนึ่งโดยการสัมภาษณ
2. ประโยชนของประวัติศาสตรบอกเลา (ตอ)
2.3 ขอมูลจากการสัมภาษณทําใหไดมุมมองใหม
โดยเฉพาะเรื่องที่อยูเบื้องหลังของเหตุการณ ความรูที่ถูกมองขามใน
การศึกษาประวัติศาสตรมาตลอด อาจจะเปนขอมูลที่มาจากชนชั้นลาง
ซึ่งอาจทําใหเกิดความรูในประวัติศาสตร บางเรื่องเปนการแกไขขอมูล
ที่มาจากหลักฐานเดิมๆ
ประวัติศาสตรบอกเลาเปนขอมูลที่มาจาก ปฏิสัมพันธระหวางผูถามกับ
ผูเลา ดังนั้นเรื่องที่ถูกเลาออกมาจึงเกิดจากการสรางของคนทั้ง 2 สวน
ทั้งตัวผูเลาและสัมภาษณตางมีประสบการณและอยูภายใตบริบททาง
สังคมของตน ขอมูลจากการสัมภาษณจะเปนเรื่องตามทัศนะ คานิยม
และผลประโยชนจากตัวผูเลา และบางสวนก็มาจากตัวผูถาม
3 ขอจํากัดของประวัติศาสตรบอกเลา
3.ขอจํากัดของประวัติศาสตรบอกเลา (ตอ)
ประวัติศาสตรบอกเลาไมใชสถานการณธรรมชาติที่เดินทางไปพบ
ขอมูลโดยบังเอิญ แตเปนขอมูลหรือความจริงที่ถูกสราง ดังนั้นผูวิจัย
จะตองระมัดระวังในการควบคุมทิศทางของขอมูล เพื่อใหไดขอมูล
ตามที่ตั้งใจไวตั้งแตตน
ผูเลาอาจมีความตั้งใจเลาขอมูลที่ผิด หรือเลาขามบางเรื่องที่ไมยากเลา
นักวิจัยตองใชขอมูลอื่นมาประกอบดวย
การสัมภาษณคือการมองจากปจจุบันกลับไปหาอดีต ดังที่เรียกวา “the
present tell the past” ความรูสึกนึกคิดของปจจุบันอาจจะตางกับอดีต
เมื่อบริบทและประสบการณในชีวิตเปลี่ยนไป
3. ขอจํากัดของประวัติศาสตรบอกเลา (ตอ)
การสัมภาษณเรื่องในอดีตมักจะตองสัมภาษณผูสูงอายุ
ขอมูลที่ไดอาจผิดพลาดโดยไมตั้งใจ และมีความสับสนในเรื่องลําดับ
ของเหตุการณในอดีต โดยเฉพาะเรื่องของ พ.ศ. และจํานวน
ผูวิจัยจะตองชวยกระตุนความทรงจําใหกลับคืนมา โดยเปรียบเทียบกับ
เหตุการณสําคัญของชีวิตหรือสังคม เชน การแตงงาน การใหกําเนิด
บุตร เหตุการณครั้งใหญที่เกิดกับครอบครัว เหตุการณทางการเมือง
ฯลฯ
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา
4.1 ประวัติศาสตรจากการบอกเลาเปนงานวิจัยเชิงคุณภาพ นอกจากให
พรรณนาเรื่องราววาอะไร และ อยางไร แลวยังตองการหาขอมูลที่ลึกลงไป
อีก เปนการสัมภาษณเชิงลึก (in-depth interview)(ความคิดและความรูสึก
เหตุผลเบื้องหลังการกระทํา)
นอกจากเก็บขอมูลจากการสัมภาษณแลวยังตองเก็บขอมูลอื่นไปพรอมกัน
เชนหลักฐานอื่นที่หลงเหลือ ไดแก รูปภาพ หนังสือ รวมทั้งสังเกตดวย
4.2 การสัมภาษณตองเริ่มตนจากการแนะนําตัว บอกวัตถุประสงค เปนการ
แสดงความจริงใจ และลดความหวาดระแวง
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.3 การเตรียมตัวเพื่อการสัมภาษณ(ตอ)
ผูวิจัยตองระลึกถึงวัตถุประวัตถุสงคของการวิจัยและวัตถุประสงคการ
สัมภาษณตลอดเวลา
ตองเตรียมคําถามเพื่อเปนแนวทางการสัมภาษณ คําถามควรมีทั้งคําถามหลัก
และคําถามที่เปนขอยอยๆ เพื่อชวยใหไมติดขัดระหวางการสัมภาษณ
ลักษณะคําถามตองเปนคําถามที่เหมาะแกการเลาเรื่องและอธิบายเรื่องหลัก
ของคําถาม คือ ถามสั้นตอบยาว ที่สําคัญคือใหผูถูกสัมภาษณเปนผูเลาเรื่อง
คําถามควรมาจากการสํารวจวรรณกรรม (review literature) หากเปนสวน
ที่มาจากทฤษฎีตองแปลใหเปนรูปธรรมหรือเปนคําพูดธรรมดามากที่สุด
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
ถามคําถามหรือคําตอบที่ยังคลุกเครือ ตองการการอธิบายหรือการยืนยัน
คําถามที่ใชตองเปนคําถามปลายเปด (open – ended question) เพื่อเปด
โอกาสใหแกขอมูลหรือเรื่องราวที่ยังไมพูด
ตองระมัดระวังการยัดเยียดขอมูล หรือขอมูลที่เกิดจากการวางแผนของ
ผูวิจัย
คําถามควรเริ่มตนจากคําถามที่เปดกวางกอนแลวคอยตีวงใหแคบลง
ควรเปดโอกาสใหมีการสรางคําถามจากภาคสนาม คือ สรางคําถามจาก
ขอมูลที่ไดรับระหวางการสัมภาษณ เพื่อใหขอมูลที่ไดมามีลักษณะเปน
ธรรมชาติไมไดถูกกําหนดจากผูวิจัย
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
ควรหลีกเลี่ยงคําถามที่เกิดความสะเทือนใจ
คําถามจะตองชัดเจน ตรงประเด็นที่อยากรู
ในระหวางถามจะตองแสดงความจริงใจที่อยากรู ดวยสีหนาและทาที
การเลือกผูใหขอมูลจะตองเปนผูที่มีประสบการณตรง หรือผูที่มีความ
เกี่ยวพันกับขอมูล เปนการเลือกแบบเจาะจง ขอมูลจากการสัมภาษณ
ตองเปนขอมูลชั้นตน (first hand information)
บุคคลที่ถูกคัดเลือกจะตองเปนผูที่นาเชื่อถือ และตองเปนคนสําคัญใน
เรื่องนั้นจริงๆ
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.4 การเตรียมตัวสําหรับการสัมภาษณขอมูลบุคคล ตองทําความเขาใจดังนี้
1. ดานบทบาท ตองเขาใจบุคคลนั้นมีบทบาทตอเหตุการณอยางไร อยูฝาย
ไหน สนับสนุนใคร
2. ผูใหขอมูลแตละคน มีผลประโยชนจากเหตุการณในอดีตและปจจุบัน
อยางไร
3. ทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงทางความคิด ทัศนะ ผลประโยชน วามีการ
เปลี่ยนไปแตละชวงเวลา เราสามารถถามคําถามวาทําไมจึงเปนเชนนั้น
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา
(ตอ)
5. ศึกษา บุคลิกสวนตัว รสนิยม ลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล
6. กรณีที่ไมรูจักผูใหสัมภาษณดีพอ อาจทําความรูจักกอนทําการสัมภาษณ
เพื่อใหเกิดความรูสึกเปนคนคุนเคย
7. ในการสัมภาษณใชเทคนิค snowball sampling หาบุคคลที่ควรสัมภาษณ
เพิ่มเติมตอ
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.5 ผูถูกสัมภาษณตองเขาใจภาพรวม (Holistic Perception)
การสัมภาษณใหภาพเฉพาะสวนจากบุคคลคนเดียว
การทําความเขาใจภาพรวม จะทําใหเกิดความเขาใจเหตุการณตางๆ ที่
เกิดขึ้นในอดีต
การเขาใจภาพรวมทําใหมองเห็นความสัมพันธของเหตุการณและขอมูล
ตางๆ ที่ไดรับ และยังชวยแกไขความสับสนที่อาจเกิดขึ้น เชน เรื่องของ
เหตุการณ บุคคล หรือชวงระยะเวลาในประวัติศาสตร
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
ขอมูลจากการสัมภาษณมีลักษณะเปนชิ้นสวน ขอมูลเหลานั้นตองนําไป
ประกอบเปนภาพใหญ หากผูสัมภาษณรูภาพรวมดีก็จะรูวานําไป
ประกอบอยางไร
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.6 ตองเก็บขอมูลที่เปนบริบท (context) นอกจากขอมูลที่เปนสาระ
โดยตรง (content)
ขอมูลที่เปนบริบทชวยใหเกิดความเขาใจ การดํารงอยูของเรื่องราวและ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ขอมูลบริบทคือ ขอมูลที่แวดลอม ไดแก สังคม วัฒนธรรม การเมือง การ
ปกครอง สิ่งแวดลอมตางๆ ที่เกิดขึ้นในแตละชวง
ขอมูลเชิงบริบทชวยอธิบายเรื่องราวตางๆ
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.7 ใชหลักการยืดหยุนในการวิจัย
คําถามที่เตรียมไปสัมภาษณสามารถยืดหยุนได เมื่อพบสถานการณที่
คําถามที่เตรียมไปไมเหมาะสม
หากเกิดความไมพรอม หรือผูถูกสัมภาษณไมตองการใหบันทึกดวยเทป
เสียงก็ตองปรับวิธีการบันทึกขอมูลใหม
4. ลักษณะเชิงกลยุทธและวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.8 การเตรียมอุปกรณการสัมภาษณ
อุปกรณการอัดเสียง กลองถายรูป เครื่องบันทึกภาพตางๆ ฯลฯ
ตองมีการทดสอบกอนใชจริงเสมอ
การจดบันทึกดวยลายมือ เปนเครื่องปองกันความผิดพลาดทั้งหมดที่อาจ
เกิดขึ้นได
อุปกรณ เทปบันทึกเสียง ควรเตรียมใหเพียงพอ
4.9 ควรมีผูชวยวิจัย เพื่อชวยเตรียมอุปกรณและชวยตั้งคําถาม การมีผูชวยวิจัยจะทําให
ไมรูสึกประหมา และชวยตรวจสอบความสมบูรณของขอมูล
4.10 ผูสัมภาษณตองแสดงความจริงใจ แสดงความสัมพันธที่มีความไววางใจกันและ
ใกลชิด ผูสัมภาษณตองกระตือรือรนที่จะรับฟงขอมูล เพื่อใหสามารถเปดเผยเรื่องราว
สวนตัวและปดลับออกมา ผูวิจัยตองเปดเผยเจตนาที่บริสุทธิ์ในการซักถามขอมูล
ประโยชนในการนําขอมูลไปใช รวมทั้งแนะนําตัวเองตั้งแตเบื้องตน พยายามหาคนรูจัก
แนะนําไปหรือเลาเรื่องของตัวเองบางในตอนตนเพื่อเชื่อมความสัมพันธ
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.11 จัดสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมแกการสัมภาษณ ไมใหผูถูก
สัมภาษณอารมณเสีย เวลาตองไมนอยหรือมากเกินไปโดยปกติจะ
ใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง แตทั้งหมดขึ้นอยูกับสภาพของ
สถานการณที่เปนจริง
4.12 ตองยอยคําถามใหเปนคําถามยอย คําถามเปนรูปธรรม
เพื่อใหคนเลาสามารถเลาเรื่องไดสบาย ไมใชภาษาที่เปนทางการ
เกินไป ตองเลือกภาษาที่เหมาะสมกับผูใหขอมูล
4. ลักษณะเชิงกลยุทธ และวิธีการทําประวัติศาสตรจากการบอกเลา(ตอ)
4.13 ตองเปนนักฟงที่ดี
ฟงดวยความอดทน แมมีความเห็นที่ขัดแยง ตองคิดเสมอวาเราตองการ
ความคิดของเขาไมใชของเรา
ระวังเรื่องของการแสดงสีหนา หรือทาทีตางๆ โดยเฉพาะเมื่อสัมภาษณ
ชาวบาน หรือคนสําคัญในสังคม
ตองจับประเด็นไดดี และติดตามประเด็นใหมที่เกิดขึ้น อยาปลอยใหเกิด
การหลุดลอยของขอมูล ซึ่งจะนําไปสูขอมูลเชิงลึก
5. การใชประโยชนขอมูลจากประวัติศาสตรบอกเลา
5.1 ใชประกอบกับหลักฐานประเภทอื่น ขอมูลจากการสัมภาษณอาจ
ผิดพลาด จึงจําเปนตองตรวจสอบกับหลักฐานอื่น หรือสรางการ
สัมภาษณคนอื่นๆ เพิ่มเติม
งานวิจัยเชิงคุณภาพ เนนความหลากหลายของขอมูล เพื่อใหเกิดความ
แมนตรงของขอมูล
5.2 ขอมูลจากการสัมภาษณ เปนขอมูลเฉพาะของปจเจกชน จึงไม
สามารถใชเปนตัวแทนของขอมูลทั้งหมด และอาจมีผลประโยชนที่
ซอนไวเบื้องหลัง
5. การใชประโยชนขอมูลจากประวัติศาสตรบอกเลา(ตอ)
5.3 การนําไปใชควรถอดเทปบันทึกดวยลายลักษณอักษรใหเรียบรอย
เพื่อใหคนอื่นเขามาตรวจสอบได ในการบันทึกควรระบุรายละเอียด
ไดแก ใคร อายุ สถานะ สถานที่ วันเวลา เดือน ป ในการสัมภาษณ
ใหเรียบรอย ขอมูลจากการสัมภาษณเปนขอมูลเชิงคุณภาพ ที่ตอง
พินิจพิเคราะหและตีความหมาย ดังนั้นจึงตองอยูในรูปเอกสารให
เรียบรอย
5. การใชประโยชนขอมูลจากประวัติศาสตรบอกเลา (ตอ)
5.4 การใชขอมูลการสัมภาษณควรแยกสวนในการนําเสนอ ไมควรให
ปะปนกับการวิเคราะหหรือความเห็นของผูวิจัย วิธีการที่ใช ไดแก
การใสเครื่องหมายคําพูดหรือระบุใหชัดเจนวาเปนสวนที่ไดจากการ
สัมภาษณ
5.5 ตองใชอยางมีจริยธรรม โดยเฉพาะขอมูลที่เปนความขัดแยง ตองมี
การคัดกรองไมใหขอมูลถูกนําไปใชในทางที่เสียหายแกผูใหขอมูล
ตองยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรมในการใชขอมูล
สรุป
การสัมภาษณทําไดทั้งขั้นตอนแรกและขั้นตอนหลังของการวิจัย
การสัมภาษณเปนวิธีการเก็บขอมูลที่ตองใชทักษะ และความรูในการเก็บ
ขอมูล ดังนั้นจึงเปนวิธีการเก็บขอมูลที่ขึ้นอยูกับตัวนักวิจัยสูง
นักวิจัยเปนผูชี้ความสําเร็จในการเก็บขอมูลประเภทนี้ สิ่งสําคัญที่นักวิจัย
ตองมีคือความอดทน นักวิจัยอาจเจอกับสิ่งที่ไมคาดคิดหรือถูกปฏิเสธ
หลายๆครั้ง
การฝกฝนสามารถเริ่มจากเรื่องที่ใกลตัว เชน เรื่องครอบครัว
ทักษะในการพูด การทําความเขาใจกับคนอื่น การวางตัว การสรางความ
นาเชื่อถือ เปนเรื่องที่ตองฝกฝน
ปูนิ่ม
ปูเยื้อน
ยาแมน
ตนตระกูลทองอรามตนตระกูลทองอรามตนตระกูลทองอราม
ยายสน และลูกหลาน
พ.อ.สมบูรณ ทองอราม
กําลังชี้คลองภาษีที่บางคอแหลม
4 พี่นองตระกูลวงศทองศุข
เปนตระกูลที่เขามาอยูบางคอแหลม
ประมาณ 200 ปมาแลว
จากขวาไปซาย
แมแฉลม บุญยอยหยัด แมเยื้อน เชิดชื่น
แมทองอยู สุขดี แมบุญนาค ชื่นรุงโรจน
ร.อ.ทวีศักดิ์ บุญยอยหยัด
และคุณเฉลียว เชิดชื่น นองสาว
อาจารยปทมรัตน เต็มพิทักษ ภาพถายคนในตระกูลเต็มพิทักษ
ภาพถายคนในตระกูลเต็มพิทักษ
ภาพถายคนในตระกูลเต็มพิทักษ
คุณยายสรันทร แขกมงคล อดีตครอบครัวชาวสวนที่วัดจันทรใน
ชาวจีนฮกเกี้ยนแซซิ้มและแซตัน ชาวสวนที่บางคอแหลม
บานเปรมสมาน อายุกวา 200 ป ที่วัดจันทรใน
ภาพวังบางคอแหลม :
ภาพรางจากความทรงจํา
เปรียบเทียบกับภาพจริง
ภาพตูและตั่ง และลวดลายที่ประดับที่เปนสมบัติของวังบางคอแหลม
มอบไวแกวัดจันทรนอกเมื่อปดวัง
หลุมศพหมอบรัดเลย ที่สุสานคริสเตียน ขางโรงงานยาสูบ 1
เจดีย 2 องคที่วัดราชสิงขร
ระลึกถึงหมอมเจาลําดวนและหมอมเจาอินทรปต
พระโอรสของกรมพระราชวังบวรสุรสิงหนาท

More Related Content

What's hot

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียPannipa Saetan
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31Phai Trinod
 
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญPitchayaporn Sukrarassamee
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 

What's hot (20)

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญแบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
แบบประเมินผู้เชี่ยวชาญ
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 

Viewers also liked

บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)นางสาวอัมพร แสงมณี
 

Viewers also liked (20)

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
บทที่2  ระบบการเรียนการสอนบทที่2  ระบบการเรียนการสอน
บทที่2 ระบบการเรียนการสอน
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 

Similar to บทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า

ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์jeeraporn
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
อาวุธชีวภาพ
อาวุธชีวภาพอาวุธชีวภาพ
อาวุธชีวภาพBee Gansamorn
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวsriburin
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวsriburin
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวadd17m01y2528
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdfPattie Pattie
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 

Similar to บทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า (20)

ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
อาวุธชีวภาพ
อาวุธชีวภาพอาวุธชีวภาพ
อาวุธชีวภาพ
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
Workhistrory1
Workhistrory1Workhistrory1
Workhistrory1
 
Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
 
การพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆการพูดประเภทต่าง ๆ
การพูดประเภทต่าง ๆ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัวข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
ข้อมูลและแหล่งข้อมูลรอบตัว
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Education_Research.pdf
Education_Research.pdfEducation_Research.pdf
Education_Research.pdf
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี

อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี (14)

คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
อ.วนิดา บทที่-9-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-22-aug-57
 
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
 
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-7-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
อ.วนิดา บทที่-6-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-20-july-57
 
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
อ.วนิดา บทที่-5-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-14-july-57
 
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 

บทที่ 2 ประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า