SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
57
บทที่ 4
กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นการจัดการภูมิปัญญาสารสนเทศท้องถิ่นที่มี
กระบวนการเกิดจากการสืบทอด ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมในชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ โดยใช้แนว
ทางการจัดการสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการนาหลักบริหารมาประยุกต์กับสารสนเทศและความรู้ ซึ่ง
การดาเนินงานตามวงจรสารสนเทศ โดยวงจรสารสนเทศเริ่มต้นจากการรวบรวม การคัดเลือกหรือ
จัดหาสารสนเทศที่ต้องการ การจัดเก็บสารสนเทศโดยการจัดหมวดหมู่ ทาดรรชนี การประมวลผล
และการทาเครื่องมือช่วยค้น การสร้างฐานข้อมูล การเผยแพร่สารสนเทศไปยังผู้ใช้ ผ่าน
กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นภาคสนาม เพื่อนามาพัฒนาและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของ
ท้องถิ่นสืบต่อไป
แนวคิดการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นส่วนหนึ่งมาจากภูมิปัญญาที่เกิดจากการสืบทอด ถ่ายทอด
องค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมในชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ แล้วพัฒนาเลือกสรรปรับปรุงองค์ความรู้จนเกิดทักษะ
และความชานาญที่สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย แล้วเกิด
องค์ความรู้ใหม่ที่เหมาะสมและสืบทอดต่อไป ซึ่งภูมิปัญญาเหล่านี้ถูกบันทึกไว้ในหลายรูปแบบ
รวมทั้งที่บันทึกเป็นเอกสารที่สมบูรณ์แบบโดยตัวเอง แต่บางครั้งต้องนามากลั่นกรองแล้วจัดให้เป็น
ระบบระเบียบ เรียกว่า สารสนเทศ อย่างไรก็ตามเดิมมรดกภูมิปัญญาไทยอยู่ในรูปเอกสารเป็น
ส่วนใหญ่ เช่น เอกสารตัวเขียน ศิลาจารึก ฯลฯ นับเป็นสารสนเทศท้องถิ่นที่มีความงดงามจึงเปรียบ
ได้ว่าเป็นดอกไม้แห่งความงามของสารสนเทศท้องถิ่น (ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2552 : 35) ดัง
แสดงในภาพที่ 4.1
58
ภาพที่ 4.1 ดอกไม้แห่งความงามของสารสนเทศท้องถิ่น
ที่มา : ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2552 : 36.
สารสนเทศจาก
ประสบการณ์
ผู้รู้ สารสนเทศจาก
การสะสมสืบทอด
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สื่อต่าง ๆ นาไปสู่
การเรียนรู้
สารสนเทศท้องถิ่น
สารสนเทศจาก
เอกสารต่าง ๆ
ที่บันทึกไว้
สารสนเทศที่
เป็นองค์ความรู้
บุคคลที่เข้าใจ
และนาองค์ความรู้
มาพัฒนา
การแสวงหาจุด
ร่วมสารสนเทศ
ท้องถิ่น
บุคลากรที่เข้าใจ
ในการดาเนินงานการจัดอย่างมีระบบ
ใช้เทคโนโลยีช่วย
ผู้สนับสนุนให้เกิดแหล่ง
สารสนเทศท้องถิ่น
หน่วยงานของรัฐ
ทรัพยากรต่าง ๆ
ฯลฯ
การศึกษา ค้นคว้า วิจัย
ใบลาน ศิลาจารึก
จารีต ประเพณี
ทรัพยากรบุคคล
สื่อในทุกรูปแบบ
นาผลงานวิจัย
มาใช้อย่างถูกต้อง
และสวยงาม
59
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นในชุมชน เพื่อให้เกิดสารสนเทศท้องถิ่นในแต่ละชุมชนควร
ใช้หลักการจัดการความรู้ ดังแสดงในภาพที่ 4.2
ภาพที่ 4.2 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นในชุมชน
ที่มา : ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2554 : 6.
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นใช้หลักการและการจัดการสมัยใหม่โดยอาศัยกระบวนการ
และองค์ความรู้ในการดาเนินการ โดยเฉพาะการผสมผสานระหว่างความสามารถในการจัดการและ
ภาวะผู้นา เพื่อช่วยสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างแต่ละชุมชนให้อยู่ร่วมกันได้ ดังนั้นจึงมีความ
จาเป็นต้องมีการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นมาใช้จัดการ โดยกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานที่เป็น
การถ่ายทอดสารสนเทศท้องถิ่น
ระหว่างบุคคลกับกลุ่มคน
(Socialization)
การเสวนา
สารสนเทศท้องถิ่นจากการจัด
รวบรวมภายนอกและ
นาออกมาใช้
(Externalization)
สารสนเทศท้องถิ่นที่เป็น
ความรู้ + ประสบการณ์ที่ทาให้
เกิดปัญญาที่เก็บไว้ในตัวคน
(Internalization)
การเสวนา
สารสนเทศท้องถิ่นที่เป็น
องค์ความรู้ใหม่ที่เกิด
ผสมผสานกันขึ้น
(Combination)
ความรู้ในตัวบุคคลในชุมชน
ที่บอกเล่าต่อ ๆ กันมา
(Tacit knowledge)
ความรู้ที่บันทึกไว้
ความรู้ใน
ตัวบุคคล
ความรู้ที่ได้รับจาก
ภายนอกชุมชน
ที่บันทึกไว้
60
ระบบสารสนเทศให้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐาน สามารถเข้าถึง
ได้และนาไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ต่อไป
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นกระบวนการดาเนินงานกับสารสนเทศท้องถิ่นที่บุคคล
องค์กร โดยการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นจะวางแผนตั้งแต่กาหนดนโยบาย การคัดเลือกหรือ
ประเมินคุณค่าสารสนเทศท้องถิ่น ดาเนินงานตามกระบวนการจัดหาสารสนเทศท้องถิ่น (ศิริพร
พูลสุวรรณ และสุรัชนี เปี่ยมญาติ. 2554 : 5-9) จากนั้นนามาจัดเก็บและวิเคราะห์สารสนเทศ
ท้องถิ่น หากพบว่ามีสารสนเทศประเภทใดที่ไม่สมบูรณ์ทาการส่งต่อไปอนุรักษ์และสงวนรักษาก่อนที่
จะนาสารสนเทศไปเข้าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดทาฐานข้อมูลให้เรียบร้อย แล้วจึงนาออก
ให้บริการและเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่น
วงจรการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
การจัดการสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการนาหลักบริหารมาประยุกต์กับสารสนเทศและ
ความรู้ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรสาคัญของการบริหารจัดการ โดยเกี่ยวข้องกับการจัดการ 3
องค์ประกอบ ได้แก่ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ การจัดการกระบวนการ และการจัดการ
เทคโนโลยี อีกทั้งเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตามวงจรสารสนเทศทั้งที่เป็นเอกสารและสารสนเทศ
ดิจิทัล โดยวงจรสารสนเทศเริ่มต้นจากการรวบรวม การคัดเลือกหรือจัดหาสารสนเทศที่ต้องการ
การจัดเก็บสารสนเทศโดยการจัดหมวดหมู่ ทาดรรชนี การประมวลผลและการทาเครื่องมือช่วยค้น
การสร้างฐานข้อมูล การเผยแพร่สารสนเทศไปยังผู้ใช้ โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ
เพื่อให้เกิดความสะดวกในการค้นคืนและนาไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานและการตัดสินใจ
(น้าทิพย์ วิภาวิน. 2553 : 32-33 ; Brittain. 1996 : 15 ; Rowley. 1996 : 123)
น้าทิพย์ วิภาวิน (2553 : 33) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดการสารสนเทศ มีการ
ดาเนินงามตามวงจรสารสนเทศ ดังนี้
1. เพื่อพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศที่เหมาะสมแก่การดาเนินงาน และจัดการระบบ
สารสนเทศขององค์กร ให้องค์กรมีสารสนเทศที่คนในองค์กรรู้แหล่งจัดเก็บข้อมูลและเข้าถึงข้อมูลได้
เมื่อต้องการ
2. เพื่อจัดเก็บโดยกาหนดสารสนเทศที่องค์กรต้องการ และรวบรวมสารสนเทศจาก
ภายนอกเข้ามาในระบบสารสนเทศขององค์กรเมื่อต้องการใช้สารสนเทศ
61
สรุปได้ว่า วงจรการจัดการสารสนเทศเป็นการดาเนินงานการไหลของเอกสารในองค์กร
และวงจรการไหลของสารสนเทศในระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รวมถึงกระบวนการผลิตและบริการ และเทคโนโลยีสาหรับการประมวลผลและการเผยแพร่
สารสนเทศ
ภาพที่ 4.3 วงจรการจัดการสารสนเทศ
ที่มา : ดัดแปลงจาก Afganisatan Information Services. Online. 2009.
7. การใช้สารสนเทศ
- การบริหารจัดการ
- การวางแผน
- การตรวจสอบและประเมินผล
1. แนวคิดพื้นฐานการศึกษา
ความต้องการ
- การประเมินความต้องการ
- ความต้องการสารสนเทศ
6. การรายงานผลและการนาเสนอ
ตารางและรายงาน
- การนาข้อมูลออกในรูปแบบอื่น
- การนาเสนอในรูปตาราง กราฟ
5. การประมวลข้อมูลและการวิเคราะห์
- การตรวจสอบข้อมูล และจัดรูปแบบ
- การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
2. การรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ
- การออกแบบสอบถาม
- วิธีการรวบรวมข้อมูล
4. การจัดเก็บหรือบันทึกข้อมูล
- การป้อนข้อมูลนาเข้า
3. การออกแบบฐานข้อมูล
- ซอฟต์แวร์ โครงสร้างตาราง
การออกแบบ
- การพัฒนาฐานข้อมูล
- การทดสอบ และติดตั้งโปรแกรม
- คู่มือ เอกสาร และการฝึกอบรม
62
กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเริ่มต้นจากการดาเนินงานตามกระบวนการ ดังนี้
1. การรวบรวมสารสนเทศ
การรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อนาสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ สามารถรวบรวม
ได้จากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ ดังนี้
1.1 แหล่งสถานที่ เป็นที่ที่อยู่ในบริเวณท้องถิ่น คือ
1.1.1 สถานที่เกิดตามธรรมชาติ อาทิ แม่น้า ทะเล ภูเขา ถ้า น้าตก
1.1.2 สถานที่ถูกสร้างโดยมนุษย์ อาทิ ถนน บ้านเรือน กาแพง ปราสาท
1.2 แหล่งบุคคล เป็นผู้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น
นั้น ๆ เป็นอย่างดี
1.3 วัตถุสิ่งของ เป็นสิ่งที่มีอยู่ในบริเวณท้องถิ่น คือ
1.3.1 สิ่งที่เกิดตามธรรมชาติ อาทิ แร่ธาตุต่าง ๆ
1.3.2 สิ่งที่มนุษย์ทาขึ้น อาทิ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ
1.4 สัตว์และพืชในท้องถิ่น แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.4.1 สัตว์และพืชที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น
1.4.2 สัตว์เลี้ยงและพืชพรรณที่มนุษย์นามาเพาะพันธุ์ในท้องถิ่น
1.5 หน่วยงานหรือองค์กร เป็นสถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและ
เอกชนที่อยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ
1.6 อินเทอร์เน็ต เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น ของคณะทางาน
หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นต้น
2. การจัดหาสารสนเทศ
การจัดหาสารสนเทศท้องถิ่นมีหลายวิธี (ศิริพร พูลสุวรรณ และสุรัชนี เปี่ยมญาติ.
2554 : 5-15-5-16) ดังนี้
2.1 การซื้อ เป็นวิธีการสั่งซื้อโดยตรงจากผู้ผลิต หรือผ่านตัวแทนจาหน่าย ซึ่ง
สารสนเทศท้องถิ่นที่จัดซื้อนั้นต้องผ่านกระบวนการคัดเลือก โดยพิจารณาเกณฑ์การคัดเลือก
ประกอบการตัดสินใจเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายขององค์กร
2.2 การขอรับบริจาค การได้มาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
63
2.3 การบอกรับเป็นสมาชิก สารสนเทศท้องถิ่นอาจอยู่ในรูปบทความในวารสาร ซึ่ง
เป็นวิธีที่ทาให้องค์กรได้รับวารสารอย่างต่อเนื่องโดยมีการตกลงร่วมกัน
2.4 การแลกเปลี่ยน เป็นวิธีการประหยัดงบประมาณในการซื้อทรัพยากรสารสนเทศ
ท้องถิ่น โดยที่หน่วยงานแต่ละแห่งสามารถนามาแลกเปลี่ยนกันระหว่างหน่วยงานได้
2.5 การผลิตขึ้นเอง หน่วยงานบางแห่งสามารถผลิตสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่อโสตทัศน์
เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ได้
2.6 การทาสาเนา เป็นการทาซ้าทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น โดยวิธีการคัดลอก
ถ่ายสาเนาโดยนามาใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น บันทึกภาพ บันทึกเสียง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่ทาให้องค์กร
มีทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นไว้ให้บริการกับผู้ใช้ได้อย่างเพียงพอกับความต้องการ
2.7 การดาวน์โหลดสารสนเทศท้องถิ่นจากอินเทอร์เน็ต เป็นการทาสาเนาไฟล์จาก
การดาวน์โหลดสารสนเทศท้องถิ่นจากอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยและมีเนื้อหาฉบับเต็ม
เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ต้องการ
3. การวิเคราะห์สารสนเทศท้องถิ่น
การวิเคราะห์สารสนเทศท้องถิ่นมีขั้นตอนและวิธีการจัดหมวดหมู่ (นันทพร ธนะกูล
บริภัณฑ์. 2554 : 6-10-6-14) ดังนี้
3.1 การจัดกลุ่มสารสนเทศท้องถิ่นในรูปแบบดั้งเดิม อาทิ การจัดหมวดหมู่ตาม
เนื้อหา มักจัดตามหมวดหมู่ความรู้ระบบสากล จัดตามชื่อผู้แต่ง จัดตามลาดับเหตุการณ์ จัดตาม
ประเภททรัพยากรสารสนเทศ จัดตามแหล่งที่มา
3.2 การเลือกกาหนดข้อมูลตัวแทนลักษณะทางกายภาพของทรัพยากรสารสนเทศ
ท้องถิ่น เช่น ชื่อผู้รับผิดชอบ ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ ชื่อสถานที่พิมพ์ ชื่อสานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จานวน
หน้า ชื่อชุด หมายเลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือและวารสาร โดยใช้เกณฑ์การลงรายการ
บรรณานุกรมตามที่กาหนดใช้
3.3 สรุปสาระสาคัญและความคิดรวบยอดด้านเนื้อหา ว่าสารสนเทศท้องถิ่นนั้นมี
เนื้อหาเรื่องใดบ้าง และสรุปแนวคิดหลักของแต่ละเรื่อง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีเนื้อหาในด้าน
ศิลปวัฒนธรรม ด้านอาหารและโภชนาการ ด้านการแพทย์แผนไทย และด้านการเกษตร
3.4 การแปลความจากประเด็นสาคัญในด้านเนื้อหาที่ผู้วิเคราะห์กาหนดให้อยู่ในรูป
คาสาคัญ หัวเรื่อง ที่เป็นหมวดหมู่ที่มีการควบคุมการใช้แทนคาหรือชื่อเดียวกันที่เขียนต่างกัน
64
3.5 การสร้างตัวแทนสารสนเทศ เลือกรูปแบบของตัวแทนสารสนเทศให้สอดคล้อง
กับข้อมูลที่ลงบรรณานุกรม โดยมีการเข้ารหัสตัวแทนสารสนเทศเพื่อให้อ่านและประมวลผลได้ด้วย
เครื่องคอมพิวเตอร์และแสดงผ่านบนเว็บ
ภาพที่ 4.4 การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นและการสร้างตัวแทนสารสนเทศ
ที่มา : นันทพร ธนะกูลบริภัณฑ์. 2554 : 6-11.
ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่
คัดเลือก รวบรวม รูปลักษณ์ต่าง
ๆAACR2R
Dublin Core
ISBN/ISSN
Thesaurus
Abstract
Classification
(DC, LC, NLM, etc.)
กระบวนการวิเคราะห์ฯ
- แยกแยะองค์ประกอบ
- กาหนดข้อมูลตัวแทน
ข้อมูลตัวแทนลักษณะทางกายภาพ - ข้อมูลตัวแทนเนื้อหา
- ข้อมูลระบุสถานที่จัดเก็บ
ตัวแทนสารสนเทศ
แคตาล็อก ดรรชนี บรรณานุกรม
สาระสังเขป เมตะดาทา
ฐานข้อมูลบรรณานุกรม
- MARC, MARCXML
- XML, RDF, METS
ผู้ใช้
ด้านกายภาพ ด้านเนื้อหา
หลักเกณฑ์/
มาตรฐาน
หลักเกณฑ์/
มาตรฐาน
หลักเกณฑ์/
มาตรฐาน
65
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นภาคสนาม
การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นภาคสนามมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นมีขั้นตอน (กฤษฎา ศรีธรรมา. 2554 : 23-
26 ; เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 165-173) แบ่งได้ดังนี้
1.1 ขั้นตระหนัก การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน
ผู้ศึกษาจาเป็นต้องตระหนักถึงความสาคัญของมิติวัฒนธรรมในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ หลักการคิดหรือ
พิจารณาในการรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนี้
1.1.1 ไม่มีอคติหรือดูถูกภูมิปัญญาชาวบ้านอื่นที่แตกต่างจากตัวเอง
1.1.2 ไม่ยึดติดกับชาติพันธุ์นิยม ไม่ยึดตนเป็นใหญ่หรือศูนย์กลาง
1.1.3 เข้าใจวิธีคิดของชาวบ้าน
1.1.4 ยอมรับในความหลากหลายหรือความแตกต่างตามวิถีชีวิตในแต่ละ
สภาพแวดล้อม เรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ หากเป็นไปได้ควรใช้ภาษาเดียวกับผู้ให้ข้อมูล
หรือวิทยากร
1.1.5 เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน
1.1.6 มีมนุษยสัมพันธ์ ปรับตัวง่ายเพื่อให้เข้ากับบุคคลที่จะไปศึกษาได้ เปิดใจ
กว้าง มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ตามควรแก่เหตุการณ์ แต่อย่าตีค่าข้อมูลเป็นเงิน
1.1.7 มีความซื่อสัตย์ ไม่โป้ปด หลอกลวงเพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่ต้องการ
ไม่ดัดแปลงข้อมูลหรือสร้างข้อมูลเอง
1.1.8 มีจริยธรรม หากข้อมูลใดที่วิทยากรถือว่าเป็นความลับก็ไม่นาไปเปิดเผย
1.2 ขั้นเลือกเก็บข้อมูล การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้
3 แบบ ได้แก่
1.2.1 เก็บข้อมูลชั้นต้นหรือปฐมภูมิ คือ การเก็บข้อมูลที่ได้จากแหล่งกาเนิดแรก
ได้แก่ บุคคลหรือหลักฐานหรือเอกสารอันดับแรกที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะค้นคว้าโดยตรง ไม่มีอ้างอิง
ถึงสิ่งอื่น ข้อมูลชนิดนี้นักวิชาการให้ความสาคัญและเชื่อถือมาก ได้แก่
1.2.1.1 การสอบถาม การสัมภาษณ์จากผู้รู้เรื่องนั้นโดยตรง
66
1.2.1.2 วรรณกรรมชิ้นแรก ก่อนที่จะมีผู้นาไปคัดลอกหรือพิมพ์ขึ้น เช่น
วรรณกรรมฉบับลายมือ เป็นต้น
1.2.1.3 วัตถุต่าง ๆ เช่น รูปปั้น รูปภาพ ใบเสมา ศิลาจารึก กาไล
โบราณ เป็นต้น
1.2.1.4 สถานที่ต่าง ๆ ที่เป็นต้นกาเนิด
1.2.2 เก็บข้อมูลชั้นรองหรือทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งรอง เช่น เอกสาร
หลักฐานฉบับคัดลอกที่ไม่ได้มาจากต้นฉบับจริง ๆ ข้อมูลนี้มีความสาคัญน้อยกว่าชั้นต้นหรือปฐมภูมิ
ทั้งนี้ได้ผ่านการกลั่นกรองมาแล้ว ได้แก่
1.2.2.1 แบบเรียนหรือตาราวิชาการต่าง ๆ ที่ผ่านการค้นคว้า
1.2.2.2 แผนผัง แผนที่ รูปจาลอง
1.2.2.3 หนังสือต่าง ๆ ที่นาความรู้จากแหล่งเดิมมาเผยแพร่
1.2.2.4 บทความวิชาการ บทความวิจัย และบทวิจารณ์ ฯลฯ
1.2.3 เก็บข้อมูลแบบประสม คือ ข้อมูลที่ใช้ทั้งแหล่งชั้นต้นและชั้นรอง การ
เก็บข้อมูลแบบนี้ได้รับความนิยมจากนักวิชาการในปัจจุบัน เนื่องจากการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นมี
ทั้งภูมิปัญญาเดิม ภูมิปัญญาต่อยอดและภูมิปัญญาใหม่ การเก็บข้อมูลแบบประสมทาให้การศึกษามี
ความสมบูรณ์มากกว่า
1.3 ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ขั้นนี้มีความสาคัญมาก การศึกษา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีวิธีการเก็บข้อมูล ดังนี้
1.3.1 การเก็บข้อมูลภาคสนาม การเก็บข้อมูลเป็นข้อมูลปฐมภูมิ เป็นแหล่ง
สาคัญในการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากบุคคลในท้องถิ่นให้ปากคา ใน
การเก็บข้อมูล ผู้ศึกษาต้องศึกษาระเบียบวิธีการเก็บก่อน ทั้งนี้เพื่อผลจากการเก็บรวบรวมนั้นจะ
เป็นประโยชน์ มีความน่าเชื่อถือ และต้องเตรียมความพร้อมในสิ่งต่อไปนี้
1.3.1.1 ความรู้พื้นฐานของผู้ปฏิบัติ ก่อนออกปฏิบัติการภาคสนาม
ผู้ศึกษาต้องมีความรู้พื้นฐานที่สาคัญ ดังนี้
ก. ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งผู้ศึกษาสามารถค้นคว้าจาก
เอกสารหรือการอธิบายของนักวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยตั้ง
จุดมุ่งหมายให้แน่นอนว่าจะรวบรวมข้อมูลประเภทใด เช่น รวบรวมนิทานพื้นบ้าน รวบรวม
67
การละเล่นพื้นบ้าน รวบรวมความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม การทอผ้า เครื่องจักสาน การแพทย์
แผนไทย เพื่อช่วยในการเก็บข้อมูลในสิ่งที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง
ข. การเลือกสถานที่ บุคคล ผู้ให้ข้อมูล หรือวิทยากร เมื่อตั้ง
จุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายในการศึกษารวบรวมข้อมูลทางภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้ว ผู้ศึกษาจะต้องเลือก
สถานที่ กาหนดขอบเขตของสถานที่ที่จะรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนแน่นอน อาจเป็นจังหวัด อาเภอ
ตาบล หมู่บ้าน แต่ถ้าประสงค์จะให้ข้อมูลเป็นผลดีต่อการศึกษา มีความหมายแสดงให้เห็นถึง
วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของคนในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง สถานที่ควรแคบที่สุดเท่าที่จะทาได้เพื่อจะได้ผล
เชิงลึก การเลือกชุมชนอาจเลือกชุมชนที่คล้ายคลึงกับคนอื่น เพื่อเป็นตัวแทนของชุมชนใหญ่อีกที
หนึ่ง หรือหาจุดสนใจชุมชนที่มีลักษณะเด่นผิดแผกจากที่อื่น สอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตนา
รุจิรกุล, วรรณพร รัตนศฤงค์ และกนกมน รุจิรกุล (2551 : 77) พบว่า การคัดเลือกสถานที่โดย
ศึกษาจากข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เด่นมากในหมู่บ้านหรือชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา ที่เป็น
ภูมิลาเนาของนักศึกษา
1.3.1.2 สารวจข้อมูลวิทยากรผู้ให้ปากคาโดยตรง โดยคัดเลือกวิทยากร
จากคุณสมบัติอย่างเหมาะสม ถูกต้องตามความเป็นจริง ซึ่งมีเกณฑ์ในการเลือกวิทยากร ดังนี้
ก. วิทยากรไม่จาเป็นต้องจากัดเพศ วัย แล้วแต่ลักษณะข้อมูล
ที่ต้องการ แต่ถ้าอายุมากเกินไปอาจจะไม่แม่นยา หลงลืม ทาให้ได้ข้อมูลไม่ชัดเจน ถ้าเป็นเยาวชน
มักดัดแปลงข้อมูลบางส่วนหรือทั้งหมดตามสิ่งที่ได้รับมา วิทยากรที่เหมาะสมควรมีอายุประมาณ
50-70 ปี
ข. การศึกษาหรือประสบการณ์ของวิทยากร ควรคานึงถึง
ความรู้และความสามารถของวิทยากร ตลอดจนการยอมรับของคนในชุมชน สามารถให้ข้อมูลตาม
ความเป็นจริง
ค. อาชีพของวิทยากร อาชีพมีส่วนช่วยได้มากในบางเรื่อง เช่น
การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาโรคของชาวบ้าน ความรู้เรื่องเกี่ยวกับยาหรือสมุนไพร
พื้นบ้าน ศึกษาจากหมอยาจะได้ข้อมูลในด้านนี้ได้ดี
ง. การนับถือศาสนาของวิทยากร มีส่วนทาให้ข้อมูลแตกต่างกัน
ได้ เพราะความเชื่อต่างกัน ข้อมูลอาจคลาดเคลื่อนได้ ควรเลือกกลุ่มที่มีศาสนาเดียวกันทั้งหมู่บ้าน
จะได้ข้อมูลที่สมบูรณ์
68
1.3.1.3 การสร้างมนุษยสัมพันธ์เพื่อหาวิทยากร การติดต่อวิทยากรต้อง
เตรียมการอย่างดี โดยวิธีการหาผู้รู้สอบถามหาตัววิทยากรที่เหมาะสม และนาไปพบวิทยากร
บุคคลที่ควรสร้างมนุษยสัมพันธ์ด้วย เช่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เจ้าอาวาส
ครูใหญ่ มรรคทายก ผู้นากลุ่มด้านต่าง ๆ เป็นต้น วิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์กระทาได้หลายวิธี
ได้แก่ ไปพบที่บ้านแล้วแสดงความเคารพพร้อมแจ้งความจานงให้ทราบว่าต้องการมาเก็บข้อมูล
เกี่ยวกับอะไร ข้อมูลที่ได้จะเกิดประโยชน์ด้านใดแก่ใคร ข้อมูลที่จะให้จะไม่เกิดผลเสียหรือโทษแก่
วิทยากรและครอบครัว ให้การยกย่องนับถือและให้ความสาคัญต่อตัวเขา สร้างความไว้วางใจให้
เกิดขึ้นระหว่างวิทยากรกับผู้ศึกษาจึงจะได้รับข้อมูลอย่างแท้จริง
ในกรณีที่ต้องเก็บข้อมูลจากวิทยากรหลาย ๆ คน ผู้ศึกษาควร
ขอให้บุคคลดังกล่าวข้างต้นเป็นผู้เสนอวิทยากรให้หลาย ๆ คน และขอความกรุณาให้บอกภูมิหลัง
ด้วย วิธีนี้เรียกว่า การใช้เทคนิคการสุ่มแบบลูกโซ่ (Snowball)
1.3.1.4 ติดต่อกับวิทยากรควรแจ้งวัตถุประสงค์ให้วิทยากรทราบเกี่ยวกับ
ความรู้ที่จะขอจากวิทยากร เช่น การรักษาป่าชุมชน การแพทย์แผนไทย เป็นต้น แจ้งการบันทึกว่า
จะบันทึกด้วยเครื่องมือชนิดใด เช่น การจดบันทึก ถ่ายภาพ บันทึกภาพ บันทึกเสียง เป็นต้น
1.3.1.5 นัดหมายวิทยากร ควรนัดหมายวัน เวลา เมื่อวิทยากรว่างและ
พร้อม เพื่อวิทยากรจะได้เตรียมตัวและไม่เสียเวลาในการเก็บข้อมูล ผู้เก็บจะต้องไปก่อนเวลาที่นัด
หมายเล็กน้อย อย่าผิดนัดเป็นอันขาด หากมีความจาเป็นจะต้องแจ้งให้วิทยากรทราบล่วงหน้า
1.3.1.6 ตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการ
รวบรวมข้อมูลภาคสนามที่สาคัญ ดังนี้
ก. การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการพูดจาซักถามกัน
อย่างมีจุดมุ่งหมาย ประกอบด้วย บุคคลสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ซักถาม เรียกว่า ผู้สัมภาษณ์
และอีกฝ่ายเป็นผู้ให้คาตอบ เรียกว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ เพื่อนาข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นที่ได้ไปใช้
ประโยชน์ในด้านวิชาการ หรือนาไปเผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านธุรกิจหรือสังคม
การสัมภาษณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมี 2 ลักษณะ คือ
1) การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ หรือการสัมภาษณ์แบบ
มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีแบบแผน มีหลักเกณฑ์เป็นพิธีการ เพราะจะต้องมีการ
69
เตรียมพร้อมทั้งด้านการนัดหมาย สถานที่ การเตรียมคาถาม ซึ่งจะเป็นคาถามที่กาหนดไว้แน่นอน
แล้วคล้ายกับแบบสอบถามผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคาถาชุดเดียวกัน ผู้สัมภาษณ์จะจดบันทึก
คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ลงในแบบสัมภาษณ์ ซึ่งผู้สัมภาษณ์สามารถนามาสรุปวิเคราะห์ได้ง่ายและ
ประหยัดเวลา
2) การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการหรือการสัมภาษณ์ที่
ไม่มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีคาถามกาหนดไว้แน่นอน คาถามจะเปิดกว้างไว้ให้ผู้ตอบ
อธิบายได้อย่างอิสระ การสัมภาษณ์ลักษณะนี้ ผู้สัมภาษณ์จะต้องมีทักษะ ความสามารถและ
ปฏิภาณในการสัมภาษณ์ ต้องคอยปรับเปลี่ยนคาถาม ขยายบทสนทนาให้เหมาะสมกับสภาพ
เหตุการณ์เฉพาะหน้า และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ผู้สัมภาษณ์อาจจะมีแนวสัมภาษณ์ ซึ่งจะ
ครอบคลุมหัวข้อเรื่องของข้อมูลที่ต้องการไว้ดูขณะสัมภาษณ์ด้วยก็ได้ บางครั้งบทสนทนาอาจจะไม่
เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ต้องการโดยตรง แต่ผู้เก็บข้อมูลก็จะได้ข้อมูลแวดล้อมที่เป็นประโยชน์ต่อการ
วิเคราะห์ความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูลกลุ่มชนและสภาพสังคม
การสัมภาษณ์โดยทั่วไป แบบสัมภาษณ์จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลส่วนตัวของผู้ให้สัมภาษณ์ ซึ่งประกอบด้วย ชื่อ ชื่อสกุล เพศ อายุ ที่อยู่ อาชีพ
และข้อมูลอื่น ๆ ที่ต้องการทราบ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น ส่วนที่ 2 เป็นคาถามเกี่ยวกับ
ข้อมูลที่ต้องการทราบ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนั้น ๆ ลักษณะของ
คาถามมี 2 ลักษณะ คือ คาถามแบบเปิด เป็นคาถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบสามารถตอบได้อย่าง
อิสระและคาถามแบบปิด เป็นคาถามที่ผู้ตอบไม่มีอิสระในการตอบ ต้องตอบไปตามแนวคาถามที่ผู้
สัมภาษณ์ให้มา ซึ่งถ้าผู้สัมภาษณ์เตรียมคาถามไว้ไม่ครอบคลุมหรือคาถามไม่ชัดเจน ผู้ตอบอาจจะ
ตีความหมายผิดได้ ในการเก็บข้อมูลโดยส่วนใหญ่จึงมักจะเลือกใช้คาถามทั้งสองลักษณะเพื่อจะให้
ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด
ข. การสังเกต คือ การเฝ้าดูสิ่งที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้นอย่าง
เอาใจใส่และกาหนดไว้อย่างมีระเบียบวิธี เพื่อวิเคราะห์หรือหาความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นกับ
สิ่งอื่น การสังเกตที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลมี 2 แบบ ดังนี้
1) การสังเกตแบบมีส่วนร่วม คือ การสังเกตที่ผู้สังเกตเข้า
ไปใช้ชีวิตร่วมกับกลุ่มชนที่เข้าไปศึกษา ร่วมทากิจกรรมด้วยกัน ผู้สังเกตสามารถเข้าไปร่วมกิจกรรม
70
ต่าง ๆ ของคนในท้องถิ่น ชุมชน สังเกตรายละเอียดต่าง ๆ ในกิจกรรมที่เก็บข้อมูล เช่น ข้อมูล
เกี่ยวกับพิธีกรรม สังเกตสภาพแวดล้อม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ อารมณ์ ความรู้สึกของผู้เข้าร่วม
พิธีกรรม เป็นต้น แล้วบันทึกผลที่สังเกตได้ไว้ ในขณะที่สังเกตอาจจะมีการซักถามข้อมูลจาก
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มเติมอีกได้ แต่ต้องไม่รบกวนการดาเนินกิจกรรมนั้น ๆ
2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เป็นการสังเกตที่ผู้สังเกต
จะเฝ้าสังเกตอยู่วงนอกไม่เข้าไปร่วมในกิจกรรมของกลุ่ม การสังเกตแบบนี้สามารถเก็บข้อมูลได้ใน
ระยะสั้นและรายละเอียดของข้อมูลไม่เท่ากับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
การเก็บข้อมูลจากการสังเกต นอกเหนือจากการถามแล้ว
ผู้เก็บข้อมูลภาคสนามมีสองบทบาท คือ เป็นผู้มีส่วนร่วม และเป็นผู้สังเกตการณ์ ดังนั้นต้องรู้จักใช้
ความสังเกต เก็บรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิทยากร ผู้ดู ผู้ฟัง ตลอดจนสภาพแวดล้อมอื่น ๆ
ด้วย ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอาจไม่ตรงกับข้อมูลจากปากคา อย่างไรก็ตาม ข้อมูลทั้งสองแบบ
ย่อยมีส่วนในการที่ผู้ศึกษาจะวิเคราะห์กลุ่มชนทั้งสิ้น
1.3.1.7 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง
ปฐมภูมิจะต้องอาศัยความรอบคอบถี่ถ้วนจึงต้องมีการเตรียมการอย่างดี ผู้รวบรวมข้อมูลจะต้อง
สัมภาษณ์วิทยากรด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือที่อาจเลือกใช้ตามความจาเป็นและเหมาะสม
กับเนื้อหาข้อมูลที่ต้องการรวบรวม ดังนี้
ก. สมุดบันทึกและเครื่องเขียนสาหรับจดบันทึก ผู้ศึกษาอาจใช้
บันทึกสภาพชุมชน ท้องที่ที่เห็นได้สังเกตได้ด้วยตนเอง บันทึกข้อมูลไปล่วงหน้า เช่น วัน เดือน
ปี สถานที่และวิทยากรที่จะไปพบ บันทึกคาถาม หรือประเด็นที่ต้องการสัมภาษณ์ เป็นต้น
ข. เครื่องบันทึกเสียง มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการ
รวบรวมข้อมูลมุขปาฐะ ผู้ศึกษาจะต้องมีความรู้และทักษะในการใช้ ตรวจสภาพเครื่องใช้ให้พร้อม
ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพทุกครั้ง เตรียมแบตเตอรี่และแถบบันทึกเสียงสาหรับใช้ให้พอเพียง
ค. กล้องถ่ายรูป กล้องถ่ายวีดิทัศน์ กล้องถ่ายภาพยนตร์ ตาม
ความจาเป็นและลักษณะข้อมูลที่จะรวบรวม หากเป็นข้อมูลประเภทอมุขปาฐะ เช่น หัตถกรรม
พื้นบ้าน สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน หรือข้อมูลประเภทผสม เช่น พิธีกรรม การละเล่นพื้นบ้าน อุปกรณ์
เหล่านี้จะมีความจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับข้อมูลสถาปัตยกรรมและหัตถกรรมต้องใช้
อุปกรณ์ประเภทเครื่องวัด เช่น สายวัด ตลับเมตร เป็นต้น ประกอบด้วย
71
เครื่องมือทุกอย่างจะต้องตระเตรียม ตรวจสอบความพร้อม
และประสิทธิภาพในการใช้งานทุกครั้ง เพราะหากผิดพลาด หมายถึง ผู้รวบรวมอาจจะไม่ได้ข้อมูล
ตามที่ต้องการ การจะย้อนกลับไปบันทึกข้อมูลใหม่จะทาให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย เสียความรู้สึก
ของวิทยากร และอาจได้ข้อมูลไม่เป็นธรรมชาติเท่าครั้งแรก
นอกจากการเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลให้พร้อม
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามต้องฝึกใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ให้คล่อง
ก่อนออกปฏิบัติงานทุกครั้ง เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน ในกรณีที่พื้นที่เป้าหมายอยู่ห่างไกล
การคมนาคม ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามควรนาเสื้อผ้า เครื่องใช้ส่วนตัว ยาประจาตัว ติดไปด้วย เผื่อ
จาเป็นต้องพักค้างคืนในพื้นที่
อนึ่งการจดบันทึกและการบันทึกภาพในแต่ละครั้ง ต้อง
บันทึกชื่อสกุลของวิทยากร วัน เดือน ปี และสถานที่ที่เก็บข้อมูลหรือที่ได้บันทึกมาเพื่อป้องกัน
การหลงลืมและสะดวกในการค้นคว้า อ้างอิงต่อไป
1.3.2 การเก็บข้อมูลประเภทเอกสาร เป็นการเก็บข้อมูลทุติยภูมิที่ผู้ศึกษาต้อง
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อน (กฤษฎา ศรีธรรมา. 2554 : 27-28) โดยพิจารณาดังนี้
1.3.2.1 ความน่าเชื่อถือของผู้แต่งหรือผู้รวบรวม โดยพิจารณาจาก
ประสบการณ์ คุณวุฒิหรือความเชี่ยวชาญ การยอมรับของนักวิชาการที่นาไปใช้ในการอ้างอิง
1.3.2.2 แหล่งที่มาของข้อมูลชัดเจน ระบุครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์
สานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์
1.3.2.3 เนื้อหามีความสมบูรณ์
1.3.2.4 ภาษาชัดเจน
การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อให้ได้ข้อมูลตามความเป็นจริง มี
ความน่าเชื่อถือนั้น ผู้ศึกษาต้องมีคุณธรรมและคุณสมบัติ 3 ประการ ได้แก่
ประการแรก ความซื่อตรง ผู้ศึกษาต้องเก็บข้อมูลตามความจริงตาม
สภาพเดิม ไม่มีการปรุงแต่งหรือสร้างข้อมูล วิทยากรพูดเช่นไรต้องบันทึกเช่นนั้น แม้ภาษาที่เราคิด
ว่าหยาบโลนไม่เหมาะสม ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ประการที่สอง ปฏิภาณไหวพริบดี ผู้ศึกษาต้องมีปฏิภาณไหวพริบใน
การแก้ปัญหาต่อเหตุการณ์หรือสถานการณ์ฉุกเฉินได้
72
ประการที่สาม มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ผู้ศึกษาต้องอาศัยความร่วมมือจาก
ผู้อื่น เช่น ผู้นาชุมชน ชาวบ้าน นักบวช และตัววิทยากร เป็นต้น ผู้ศึกษาต้องระมัดระวังในการ
ขอความร่วมมือ อย่าให้มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจะทาให้การเก็บข้อมูลล้มเหลว
อย่างไรก็ตาม การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ศึกษาต้องคานึงถึง
ความสะดวกอื่น ๆ ประกอบด้วย ความสะดวกของวิทยากรที่เชิญมาให้ข้อมูล ความสะดวกเกี่ยวกับ
การใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ต้องใช้กระแสไฟฟ้า ความสะดวกที่จะใช้เครื่องมืออื่น คานึงถึง
ค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณที่มีอยู่ พิจารณาว่าสถานที่ที่จะเก็บข้อมูลนั้นเป็นตัวแทนกลุ่มที่จะศึกษาได้
ดี
2. การจาแนกประเภทข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
การจาแนกประเภทข้อมูลเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ข้อมูลที่ลงบันทึกเรียบร้อยแล้ว ต้อง
นามาจัดหมวดหมู่ตามประเภทของข้อมูล โดยอาศัยหลักทฤษฏีตามที่ได้ศึกษา รวมทั้งวัตถุประสงค์
และขอบเขตของการศึกษาที่กาหนดไว้ (เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 175) โดยดาเนินการดังนี้
2.1 การตรวจสอบข้อมูล ควรตรวจสอบข้อมูล ดังนี้
2.1.1 การตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถาม
หรือแบบสัมภาษณ์และการสังเกต ว่าตอบคาถามครบถ้วนทุกคาถามหรือไม่ ถ้าข้อมูลยังไม่
ครบถ้วนสมบูรณ์จัดแยกไว้ต่างหากเพื่อเก็บข้อมูลซ่อม
2.1.2 การตรวจสอบข้อมูลแหล่งบุคคล คือ การตรวจสอบว่าข้อมูลภูมิปัญญา
ท้องถิ่นประเภทเดียวกันที่ได้จากบุคคลต่างกัน ข้อมูลมีความเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร บันทึก
ข้อสังเกต และให้หมายเลขลาดับข้อมูลไว้ เช่น ข้อมูลพิธีกรรมขึ้นบ้านใหม่ เก็บข้อมูลได้จาก
วิทยากร 3 คน ในพื้นที่ที่เลือกศึกษาแห่งเดียวกัน ตรวจสอบข้อมูลและบันทึกให้ลาดับข้อมูลไว้
และจัดหมวดหมู่ไว้ด้วยกัน บันทึกข้อสังเกตไว้ เช่น ขั้นตอนการดาเนินพิธีเหมือนกันทุกขั้นตอน
แต่เครื่องประกอบพิธีต่างกันคือ ลาดับที่ 1 ใช้ 9 อย่าง ลาดับที่ 2 และ 3 ใช้ 7 อย่าง เป็นต้น
2.2 การจัดหมวดหมู่ เมื่อตรวจสอบข้อมูลแล้วนาข้อมูลมาจัดเข้าหมวดหมู่โดยใช้
แนวคิดหรือหลักการจาแนกตามที่ท่านผู้รู้กาหนด หรือผู้ศึกษาอาจจะกาหนดเกณฑ์ในการจาแนก
ข้อมูลขึ้นเองก็ได้ แต่ต้องชี้แจงเกณฑ์ในการจาแนกให้ชัดเจน เช่น การจาแนกเครื่องหัตถกรรม
จักสาน อาจจัดจาแนกตามประโยชน์การใช้สอยเป็นเครื่องมือเกษตร เครื่องจับสัตว์น้า เครื่องจับ
สัตว์บก เครื่องใช้ในบ้าน หรืออาจจัดแบ่งตามลวดลาย เช่น ลายหนึ่ง ลายสอง ลายสาม ลายดอก
73
พิกุล ลายขัด เป็นต้น ถ้าเป็นข้อมูลประเภทมุขปาฐะสามารถจัดจาแนกประเภทตามลักษณะ
รูปแบบของข้อมูล เช่น นิทาน ปริศนา สุภาษิต และแบ่งหมวดหมู่ย่อย ๆ ลงได้อีกตามหลักเกณฑ์
ที่ท่านผู้รู้ได้กาหนดไว้ เป็นต้น
3. การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ขั้นตอนนี้จะเป็นการใช้แนวคิดหรือทฤษฎี
มาเป็นหลักในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คาตอบตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ แล้วสร้างข้อสรุปให้
ข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะจากการศึกษา สาหรับผู้เริ่มต้นศึกษา การสร้างแนวคิดในการวิเคราะห์
ข้อมูล สามารถทาได้โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานของท่านผู้ที่ได้ทาไว้เป็นแนวทาง
จุดสาคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การตีความ หรือการแปลความหมายข้อมูล ผู้
ศึกษาต้องพยายามทาความเข้าใจความหมายของข้อมูล จากสิ่งที่สังเกตเห็น หรือได้รับฟังจากผู้ให้
ข้อมูล เพราะสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นย่อมมีความหมายอยู่ในตัวเอง การตีความข้อมูลต้องอาศัย
บริบท และบทบาทของข้อมูล ประกอบด้วย จึงจะสามารถเข้าใจความหมายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
ภาษิต บทหนึ่ง ของคนภาคเหนือว่า “ท้องหิวบ่มีไผเอาไฟส่องท้อง แต่งตัวบ่อหย้องพี่น้องดู
แคลน” ซึ่งสะท้อนความคิดของคนภาคเหนือว่า เวลาหิวไม่มีใครเห็น แต่ถ้าแต่งตัวไม่ดีไม่หรูหรา
แม้แต่พี่น้องก็จะดูถูกได้ แสดงให้เห็นถึงการรักศักดิ์ศรีของตนเอง ไม่ให้ใครมาดูถูกดูหมิ่นได้ ความ
นึกคิดเหล่านี้จะเป็นเครื่องคุมพฤติกรรมของคนที่เป็นเจ้าของข้อมูลดังกล่าวและถ่ายทอดสืบต่อ ๆ
กันมาถึงคนรุ่นหลัง
การตีความข้อมูลประเภทมุขปาฐะเป็นการตีความที่เนื้อหาข้อมูลซึ่งเป็นถ้อยคา
สาหรับข้อมูลประเภทอมุขปาฐะนั้นจะสามารถตีความได้จากชิ้นงาน โดยเริ่มจากการพิจารณา
วัตถุประสงค์ของการสร้าง รูปทรง การสร้างรูปแบบ โครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต วัตถุดิบ และ
เนื้อหาสาระ การวิเคราะห์นี้มิใช่เพียงผู้รู้ว่าเป็นอย่างไรใช้ทาอะไรเท่านั้น แต่ต้องมองให้ลึกและอ่าน
ให้ออกว่า การที่มีรูปแบบ รูปทรง โครงสร้าง เทคนิค และการใช้วัตถุดิบเช่นนี้มีความสัมพันธ์กับ
การใช้สอยและเกี่ยวเนื่องกับประเพณี ค่านิยมในท้องถิ่นนั้นอย่างไร เช่น การศึกษาวิเคราะห์
กระติบ หรือกล่องข้าว ของภาคเหนือ และภาคอีสาน เริ่มจากการพิจารณารูปทรงซึ่งอาจจะ
ผูกพันกับคติเรื่องความงาม และวัฒนธรรมในอดีต เช่น รูปทรงของกระติบแถบอีสานเหนือตั้งแต่
นครพนม สกลนคร อุดรธานี จะมีรูปทรงเป็นทรงกระบอก มีฝาปิด แต่ถ้าเป็นกล่องข้าวแถบ
มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ จะมีลักษณะคล้ายโถมีขาไม้ มีฝาคล้ายฝาชีซึ่งอาจเป็นเพราะรับ
74
อิทธิพลมาจากกล่องข้าวขวัญของพวกเขมร จึงเกิดเป็นประเพณีนิยม ประโยชน์ใช้สอยใช้ใส่ข้าว
เหนียวนึ่งเหมือนกัน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม ประเพณีและการสร้างรูปแบบ
(เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 176-177)
4. การนาเสนอข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
การนาเสนอผลการศึกษาโดยส่วนใหญ่จะใช้การนาเสนอในรูปแบบของรายงานทาง
วิชาการ โดยเริ่มจากการวางโครงเรื่องของรายงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญ โครงเรื่องที่ดีจะทาให้
ผู้เขียนทารายงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสาคัญของโครงเรื่อง (เรไร ไพรวรรณ์. 2553 :
177-178) มีดังนี้
4.1 โครงเรื่องช่วยให้รายงานมีเอกภาพ สารัตถภาพ และสัมพันธภาพ
4.2 โครงเรื่องช่วยให้รายงานมีเนื้อหาสมบูรณ์ครบถ้วนตามขอบเขตที่กาหนดไว้
4.3 โครงเรื่องช่วยให้การเขียนในแต่ละหัวข้อมีเนื้อหาได้สัดส่วน เน้นความหรือ
ขยายความได้อย่างเหมาะสมชัดเจน
4.4 โครงเรื่องช่วยให้รายงานน่าอ่าน เพราะมีการรวบรวมและจัดลาดับความรู้
ความคิดไว้เป็นระบบ
การเขียนรายงานนาเสนอผลการศึกษานี้ โดยทั่วไปจะแบ่งรายงานเป็น 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 บทนา กล่าวถึง ความเป็นมา หรือความสาคัญของเรื่องที่ศึกษาวัตถุประสงค์
ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ที่จะได้รับ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพื้นที่ที่ลงปฏิบัติงานภาคสนาม กล่าวถึง ประวัติ
สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ประชากรและอาชีพ การเดินทางเข้าสู่พื้นที่โดยแสดงแผนผัง
ประกอบ แผนที่แสดงสถานที่สาคัญ เช่น วัด โรงเรียน ศาสนสถาน เป็นต้น
บทที่ 3 การดาเนินการ กล่าวถึง วิธีดาเนินการตามขั้นตอน เช่น การเลือกหมู่บ้าน
วิทยากร การเก็บรวบรวมข้อมูล การจาแนกข้อมูล เป็นต้น
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กล่าวถึง ข้อมูล ประเภทข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลที่
เก็บรวบรวม เสนอผลวิเคราะห์ แยกประเด็นและยกตัวอย่างประกอบให้เห็นชัดเจน
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา กล่าวถึง ข้อสรุปจากการศึกษาค้นคว้า และแสดงความ
คิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน อุปสรรคปัญหา และข้อเสนอแนะไว้ด้วย
75
บรรณานุกรม กล่าวถึง การรวบรวมเอกสารอ้างอิงที่กล่าวถึงในเนื้อหาทั้ง 5 บท
รวมถึงข้อมูลที่ไปเก็บรวบรวมภาคสนามไม่ว่าจะเป็นการสัมภาษณ์ การสอบถาม
ภาคผนวก ควรนาข้อมูลแต่ละประเภทที่ได้จากการปฏิบัติงานภาคสนามมารวมไว้
ด้วย เช่น นิทาน เพลง ศิลปหัตถกรรม เป็นต้น
ในแต่ละบทอาจใช้ภาพหรือตารางประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และที่
สาคัญคือ ความถูกต้องของเนื้อหา การอ้างอิง ภาพและข้อมูลในตารางที่นาเสนอ ผู้ศึกษาควร
ตรวจทานให้รอบคอบ
การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน เพื่อนาเสนอผลการศึกษา นอกจากความถูกต้องของ
เนื้อหาแล้ว การใช้ภาษาในการเขียนก็เป็นส่วนสาคัญที่ต้องระมัดระวัง ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้
1. การใช้คาให้ตรงความหมาย ช่วยให้ข้อความที่เขียนสื่อสารได้ถูกต้องชัดเจน
2. การใช้คาถูกต้องตามหลักภาษา ได้แก่ การวางคา การเขียนคาสะกดการันต์
วรรณยุกต์ รวมทั้งการใช้คาลักษณะนาม คาบุพบท และคาสันธาน ให้ถูกต้อง
3. การใช้คาให้เหมาะสมกับบุคคลและระดับของคา
4. ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย หรือไม่ย่อคาจนเกินไป ทาให้สื่อความหมายได้ไม่ชัดเจนตามที่
ต้องการ
5. ระมัดระวังเรื่องการใช้อักษรย่อ หากจาเป็นจะต้องใช้ให้ตามที่ทางราชการกาหนดไว้
หรือเลือกใช้คาย่อที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป
6. ใช้ประโยคง่าย ๆ ถูกต้องตามไวยากรณ์ ทั้งเลือกใช้เครื่องหมายวรรคตอนให้ถูกต้อง
76
สรุป
การศึกษากระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เป็นการสืบทอดองค์ความรู้ที่เกิดจาก
ภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นกระบวนการดาเนินงานกับสารสนเทศท้องถิ่นที่
องค์กร ได้กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ วงจรการจัดการสารสนเทศเป็นการดาเนินงานการไหลของ
เอกสารในองค์กรและวงจรการไหลของสารสนเทศในระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกระบวนการผลิตและบริการด้านสารสนเทศ และเทคโนโลยีสาหรับ
การประมวลผลและการเผยแพร่สารสนเทศ การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเริ่มต้นจากการดาเนินงาน
ตามกระบวนการ เช่น รวบรวม การจัดหา การวิเคราะห์สารสนเทศ เป็นต้น กระบวนการจัดการ
สารสนเทศท้องถิ่นภาคสนาม ประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การจาแนก
ประเภทข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การนาเสนอข้อมูลภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่ได้จากการศึกษา

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาSimilun_maya
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศแซ่บ' เว่อร์
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหักChoengchai Rattanachai
 

What's hot (20)

บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 1 ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคติชนวิทยา
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101วิชา  การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา  ง 21101
วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 รหัสวิชา ง 21101
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหักเล่มที่ 10  พระยาพิชัยดาบหัก
เล่มที่ 10 พระยาพิชัยดาบหัก
 

Viewers also liked

อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1Nawanan Theera-Ampornpunt
 
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTrangABC
 

Viewers also liked (6)

ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่นลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
ลักษณะของสารสนเทศท้องถิ่น
 
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 4 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น
 
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 2 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
IT Management in Healthcare Organizations: Part 1
 
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAMTÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
TÁC ĐỘNG CỦA FDI ĐẾN TĂNG TRƯỞNG KINH TẾ Ở VIỆT NAM
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 

Similar to อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน Sircom Smarnbua
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
ส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงงส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงงGraciala Brigette
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04Poo-Chom Siriwut
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัยFay Za
 
Class15p1
Class15p1Class15p1
Class15p1KU
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 

Similar to อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57 (20)

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเยาวชน
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
ส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงงส่งงงงงงงงงงงงงงงง
ส่งงงงงงงงงงงงงงงง
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
Class15p1
Class15p1Class15p1
Class15p1
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี

More from นางสาวอัมพร แสงมณี (20)

คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3
 

อ.วนิดา บทที่ 4 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57

  • 1. 57 บทที่ 4 กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นการจัดการภูมิปัญญาสารสนเทศท้องถิ่นที่มี กระบวนการเกิดจากการสืบทอด ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมในชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ โดยใช้แนว ทางการจัดการสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการนาหลักบริหารมาประยุกต์กับสารสนเทศและความรู้ ซึ่ง การดาเนินงานตามวงจรสารสนเทศ โดยวงจรสารสนเทศเริ่มต้นจากการรวบรวม การคัดเลือกหรือ จัดหาสารสนเทศที่ต้องการ การจัดเก็บสารสนเทศโดยการจัดหมวดหมู่ ทาดรรชนี การประมวลผล และการทาเครื่องมือช่วยค้น การสร้างฐานข้อมูล การเผยแพร่สารสนเทศไปยังผู้ใช้ ผ่าน กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นภาคสนาม เพื่อนามาพัฒนาและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของ ท้องถิ่นสืบต่อไป แนวคิดการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นส่วนหนึ่งมาจากภูมิปัญญาที่เกิดจากการสืบทอด ถ่ายทอด องค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมในชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ แล้วพัฒนาเลือกสรรปรับปรุงองค์ความรู้จนเกิดทักษะ และความชานาญที่สามารถแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย แล้วเกิด องค์ความรู้ใหม่ที่เหมาะสมและสืบทอดต่อไป ซึ่งภูมิปัญญาเหล่านี้ถูกบันทึกไว้ในหลายรูปแบบ รวมทั้งที่บันทึกเป็นเอกสารที่สมบูรณ์แบบโดยตัวเอง แต่บางครั้งต้องนามากลั่นกรองแล้วจัดให้เป็น ระบบระเบียบ เรียกว่า สารสนเทศ อย่างไรก็ตามเดิมมรดกภูมิปัญญาไทยอยู่ในรูปเอกสารเป็น ส่วนใหญ่ เช่น เอกสารตัวเขียน ศิลาจารึก ฯลฯ นับเป็นสารสนเทศท้องถิ่นที่มีความงดงามจึงเปรียบ ได้ว่าเป็นดอกไม้แห่งความงามของสารสนเทศท้องถิ่น (ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2552 : 35) ดัง แสดงในภาพที่ 4.1
  • 2. 58 ภาพที่ 4.1 ดอกไม้แห่งความงามของสารสนเทศท้องถิ่น ที่มา : ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2552 : 36. สารสนเทศจาก ประสบการณ์ ผู้รู้ สารสนเทศจาก การสะสมสืบทอด ภูมิปัญญาท้องถิ่น สื่อต่าง ๆ นาไปสู่ การเรียนรู้ สารสนเทศท้องถิ่น สารสนเทศจาก เอกสารต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ สารสนเทศที่ เป็นองค์ความรู้ บุคคลที่เข้าใจ และนาองค์ความรู้ มาพัฒนา การแสวงหาจุด ร่วมสารสนเทศ ท้องถิ่น บุคลากรที่เข้าใจ ในการดาเนินงานการจัดอย่างมีระบบ ใช้เทคโนโลยีช่วย ผู้สนับสนุนให้เกิดแหล่ง สารสนเทศท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ ทรัพยากรต่าง ๆ ฯลฯ การศึกษา ค้นคว้า วิจัย ใบลาน ศิลาจารึก จารีต ประเพณี ทรัพยากรบุคคล สื่อในทุกรูปแบบ นาผลงานวิจัย มาใช้อย่างถูกต้อง และสวยงาม
  • 3. 59 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นในชุมชน เพื่อให้เกิดสารสนเทศท้องถิ่นในแต่ละชุมชนควร ใช้หลักการจัดการความรู้ ดังแสดงในภาพที่ 4.2 ภาพที่ 4.2 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นในชุมชน ที่มา : ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน. 2554 : 6. การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นใช้หลักการและการจัดการสมัยใหม่โดยอาศัยกระบวนการ และองค์ความรู้ในการดาเนินการ โดยเฉพาะการผสมผสานระหว่างความสามารถในการจัดการและ ภาวะผู้นา เพื่อช่วยสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างแต่ละชุมชนให้อยู่ร่วมกันได้ ดังนั้นจึงมีความ จาเป็นต้องมีการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นมาใช้จัดการ โดยกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานที่เป็น การถ่ายทอดสารสนเทศท้องถิ่น ระหว่างบุคคลกับกลุ่มคน (Socialization) การเสวนา สารสนเทศท้องถิ่นจากการจัด รวบรวมภายนอกและ นาออกมาใช้ (Externalization) สารสนเทศท้องถิ่นที่เป็น ความรู้ + ประสบการณ์ที่ทาให้ เกิดปัญญาที่เก็บไว้ในตัวคน (Internalization) การเสวนา สารสนเทศท้องถิ่นที่เป็น องค์ความรู้ใหม่ที่เกิด ผสมผสานกันขึ้น (Combination) ความรู้ในตัวบุคคลในชุมชน ที่บอกเล่าต่อ ๆ กันมา (Tacit knowledge) ความรู้ที่บันทึกไว้ ความรู้ใน ตัวบุคคล ความรู้ที่ได้รับจาก ภายนอกชุมชน ที่บันทึกไว้
  • 4. 60 ระบบสารสนเทศให้ถูกต้อง สมบูรณ์ มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐาน สามารถเข้าถึง ได้และนาไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ต่อไป การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นกระบวนการดาเนินงานกับสารสนเทศท้องถิ่นที่บุคคล องค์กร โดยการจัดการสารสนเทศท้องถิ่นจะวางแผนตั้งแต่กาหนดนโยบาย การคัดเลือกหรือ ประเมินคุณค่าสารสนเทศท้องถิ่น ดาเนินงานตามกระบวนการจัดหาสารสนเทศท้องถิ่น (ศิริพร พูลสุวรรณ และสุรัชนี เปี่ยมญาติ. 2554 : 5-9) จากนั้นนามาจัดเก็บและวิเคราะห์สารสนเทศ ท้องถิ่น หากพบว่ามีสารสนเทศประเภทใดที่ไม่สมบูรณ์ทาการส่งต่อไปอนุรักษ์และสงวนรักษาก่อนที่ จะนาสารสนเทศไปเข้าระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดทาฐานข้อมูลให้เรียบร้อย แล้วจึงนาออก ให้บริการและเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่น วงจรการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น การจัดการสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการนาหลักบริหารมาประยุกต์กับสารสนเทศและ ความรู้ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรสาคัญของการบริหารจัดการ โดยเกี่ยวข้องกับการจัดการ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ การจัดการกระบวนการ และการจัดการ เทคโนโลยี อีกทั้งเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตามวงจรสารสนเทศทั้งที่เป็นเอกสารและสารสนเทศ ดิจิทัล โดยวงจรสารสนเทศเริ่มต้นจากการรวบรวม การคัดเลือกหรือจัดหาสารสนเทศที่ต้องการ การจัดเก็บสารสนเทศโดยการจัดหมวดหมู่ ทาดรรชนี การประมวลผลและการทาเครื่องมือช่วยค้น การสร้างฐานข้อมูล การเผยแพร่สารสนเทศไปยังผู้ใช้ โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการค้นคืนและนาไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานและการตัดสินใจ (น้าทิพย์ วิภาวิน. 2553 : 32-33 ; Brittain. 1996 : 15 ; Rowley. 1996 : 123) น้าทิพย์ วิภาวิน (2553 : 33) กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการจัดการสารสนเทศ มีการ ดาเนินงามตามวงจรสารสนเทศ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศที่เหมาะสมแก่การดาเนินงาน และจัดการระบบ สารสนเทศขององค์กร ให้องค์กรมีสารสนเทศที่คนในองค์กรรู้แหล่งจัดเก็บข้อมูลและเข้าถึงข้อมูลได้ เมื่อต้องการ 2. เพื่อจัดเก็บโดยกาหนดสารสนเทศที่องค์กรต้องการ และรวบรวมสารสนเทศจาก ภายนอกเข้ามาในระบบสารสนเทศขององค์กรเมื่อต้องการใช้สารสนเทศ
  • 5. 61 สรุปได้ว่า วงจรการจัดการสารสนเทศเป็นการดาเนินงานการไหลของเอกสารในองค์กร และวงจรการไหลของสารสนเทศในระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกระบวนการผลิตและบริการ และเทคโนโลยีสาหรับการประมวลผลและการเผยแพร่ สารสนเทศ ภาพที่ 4.3 วงจรการจัดการสารสนเทศ ที่มา : ดัดแปลงจาก Afganisatan Information Services. Online. 2009. 7. การใช้สารสนเทศ - การบริหารจัดการ - การวางแผน - การตรวจสอบและประเมินผล 1. แนวคิดพื้นฐานการศึกษา ความต้องการ - การประเมินความต้องการ - ความต้องการสารสนเทศ 6. การรายงานผลและการนาเสนอ ตารางและรายงาน - การนาข้อมูลออกในรูปแบบอื่น - การนาเสนอในรูปตาราง กราฟ 5. การประมวลข้อมูลและการวิเคราะห์ - การตรวจสอบข้อมูล และจัดรูปแบบ - การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 2. การรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ - การออกแบบสอบถาม - วิธีการรวบรวมข้อมูล 4. การจัดเก็บหรือบันทึกข้อมูล - การป้อนข้อมูลนาเข้า 3. การออกแบบฐานข้อมูล - ซอฟต์แวร์ โครงสร้างตาราง การออกแบบ - การพัฒนาฐานข้อมูล - การทดสอบ และติดตั้งโปรแกรม - คู่มือ เอกสาร และการฝึกอบรม
  • 6. 62 กระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเริ่มต้นจากการดาเนินงานตามกระบวนการ ดังนี้ 1. การรวบรวมสารสนเทศ การรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อนาสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ สามารถรวบรวม ได้จากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 แหล่งสถานที่ เป็นที่ที่อยู่ในบริเวณท้องถิ่น คือ 1.1.1 สถานที่เกิดตามธรรมชาติ อาทิ แม่น้า ทะเล ภูเขา ถ้า น้าตก 1.1.2 สถานที่ถูกสร้างโดยมนุษย์ อาทิ ถนน บ้านเรือน กาแพง ปราสาท 1.2 แหล่งบุคคล เป็นผู้มีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น นั้น ๆ เป็นอย่างดี 1.3 วัตถุสิ่งของ เป็นสิ่งที่มีอยู่ในบริเวณท้องถิ่น คือ 1.3.1 สิ่งที่เกิดตามธรรมชาติ อาทิ แร่ธาตุต่าง ๆ 1.3.2 สิ่งที่มนุษย์ทาขึ้น อาทิ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ 1.4 สัตว์และพืชในท้องถิ่น แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1.4.1 สัตว์และพืชที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น 1.4.2 สัตว์เลี้ยงและพืชพรรณที่มนุษย์นามาเพาะพันธุ์ในท้องถิ่น 1.5 หน่วยงานหรือองค์กร เป็นสถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนที่อยู่ในท้องถิ่นนั้น ๆ 1.6 อินเทอร์เน็ต เช่น ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น ของคณะทางาน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นต้น 2. การจัดหาสารสนเทศ การจัดหาสารสนเทศท้องถิ่นมีหลายวิธี (ศิริพร พูลสุวรรณ และสุรัชนี เปี่ยมญาติ. 2554 : 5-15-5-16) ดังนี้ 2.1 การซื้อ เป็นวิธีการสั่งซื้อโดยตรงจากผู้ผลิต หรือผ่านตัวแทนจาหน่าย ซึ่ง สารสนเทศท้องถิ่นที่จัดซื้อนั้นต้องผ่านกระบวนการคัดเลือก โดยพิจารณาเกณฑ์การคัดเลือก ประกอบการตัดสินใจเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายขององค์กร 2.2 การขอรับบริจาค การได้มาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
  • 7. 63 2.3 การบอกรับเป็นสมาชิก สารสนเทศท้องถิ่นอาจอยู่ในรูปบทความในวารสาร ซึ่ง เป็นวิธีที่ทาให้องค์กรได้รับวารสารอย่างต่อเนื่องโดยมีการตกลงร่วมกัน 2.4 การแลกเปลี่ยน เป็นวิธีการประหยัดงบประมาณในการซื้อทรัพยากรสารสนเทศ ท้องถิ่น โดยที่หน่วยงานแต่ละแห่งสามารถนามาแลกเปลี่ยนกันระหว่างหน่วยงานได้ 2.5 การผลิตขึ้นเอง หน่วยงานบางแห่งสามารถผลิตสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่อโสตทัศน์ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ได้ 2.6 การทาสาเนา เป็นการทาซ้าทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น โดยวิธีการคัดลอก ถ่ายสาเนาโดยนามาใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น บันทึกภาพ บันทึกเสียง ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่ทาให้องค์กร มีทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นไว้ให้บริการกับผู้ใช้ได้อย่างเพียงพอกับความต้องการ 2.7 การดาวน์โหลดสารสนเทศท้องถิ่นจากอินเทอร์เน็ต เป็นการทาสาเนาไฟล์จาก การดาวน์โหลดสารสนเทศท้องถิ่นจากอินเทอร์เน็ต ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยและมีเนื้อหาฉบับเต็ม เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ต้องการ 3. การวิเคราะห์สารสนเทศท้องถิ่น การวิเคราะห์สารสนเทศท้องถิ่นมีขั้นตอนและวิธีการจัดหมวดหมู่ (นันทพร ธนะกูล บริภัณฑ์. 2554 : 6-10-6-14) ดังนี้ 3.1 การจัดกลุ่มสารสนเทศท้องถิ่นในรูปแบบดั้งเดิม อาทิ การจัดหมวดหมู่ตาม เนื้อหา มักจัดตามหมวดหมู่ความรู้ระบบสากล จัดตามชื่อผู้แต่ง จัดตามลาดับเหตุการณ์ จัดตาม ประเภททรัพยากรสารสนเทศ จัดตามแหล่งที่มา 3.2 การเลือกกาหนดข้อมูลตัวแทนลักษณะทางกายภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ท้องถิ่น เช่น ชื่อผู้รับผิดชอบ ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ ชื่อสถานที่พิมพ์ ชื่อสานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จานวน หน้า ชื่อชุด หมายเลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือและวารสาร โดยใช้เกณฑ์การลงรายการ บรรณานุกรมตามที่กาหนดใช้ 3.3 สรุปสาระสาคัญและความคิดรวบยอดด้านเนื้อหา ว่าสารสนเทศท้องถิ่นนั้นมี เนื้อหาเรื่องใดบ้าง และสรุปแนวคิดหลักของแต่ละเรื่อง ซึ่งส่วนใหญ่จะมีเนื้อหาในด้าน ศิลปวัฒนธรรม ด้านอาหารและโภชนาการ ด้านการแพทย์แผนไทย และด้านการเกษตร 3.4 การแปลความจากประเด็นสาคัญในด้านเนื้อหาที่ผู้วิเคราะห์กาหนดให้อยู่ในรูป คาสาคัญ หัวเรื่อง ที่เป็นหมวดหมู่ที่มีการควบคุมการใช้แทนคาหรือชื่อเดียวกันที่เขียนต่างกัน
  • 8. 64 3.5 การสร้างตัวแทนสารสนเทศ เลือกรูปแบบของตัวแทนสารสนเทศให้สอดคล้อง กับข้อมูลที่ลงบรรณานุกรม โดยมีการเข้ารหัสตัวแทนสารสนเทศเพื่อให้อ่านและประมวลผลได้ด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์และแสดงผ่านบนเว็บ ภาพที่ 4.4 การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นและการสร้างตัวแทนสารสนเทศ ที่มา : นันทพร ธนะกูลบริภัณฑ์. 2554 : 6-11. ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ คัดเลือก รวบรวม รูปลักษณ์ต่าง ๆAACR2R Dublin Core ISBN/ISSN Thesaurus Abstract Classification (DC, LC, NLM, etc.) กระบวนการวิเคราะห์ฯ - แยกแยะองค์ประกอบ - กาหนดข้อมูลตัวแทน ข้อมูลตัวแทนลักษณะทางกายภาพ - ข้อมูลตัวแทนเนื้อหา - ข้อมูลระบุสถานที่จัดเก็บ ตัวแทนสารสนเทศ แคตาล็อก ดรรชนี บรรณานุกรม สาระสังเขป เมตะดาทา ฐานข้อมูลบรรณานุกรม - MARC, MARCXML - XML, RDF, METS ผู้ใช้ ด้านกายภาพ ด้านเนื้อหา หลักเกณฑ์/ มาตรฐาน หลักเกณฑ์/ มาตรฐาน หลักเกณฑ์/ มาตรฐาน
  • 9. 65 การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นภาคสนาม การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นภาคสนามมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นมีขั้นตอน (กฤษฎา ศรีธรรมา. 2554 : 23- 26 ; เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 165-173) แบ่งได้ดังนี้ 1.1 ขั้นตระหนัก การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ผู้ศึกษาจาเป็นต้องตระหนักถึงความสาคัญของมิติวัฒนธรรมในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ หลักการคิดหรือ พิจารณาในการรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนี้ 1.1.1 ไม่มีอคติหรือดูถูกภูมิปัญญาชาวบ้านอื่นที่แตกต่างจากตัวเอง 1.1.2 ไม่ยึดติดกับชาติพันธุ์นิยม ไม่ยึดตนเป็นใหญ่หรือศูนย์กลาง 1.1.3 เข้าใจวิธีคิดของชาวบ้าน 1.1.4 ยอมรับในความหลากหลายหรือความแตกต่างตามวิถีชีวิตในแต่ละ สภาพแวดล้อม เรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ หากเป็นไปได้ควรใช้ภาษาเดียวกับผู้ให้ข้อมูล หรือวิทยากร 1.1.5 เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ที่เท่าเทียมกัน 1.1.6 มีมนุษยสัมพันธ์ ปรับตัวง่ายเพื่อให้เข้ากับบุคคลที่จะไปศึกษาได้ เปิดใจ กว้าง มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ตามควรแก่เหตุการณ์ แต่อย่าตีค่าข้อมูลเป็นเงิน 1.1.7 มีความซื่อสัตย์ ไม่โป้ปด หลอกลวงเพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่ต้องการ ไม่ดัดแปลงข้อมูลหรือสร้างข้อมูลเอง 1.1.8 มีจริยธรรม หากข้อมูลใดที่วิทยากรถือว่าเป็นความลับก็ไม่นาไปเปิดเผย 1.2 ขั้นเลือกเก็บข้อมูล การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ 3 แบบ ได้แก่ 1.2.1 เก็บข้อมูลชั้นต้นหรือปฐมภูมิ คือ การเก็บข้อมูลที่ได้จากแหล่งกาเนิดแรก ได้แก่ บุคคลหรือหลักฐานหรือเอกสารอันดับแรกที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะค้นคว้าโดยตรง ไม่มีอ้างอิง ถึงสิ่งอื่น ข้อมูลชนิดนี้นักวิชาการให้ความสาคัญและเชื่อถือมาก ได้แก่ 1.2.1.1 การสอบถาม การสัมภาษณ์จากผู้รู้เรื่องนั้นโดยตรง
  • 10. 66 1.2.1.2 วรรณกรรมชิ้นแรก ก่อนที่จะมีผู้นาไปคัดลอกหรือพิมพ์ขึ้น เช่น วรรณกรรมฉบับลายมือ เป็นต้น 1.2.1.3 วัตถุต่าง ๆ เช่น รูปปั้น รูปภาพ ใบเสมา ศิลาจารึก กาไล โบราณ เป็นต้น 1.2.1.4 สถานที่ต่าง ๆ ที่เป็นต้นกาเนิด 1.2.2 เก็บข้อมูลชั้นรองหรือทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากแหล่งรอง เช่น เอกสาร หลักฐานฉบับคัดลอกที่ไม่ได้มาจากต้นฉบับจริง ๆ ข้อมูลนี้มีความสาคัญน้อยกว่าชั้นต้นหรือปฐมภูมิ ทั้งนี้ได้ผ่านการกลั่นกรองมาแล้ว ได้แก่ 1.2.2.1 แบบเรียนหรือตาราวิชาการต่าง ๆ ที่ผ่านการค้นคว้า 1.2.2.2 แผนผัง แผนที่ รูปจาลอง 1.2.2.3 หนังสือต่าง ๆ ที่นาความรู้จากแหล่งเดิมมาเผยแพร่ 1.2.2.4 บทความวิชาการ บทความวิจัย และบทวิจารณ์ ฯลฯ 1.2.3 เก็บข้อมูลแบบประสม คือ ข้อมูลที่ใช้ทั้งแหล่งชั้นต้นและชั้นรอง การ เก็บข้อมูลแบบนี้ได้รับความนิยมจากนักวิชาการในปัจจุบัน เนื่องจากการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นมี ทั้งภูมิปัญญาเดิม ภูมิปัญญาต่อยอดและภูมิปัญญาใหม่ การเก็บข้อมูลแบบประสมทาให้การศึกษามี ความสมบูรณ์มากกว่า 1.3 ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ขั้นนี้มีความสาคัญมาก การศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีวิธีการเก็บข้อมูล ดังนี้ 1.3.1 การเก็บข้อมูลภาคสนาม การเก็บข้อมูลเป็นข้อมูลปฐมภูมิ เป็นแหล่ง สาคัญในการศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น อันเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากบุคคลในท้องถิ่นให้ปากคา ใน การเก็บข้อมูล ผู้ศึกษาต้องศึกษาระเบียบวิธีการเก็บก่อน ทั้งนี้เพื่อผลจากการเก็บรวบรวมนั้นจะ เป็นประโยชน์ มีความน่าเชื่อถือ และต้องเตรียมความพร้อมในสิ่งต่อไปนี้ 1.3.1.1 ความรู้พื้นฐานของผู้ปฏิบัติ ก่อนออกปฏิบัติการภาคสนาม ผู้ศึกษาต้องมีความรู้พื้นฐานที่สาคัญ ดังนี้ ก. ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งผู้ศึกษาสามารถค้นคว้าจาก เอกสารหรือการอธิบายของนักวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยตั้ง จุดมุ่งหมายให้แน่นอนว่าจะรวบรวมข้อมูลประเภทใด เช่น รวบรวมนิทานพื้นบ้าน รวบรวม
  • 11. 67 การละเล่นพื้นบ้าน รวบรวมความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม การทอผ้า เครื่องจักสาน การแพทย์ แผนไทย เพื่อช่วยในการเก็บข้อมูลในสิ่งที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง ข. การเลือกสถานที่ บุคคล ผู้ให้ข้อมูล หรือวิทยากร เมื่อตั้ง จุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายในการศึกษารวบรวมข้อมูลทางภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้ว ผู้ศึกษาจะต้องเลือก สถานที่ กาหนดขอบเขตของสถานที่ที่จะรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจนแน่นอน อาจเป็นจังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน แต่ถ้าประสงค์จะให้ข้อมูลเป็นผลดีต่อการศึกษา มีความหมายแสดงให้เห็นถึง วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของคนในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง สถานที่ควรแคบที่สุดเท่าที่จะทาได้เพื่อจะได้ผล เชิงลึก การเลือกชุมชนอาจเลือกชุมชนที่คล้ายคลึงกับคนอื่น เพื่อเป็นตัวแทนของชุมชนใหญ่อีกที หนึ่ง หรือหาจุดสนใจชุมชนที่มีลักษณะเด่นผิดแผกจากที่อื่น สอดคล้องกับงานวิจัยของ รัตนา รุจิรกุล, วรรณพร รัตนศฤงค์ และกนกมน รุจิรกุล (2551 : 77) พบว่า การคัดเลือกสถานที่โดย ศึกษาจากข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เด่นมากในหมู่บ้านหรือชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา ที่เป็น ภูมิลาเนาของนักศึกษา 1.3.1.2 สารวจข้อมูลวิทยากรผู้ให้ปากคาโดยตรง โดยคัดเลือกวิทยากร จากคุณสมบัติอย่างเหมาะสม ถูกต้องตามความเป็นจริง ซึ่งมีเกณฑ์ในการเลือกวิทยากร ดังนี้ ก. วิทยากรไม่จาเป็นต้องจากัดเพศ วัย แล้วแต่ลักษณะข้อมูล ที่ต้องการ แต่ถ้าอายุมากเกินไปอาจจะไม่แม่นยา หลงลืม ทาให้ได้ข้อมูลไม่ชัดเจน ถ้าเป็นเยาวชน มักดัดแปลงข้อมูลบางส่วนหรือทั้งหมดตามสิ่งที่ได้รับมา วิทยากรที่เหมาะสมควรมีอายุประมาณ 50-70 ปี ข. การศึกษาหรือประสบการณ์ของวิทยากร ควรคานึงถึง ความรู้และความสามารถของวิทยากร ตลอดจนการยอมรับของคนในชุมชน สามารถให้ข้อมูลตาม ความเป็นจริง ค. อาชีพของวิทยากร อาชีพมีส่วนช่วยได้มากในบางเรื่อง เช่น การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการรักษาโรคของชาวบ้าน ความรู้เรื่องเกี่ยวกับยาหรือสมุนไพร พื้นบ้าน ศึกษาจากหมอยาจะได้ข้อมูลในด้านนี้ได้ดี ง. การนับถือศาสนาของวิทยากร มีส่วนทาให้ข้อมูลแตกต่างกัน ได้ เพราะความเชื่อต่างกัน ข้อมูลอาจคลาดเคลื่อนได้ ควรเลือกกลุ่มที่มีศาสนาเดียวกันทั้งหมู่บ้าน จะได้ข้อมูลที่สมบูรณ์
  • 12. 68 1.3.1.3 การสร้างมนุษยสัมพันธ์เพื่อหาวิทยากร การติดต่อวิทยากรต้อง เตรียมการอย่างดี โดยวิธีการหาผู้รู้สอบถามหาตัววิทยากรที่เหมาะสม และนาไปพบวิทยากร บุคคลที่ควรสร้างมนุษยสัมพันธ์ด้วย เช่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน เจ้าอาวาส ครูใหญ่ มรรคทายก ผู้นากลุ่มด้านต่าง ๆ เป็นต้น วิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์กระทาได้หลายวิธี ได้แก่ ไปพบที่บ้านแล้วแสดงความเคารพพร้อมแจ้งความจานงให้ทราบว่าต้องการมาเก็บข้อมูล เกี่ยวกับอะไร ข้อมูลที่ได้จะเกิดประโยชน์ด้านใดแก่ใคร ข้อมูลที่จะให้จะไม่เกิดผลเสียหรือโทษแก่ วิทยากรและครอบครัว ให้การยกย่องนับถือและให้ความสาคัญต่อตัวเขา สร้างความไว้วางใจให้ เกิดขึ้นระหว่างวิทยากรกับผู้ศึกษาจึงจะได้รับข้อมูลอย่างแท้จริง ในกรณีที่ต้องเก็บข้อมูลจากวิทยากรหลาย ๆ คน ผู้ศึกษาควร ขอให้บุคคลดังกล่าวข้างต้นเป็นผู้เสนอวิทยากรให้หลาย ๆ คน และขอความกรุณาให้บอกภูมิหลัง ด้วย วิธีนี้เรียกว่า การใช้เทคนิคการสุ่มแบบลูกโซ่ (Snowball) 1.3.1.4 ติดต่อกับวิทยากรควรแจ้งวัตถุประสงค์ให้วิทยากรทราบเกี่ยวกับ ความรู้ที่จะขอจากวิทยากร เช่น การรักษาป่าชุมชน การแพทย์แผนไทย เป็นต้น แจ้งการบันทึกว่า จะบันทึกด้วยเครื่องมือชนิดใด เช่น การจดบันทึก ถ่ายภาพ บันทึกภาพ บันทึกเสียง เป็นต้น 1.3.1.5 นัดหมายวิทยากร ควรนัดหมายวัน เวลา เมื่อวิทยากรว่างและ พร้อม เพื่อวิทยากรจะได้เตรียมตัวและไม่เสียเวลาในการเก็บข้อมูล ผู้เก็บจะต้องไปก่อนเวลาที่นัด หมายเล็กน้อย อย่าผิดนัดเป็นอันขาด หากมีความจาเป็นจะต้องแจ้งให้วิทยากรทราบล่วงหน้า 1.3.1.6 ตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการ รวบรวมข้อมูลภาคสนามที่สาคัญ ดังนี้ ก. การสัมภาษณ์ คือ การสนทนาหรือการพูดจาซักถามกัน อย่างมีจุดมุ่งหมาย ประกอบด้วย บุคคลสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ซักถาม เรียกว่า ผู้สัมภาษณ์ และอีกฝ่ายเป็นผู้ให้คาตอบ เรียกว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ เพื่อนาข้อมูลความรู้ ความคิดเห็นที่ได้ไปใช้ ประโยชน์ในด้านวิชาการ หรือนาไปเผยแพร่เพื่อประโยชน์ด้านธุรกิจหรือสังคม การสัมภาษณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลมี 2 ลักษณะ คือ 1) การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ หรือการสัมภาษณ์แบบ มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่มีแบบแผน มีหลักเกณฑ์เป็นพิธีการ เพราะจะต้องมีการ
  • 13. 69 เตรียมพร้อมทั้งด้านการนัดหมาย สถานที่ การเตรียมคาถาม ซึ่งจะเป็นคาถามที่กาหนดไว้แน่นอน แล้วคล้ายกับแบบสอบถามผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคาถาชุดเดียวกัน ผู้สัมภาษณ์จะจดบันทึก คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ลงในแบบสัมภาษณ์ ซึ่งผู้สัมภาษณ์สามารถนามาสรุปวิเคราะห์ได้ง่ายและ ประหยัดเวลา 2) การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการหรือการสัมภาษณ์ที่ ไม่มีโครงสร้าง เป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีคาถามกาหนดไว้แน่นอน คาถามจะเปิดกว้างไว้ให้ผู้ตอบ อธิบายได้อย่างอิสระ การสัมภาษณ์ลักษณะนี้ ผู้สัมภาษณ์จะต้องมีทักษะ ความสามารถและ ปฏิภาณในการสัมภาษณ์ ต้องคอยปรับเปลี่ยนคาถาม ขยายบทสนทนาให้เหมาะสมกับสภาพ เหตุการณ์เฉพาะหน้า และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ผู้สัมภาษณ์อาจจะมีแนวสัมภาษณ์ ซึ่งจะ ครอบคลุมหัวข้อเรื่องของข้อมูลที่ต้องการไว้ดูขณะสัมภาษณ์ด้วยก็ได้ บางครั้งบทสนทนาอาจจะไม่ เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ต้องการโดยตรง แต่ผู้เก็บข้อมูลก็จะได้ข้อมูลแวดล้อมที่เป็นประโยชน์ต่อการ วิเคราะห์ความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูลกลุ่มชนและสภาพสังคม การสัมภาษณ์โดยทั่วไป แบบสัมภาษณ์จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลส่วนตัวของผู้ให้สัมภาษณ์ ซึ่งประกอบด้วย ชื่อ ชื่อสกุล เพศ อายุ ที่อยู่ อาชีพ และข้อมูลอื่น ๆ ที่ต้องการทราบ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา เป็นต้น ส่วนที่ 2 เป็นคาถามเกี่ยวกับ ข้อมูลที่ต้องการทราบ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนั้น ๆ ลักษณะของ คาถามมี 2 ลักษณะ คือ คาถามแบบเปิด เป็นคาถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบสามารถตอบได้อย่าง อิสระและคาถามแบบปิด เป็นคาถามที่ผู้ตอบไม่มีอิสระในการตอบ ต้องตอบไปตามแนวคาถามที่ผู้ สัมภาษณ์ให้มา ซึ่งถ้าผู้สัมภาษณ์เตรียมคาถามไว้ไม่ครอบคลุมหรือคาถามไม่ชัดเจน ผู้ตอบอาจจะ ตีความหมายผิดได้ ในการเก็บข้อมูลโดยส่วนใหญ่จึงมักจะเลือกใช้คาถามทั้งสองลักษณะเพื่อจะให้ ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด ข. การสังเกต คือ การเฝ้าดูสิ่งที่เกิดขึ้นหรือปรากฏขึ้นอย่าง เอาใจใส่และกาหนดไว้อย่างมีระเบียบวิธี เพื่อวิเคราะห์หรือหาความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นกับ สิ่งอื่น การสังเกตที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลมี 2 แบบ ดังนี้ 1) การสังเกตแบบมีส่วนร่วม คือ การสังเกตที่ผู้สังเกตเข้า ไปใช้ชีวิตร่วมกับกลุ่มชนที่เข้าไปศึกษา ร่วมทากิจกรรมด้วยกัน ผู้สังเกตสามารถเข้าไปร่วมกิจกรรม
  • 14. 70 ต่าง ๆ ของคนในท้องถิ่น ชุมชน สังเกตรายละเอียดต่าง ๆ ในกิจกรรมที่เก็บข้อมูล เช่น ข้อมูล เกี่ยวกับพิธีกรรม สังเกตสภาพแวดล้อม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ อารมณ์ ความรู้สึกของผู้เข้าร่วม พิธีกรรม เป็นต้น แล้วบันทึกผลที่สังเกตได้ไว้ ในขณะที่สังเกตอาจจะมีการซักถามข้อมูลจาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มเติมอีกได้ แต่ต้องไม่รบกวนการดาเนินกิจกรรมนั้น ๆ 2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เป็นการสังเกตที่ผู้สังเกต จะเฝ้าสังเกตอยู่วงนอกไม่เข้าไปร่วมในกิจกรรมของกลุ่ม การสังเกตแบบนี้สามารถเก็บข้อมูลได้ใน ระยะสั้นและรายละเอียดของข้อมูลไม่เท่ากับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การเก็บข้อมูลจากการสังเกต นอกเหนือจากการถามแล้ว ผู้เก็บข้อมูลภาคสนามมีสองบทบาท คือ เป็นผู้มีส่วนร่วม และเป็นผู้สังเกตการณ์ ดังนั้นต้องรู้จักใช้ ความสังเกต เก็บรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวิทยากร ผู้ดู ผู้ฟัง ตลอดจนสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ด้วย ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอาจไม่ตรงกับข้อมูลจากปากคา อย่างไรก็ตาม ข้อมูลทั้งสองแบบ ย่อยมีส่วนในการที่ผู้ศึกษาจะวิเคราะห์กลุ่มชนทั้งสิ้น 1.3.1.7 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง ปฐมภูมิจะต้องอาศัยความรอบคอบถี่ถ้วนจึงต้องมีการเตรียมการอย่างดี ผู้รวบรวมข้อมูลจะต้อง สัมภาษณ์วิทยากรด้วยตนเอง นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือที่อาจเลือกใช้ตามความจาเป็นและเหมาะสม กับเนื้อหาข้อมูลที่ต้องการรวบรวม ดังนี้ ก. สมุดบันทึกและเครื่องเขียนสาหรับจดบันทึก ผู้ศึกษาอาจใช้ บันทึกสภาพชุมชน ท้องที่ที่เห็นได้สังเกตได้ด้วยตนเอง บันทึกข้อมูลไปล่วงหน้า เช่น วัน เดือน ปี สถานที่และวิทยากรที่จะไปพบ บันทึกคาถาม หรือประเด็นที่ต้องการสัมภาษณ์ เป็นต้น ข. เครื่องบันทึกเสียง มีความจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการ รวบรวมข้อมูลมุขปาฐะ ผู้ศึกษาจะต้องมีความรู้และทักษะในการใช้ ตรวจสภาพเครื่องใช้ให้พร้อม ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพทุกครั้ง เตรียมแบตเตอรี่และแถบบันทึกเสียงสาหรับใช้ให้พอเพียง ค. กล้องถ่ายรูป กล้องถ่ายวีดิทัศน์ กล้องถ่ายภาพยนตร์ ตาม ความจาเป็นและลักษณะข้อมูลที่จะรวบรวม หากเป็นข้อมูลประเภทอมุขปาฐะ เช่น หัตถกรรม พื้นบ้าน สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน หรือข้อมูลประเภทผสม เช่น พิธีกรรม การละเล่นพื้นบ้าน อุปกรณ์ เหล่านี้จะมีความจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับข้อมูลสถาปัตยกรรมและหัตถกรรมต้องใช้ อุปกรณ์ประเภทเครื่องวัด เช่น สายวัด ตลับเมตร เป็นต้น ประกอบด้วย
  • 15. 71 เครื่องมือทุกอย่างจะต้องตระเตรียม ตรวจสอบความพร้อม และประสิทธิภาพในการใช้งานทุกครั้ง เพราะหากผิดพลาด หมายถึง ผู้รวบรวมอาจจะไม่ได้ข้อมูล ตามที่ต้องการ การจะย้อนกลับไปบันทึกข้อมูลใหม่จะทาให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่าย เสียความรู้สึก ของวิทยากร และอาจได้ข้อมูลไม่เป็นธรรมชาติเท่าครั้งแรก นอกจากการเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลให้พร้อม ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามต้องฝึกใช้งานเครื่องมือต่าง ๆ ให้คล่อง ก่อนออกปฏิบัติงานทุกครั้ง เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงาน ในกรณีที่พื้นที่เป้าหมายอยู่ห่างไกล การคมนาคม ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามควรนาเสื้อผ้า เครื่องใช้ส่วนตัว ยาประจาตัว ติดไปด้วย เผื่อ จาเป็นต้องพักค้างคืนในพื้นที่ อนึ่งการจดบันทึกและการบันทึกภาพในแต่ละครั้ง ต้อง บันทึกชื่อสกุลของวิทยากร วัน เดือน ปี และสถานที่ที่เก็บข้อมูลหรือที่ได้บันทึกมาเพื่อป้องกัน การหลงลืมและสะดวกในการค้นคว้า อ้างอิงต่อไป 1.3.2 การเก็บข้อมูลประเภทเอกสาร เป็นการเก็บข้อมูลทุติยภูมิที่ผู้ศึกษาต้อง ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลก่อน (กฤษฎา ศรีธรรมา. 2554 : 27-28) โดยพิจารณาดังนี้ 1.3.2.1 ความน่าเชื่อถือของผู้แต่งหรือผู้รวบรวม โดยพิจารณาจาก ประสบการณ์ คุณวุฒิหรือความเชี่ยวชาญ การยอมรับของนักวิชาการที่นาไปใช้ในการอ้างอิง 1.3.2.2 แหล่งที่มาของข้อมูลชัดเจน ระบุครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ 1.3.2.3 เนื้อหามีความสมบูรณ์ 1.3.2.4 ภาษาชัดเจน การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อให้ได้ข้อมูลตามความเป็นจริง มี ความน่าเชื่อถือนั้น ผู้ศึกษาต้องมีคุณธรรมและคุณสมบัติ 3 ประการ ได้แก่ ประการแรก ความซื่อตรง ผู้ศึกษาต้องเก็บข้อมูลตามความจริงตาม สภาพเดิม ไม่มีการปรุงแต่งหรือสร้างข้อมูล วิทยากรพูดเช่นไรต้องบันทึกเช่นนั้น แม้ภาษาที่เราคิด ว่าหยาบโลนไม่เหมาะสม ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไข ประการที่สอง ปฏิภาณไหวพริบดี ผู้ศึกษาต้องมีปฏิภาณไหวพริบใน การแก้ปัญหาต่อเหตุการณ์หรือสถานการณ์ฉุกเฉินได้
  • 16. 72 ประการที่สาม มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ผู้ศึกษาต้องอาศัยความร่วมมือจาก ผู้อื่น เช่น ผู้นาชุมชน ชาวบ้าน นักบวช และตัววิทยากร เป็นต้น ผู้ศึกษาต้องระมัดระวังในการ ขอความร่วมมือ อย่าให้มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจะทาให้การเก็บข้อมูลล้มเหลว อย่างไรก็ตาม การเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ศึกษาต้องคานึงถึง ความสะดวกอื่น ๆ ประกอบด้วย ความสะดวกของวิทยากรที่เชิญมาให้ข้อมูล ความสะดวกเกี่ยวกับ การใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ต้องใช้กระแสไฟฟ้า ความสะดวกที่จะใช้เครื่องมืออื่น คานึงถึง ค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณที่มีอยู่ พิจารณาว่าสถานที่ที่จะเก็บข้อมูลนั้นเป็นตัวแทนกลุ่มที่จะศึกษาได้ ดี 2. การจาแนกประเภทข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การจาแนกประเภทข้อมูลเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ข้อมูลที่ลงบันทึกเรียบร้อยแล้ว ต้อง นามาจัดหมวดหมู่ตามประเภทของข้อมูล โดยอาศัยหลักทฤษฏีตามที่ได้ศึกษา รวมทั้งวัตถุประสงค์ และขอบเขตของการศึกษาที่กาหนดไว้ (เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 175) โดยดาเนินการดังนี้ 2.1 การตรวจสอบข้อมูล ควรตรวจสอบข้อมูล ดังนี้ 2.1.1 การตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ์และการสังเกต ว่าตอบคาถามครบถ้วนทุกคาถามหรือไม่ ถ้าข้อมูลยังไม่ ครบถ้วนสมบูรณ์จัดแยกไว้ต่างหากเพื่อเก็บข้อมูลซ่อม 2.1.2 การตรวจสอบข้อมูลแหล่งบุคคล คือ การตรวจสอบว่าข้อมูลภูมิปัญญา ท้องถิ่นประเภทเดียวกันที่ได้จากบุคคลต่างกัน ข้อมูลมีความเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร บันทึก ข้อสังเกต และให้หมายเลขลาดับข้อมูลไว้ เช่น ข้อมูลพิธีกรรมขึ้นบ้านใหม่ เก็บข้อมูลได้จาก วิทยากร 3 คน ในพื้นที่ที่เลือกศึกษาแห่งเดียวกัน ตรวจสอบข้อมูลและบันทึกให้ลาดับข้อมูลไว้ และจัดหมวดหมู่ไว้ด้วยกัน บันทึกข้อสังเกตไว้ เช่น ขั้นตอนการดาเนินพิธีเหมือนกันทุกขั้นตอน แต่เครื่องประกอบพิธีต่างกันคือ ลาดับที่ 1 ใช้ 9 อย่าง ลาดับที่ 2 และ 3 ใช้ 7 อย่าง เป็นต้น 2.2 การจัดหมวดหมู่ เมื่อตรวจสอบข้อมูลแล้วนาข้อมูลมาจัดเข้าหมวดหมู่โดยใช้ แนวคิดหรือหลักการจาแนกตามที่ท่านผู้รู้กาหนด หรือผู้ศึกษาอาจจะกาหนดเกณฑ์ในการจาแนก ข้อมูลขึ้นเองก็ได้ แต่ต้องชี้แจงเกณฑ์ในการจาแนกให้ชัดเจน เช่น การจาแนกเครื่องหัตถกรรม จักสาน อาจจัดจาแนกตามประโยชน์การใช้สอยเป็นเครื่องมือเกษตร เครื่องจับสัตว์น้า เครื่องจับ สัตว์บก เครื่องใช้ในบ้าน หรืออาจจัดแบ่งตามลวดลาย เช่น ลายหนึ่ง ลายสอง ลายสาม ลายดอก
  • 17. 73 พิกุล ลายขัด เป็นต้น ถ้าเป็นข้อมูลประเภทมุขปาฐะสามารถจัดจาแนกประเภทตามลักษณะ รูปแบบของข้อมูล เช่น นิทาน ปริศนา สุภาษิต และแบ่งหมวดหมู่ย่อย ๆ ลงได้อีกตามหลักเกณฑ์ ที่ท่านผู้รู้ได้กาหนดไว้ เป็นต้น 3. การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ขั้นตอนนี้จะเป็นการใช้แนวคิดหรือทฤษฎี มาเป็นหลักในการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คาตอบตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ แล้วสร้างข้อสรุปให้ ข้อสังเกตหรือข้อเสนอแนะจากการศึกษา สาหรับผู้เริ่มต้นศึกษา การสร้างแนวคิดในการวิเคราะห์ ข้อมูล สามารถทาได้โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานของท่านผู้ที่ได้ทาไว้เป็นแนวทาง จุดสาคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การตีความ หรือการแปลความหมายข้อมูล ผู้ ศึกษาต้องพยายามทาความเข้าใจความหมายของข้อมูล จากสิ่งที่สังเกตเห็น หรือได้รับฟังจากผู้ให้ ข้อมูล เพราะสิ่งต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นย่อมมีความหมายอยู่ในตัวเอง การตีความข้อมูลต้องอาศัย บริบท และบทบาทของข้อมูล ประกอบด้วย จึงจะสามารถเข้าใจความหมายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น ภาษิต บทหนึ่ง ของคนภาคเหนือว่า “ท้องหิวบ่มีไผเอาไฟส่องท้อง แต่งตัวบ่อหย้องพี่น้องดู แคลน” ซึ่งสะท้อนความคิดของคนภาคเหนือว่า เวลาหิวไม่มีใครเห็น แต่ถ้าแต่งตัวไม่ดีไม่หรูหรา แม้แต่พี่น้องก็จะดูถูกได้ แสดงให้เห็นถึงการรักศักดิ์ศรีของตนเอง ไม่ให้ใครมาดูถูกดูหมิ่นได้ ความ นึกคิดเหล่านี้จะเป็นเครื่องคุมพฤติกรรมของคนที่เป็นเจ้าของข้อมูลดังกล่าวและถ่ายทอดสืบต่อ ๆ กันมาถึงคนรุ่นหลัง การตีความข้อมูลประเภทมุขปาฐะเป็นการตีความที่เนื้อหาข้อมูลซึ่งเป็นถ้อยคา สาหรับข้อมูลประเภทอมุขปาฐะนั้นจะสามารถตีความได้จากชิ้นงาน โดยเริ่มจากการพิจารณา วัตถุประสงค์ของการสร้าง รูปทรง การสร้างรูปแบบ โครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต วัตถุดิบ และ เนื้อหาสาระ การวิเคราะห์นี้มิใช่เพียงผู้รู้ว่าเป็นอย่างไรใช้ทาอะไรเท่านั้น แต่ต้องมองให้ลึกและอ่าน ให้ออกว่า การที่มีรูปแบบ รูปทรง โครงสร้าง เทคนิค และการใช้วัตถุดิบเช่นนี้มีความสัมพันธ์กับ การใช้สอยและเกี่ยวเนื่องกับประเพณี ค่านิยมในท้องถิ่นนั้นอย่างไร เช่น การศึกษาวิเคราะห์ กระติบ หรือกล่องข้าว ของภาคเหนือ และภาคอีสาน เริ่มจากการพิจารณารูปทรงซึ่งอาจจะ ผูกพันกับคติเรื่องความงาม และวัฒนธรรมในอดีต เช่น รูปทรงของกระติบแถบอีสานเหนือตั้งแต่ นครพนม สกลนคร อุดรธานี จะมีรูปทรงเป็นทรงกระบอก มีฝาปิด แต่ถ้าเป็นกล่องข้าวแถบ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ จะมีลักษณะคล้ายโถมีขาไม้ มีฝาคล้ายฝาชีซึ่งอาจเป็นเพราะรับ
  • 18. 74 อิทธิพลมาจากกล่องข้าวขวัญของพวกเขมร จึงเกิดเป็นประเพณีนิยม ประโยชน์ใช้สอยใช้ใส่ข้าว เหนียวนึ่งเหมือนกัน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยม ประเพณีและการสร้างรูปแบบ (เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 176-177) 4. การนาเสนอข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การนาเสนอผลการศึกษาโดยส่วนใหญ่จะใช้การนาเสนอในรูปแบบของรายงานทาง วิชาการ โดยเริ่มจากการวางโครงเรื่องของรายงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนที่สาคัญ โครงเรื่องที่ดีจะทาให้ ผู้เขียนทารายงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสาคัญของโครงเรื่อง (เรไร ไพรวรรณ์. 2553 : 177-178) มีดังนี้ 4.1 โครงเรื่องช่วยให้รายงานมีเอกภาพ สารัตถภาพ และสัมพันธภาพ 4.2 โครงเรื่องช่วยให้รายงานมีเนื้อหาสมบูรณ์ครบถ้วนตามขอบเขตที่กาหนดไว้ 4.3 โครงเรื่องช่วยให้การเขียนในแต่ละหัวข้อมีเนื้อหาได้สัดส่วน เน้นความหรือ ขยายความได้อย่างเหมาะสมชัดเจน 4.4 โครงเรื่องช่วยให้รายงานน่าอ่าน เพราะมีการรวบรวมและจัดลาดับความรู้ ความคิดไว้เป็นระบบ การเขียนรายงานนาเสนอผลการศึกษานี้ โดยทั่วไปจะแบ่งรายงานเป็น 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 บทนา กล่าวถึง ความเป็นมา หรือความสาคัญของเรื่องที่ศึกษาวัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา ประโยชน์ที่จะได้รับ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพื้นที่ที่ลงปฏิบัติงานภาคสนาม กล่าวถึง ประวัติ สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ประชากรและอาชีพ การเดินทางเข้าสู่พื้นที่โดยแสดงแผนผัง ประกอบ แผนที่แสดงสถานที่สาคัญ เช่น วัด โรงเรียน ศาสนสถาน เป็นต้น บทที่ 3 การดาเนินการ กล่าวถึง วิธีดาเนินการตามขั้นตอน เช่น การเลือกหมู่บ้าน วิทยากร การเก็บรวบรวมข้อมูล การจาแนกข้อมูล เป็นต้น บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กล่าวถึง ข้อมูล ประเภทข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลที่ เก็บรวบรวม เสนอผลวิเคราะห์ แยกประเด็นและยกตัวอย่างประกอบให้เห็นชัดเจน บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา กล่าวถึง ข้อสรุปจากการศึกษาค้นคว้า และแสดงความ คิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน อุปสรรคปัญหา และข้อเสนอแนะไว้ด้วย
  • 19. 75 บรรณานุกรม กล่าวถึง การรวบรวมเอกสารอ้างอิงที่กล่าวถึงในเนื้อหาทั้ง 5 บท รวมถึงข้อมูลที่ไปเก็บรวบรวมภาคสนามไม่ว่าจะเป็นการสัมภาษณ์ การสอบถาม ภาคผนวก ควรนาข้อมูลแต่ละประเภทที่ได้จากการปฏิบัติงานภาคสนามมารวมไว้ ด้วย เช่น นิทาน เพลง ศิลปหัตถกรรม เป็นต้น ในแต่ละบทอาจใช้ภาพหรือตารางประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และที่ สาคัญคือ ความถูกต้องของเนื้อหา การอ้างอิง ภาพและข้อมูลในตารางที่นาเสนอ ผู้ศึกษาควร ตรวจทานให้รอบคอบ การใช้ภาษาในการเขียนรายงาน เพื่อนาเสนอผลการศึกษา นอกจากความถูกต้องของ เนื้อหาแล้ว การใช้ภาษาในการเขียนก็เป็นส่วนสาคัญที่ต้องระมัดระวัง ซึ่งควรปฏิบัติดังนี้ 1. การใช้คาให้ตรงความหมาย ช่วยให้ข้อความที่เขียนสื่อสารได้ถูกต้องชัดเจน 2. การใช้คาถูกต้องตามหลักภาษา ได้แก่ การวางคา การเขียนคาสะกดการันต์ วรรณยุกต์ รวมทั้งการใช้คาลักษณะนาม คาบุพบท และคาสันธาน ให้ถูกต้อง 3. การใช้คาให้เหมาะสมกับบุคคลและระดับของคา 4. ไม่ใช้คาฟุ่มเฟือย หรือไม่ย่อคาจนเกินไป ทาให้สื่อความหมายได้ไม่ชัดเจนตามที่ ต้องการ 5. ระมัดระวังเรื่องการใช้อักษรย่อ หากจาเป็นจะต้องใช้ให้ตามที่ทางราชการกาหนดไว้ หรือเลือกใช้คาย่อที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป 6. ใช้ประโยคง่าย ๆ ถูกต้องตามไวยากรณ์ ทั้งเลือกใช้เครื่องหมายวรรคตอนให้ถูกต้อง
  • 20. 76 สรุป การศึกษากระบวนการจัดการสารสนเทศท้องถิ่น เป็นการสืบทอดองค์ความรู้ที่เกิดจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเป็นกระบวนการดาเนินงานกับสารสนเทศท้องถิ่นที่ องค์กร ได้กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อให้สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ วงจรการจัดการสารสนเทศเป็นการดาเนินงานการไหลของ เอกสารในองค์กรและวงจรการไหลของสารสนเทศในระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงกระบวนการผลิตและบริการด้านสารสนเทศ และเทคโนโลยีสาหรับ การประมวลผลและการเผยแพร่สารสนเทศ การจัดการสารสนเทศท้องถิ่นเริ่มต้นจากการดาเนินงาน ตามกระบวนการ เช่น รวบรวม การจัดหา การวิเคราะห์สารสนเทศ เป็นต้น กระบวนการจัดการ สารสนเทศท้องถิ่นภาคสนาม ประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การจาแนก ประเภทข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การวิเคราะห์ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น การนาเสนอข้อมูลภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่ได้จากการศึกษา