SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
บทที่ 8
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น เป็นการปูองกัน การซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพ
กายภาพ และการสงวนรักษาสารสนเทศภูมิปัญญา เพื่อให้สารสนเทศท้องถิ่นอยู่ในสภาพใช้งานได้
มีความคงทน ไม่ชารุดและไม่สูญหาย การสงวนรักษาวัดสุสารสนเทศแต่ละประเภท แต่ละชนิดมี
เทคนิคและวิธีการสงวนรักษาที่แตกต่างกัน โดยมีปัจจัยสาคัญในการสนับสนุน มีการใช้วัสดุอุปกรณ์
และครุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการจัดเก็บและซ่อมแซมสารสนเทศท้องถิ่น มีเทคนิคและขั้นตอนในการ
สงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
แนวคิดการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นมีแนวคิดที่สาคัญ คือ ความหมายของการสงวนรักษา
สารสนเทศท้องถิ่น ความสาคัญของการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น ความหมายของการสงวน
รักษาสารสนเทศท้องถิ่น และหลักการในการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น มีรายละเอียดดังนี้
1. ความหมายของการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นในที่นี้เน้นการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่มี
การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสาคัญ
สาหรับการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ไม่ได้บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น การแสดง
ประเพณี พิธีกรรม รวมถึงสื่อบุคคลจะไม่กล่าวถึงในบทนี้ เนื่องจากการสงวนรักษาสารสนเทศ
ท้องถิ่นดังกล่าวมีความซับซ้อน มีเทคนิควิธีการสงวนรักษาตามลักษณะของสารสนเทศแต่ละประเภท
ซึ่งมีนักการศึกษาให้ความหมายไว้ดังนี้
ดาวนภา สุยะนนท์ และคณะ (2549 : 147) กล่าวว่า การสงวนรักษาทรัพยากร
สารสนเทศ หมายถึง การนาทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทมาจัดการด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่
เหมาะสม อาทิ การถ่ายภาพดิจิทัล การสแกนหน้าเอกสาร และมีการจัดเก็บเป็นไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ
ตามการจัดการของเทคโนโลยีที่นามาจัดทา เพื่อปูองกันทรัพยากรสารสนเทศมิให้ชารุดเสียหายได้
สมสรวง พฤติกุล (2554 : 11-5) กล่าวถึง การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
ท้องถิ่น หมายถึง การบริหารจัดการและการปฏิบัติด้วยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อปูองกันสารสนเทศ
ท้องถิ่นมิให้ชารุดเสียหายและซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นที่ชารุดเสียหายให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
จิราภรณ์ อรัณยะนาค (2555 : 6) อธิบายว่า เป็นการกระทาที่มุ่งเน้นการชะลอการ
ชารุดเสื่อมสภาพ รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ซ่อมแซมหรือเสริมสร้างความแข็งแรงให้วัตถุ
นั้น ๆ คงสภาพอยู่ได้หรือแก้ไขปัญหาและดาเนินการปูองกันการเสื่อมสภาพ
สรุปว่า การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น หมายถึง การดาเนินการด้วยวิธีที่
เหมาะสมเพื่อปูองกันและซ่อมแซมสภาพกายภาพและเนื้อหาหรือภูมิปัญญาสารสนเทศท้องถิ่นให้อยู่
ในสภาพใช้งานได้
2. ความสาคัญของการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นมีความสาคัญสรุปได้ (ดาวนภา สุยะนนท์ และ
คณะ. 2549 : 147 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-5) ดังนี้
2.1 ทาให้มีการปกปูองสารสนเทศท้องถิ่นต้นฉบับอันเป็นภูมิปัญญาของมนุษย์ที่
แสดงถึงอารยธรรม ความเจริญรุ่งเรืองของสังคมและประเทศชาติไม่ชารุดเสียหายและสูญหาย
2.2 ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นต้นฉบับที่ชารุดและ/ไม่ชารุดเสียหายกลับคืนอยู่ใน
สภาพที่ใช้งานได้หรือ อยู่ในสภาพคงเดิม และ/หรือไม่ชารุดเสียหายเพิ่มมากขึ้น มีคุณค่า มีอายุการ
ใช้งานได้ยาวนาน
2.3 ทาให้การบริการสารสนเทศท้องถิ่นสะดวก โดยเฉพาะสารสนเทศท้องถิ่นมีอัตรา
การใช้งานสูงหรือมีผู้ที่ต้องการใช้มากหรือใช้บ่อย และต้องการใช้งานในคราวเดียวกัน หากสงวน
รักษาด้วยการทาสาเนาหรือแปลงรูปเป็นดิจิทัลให้บริการทาให้สามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ
ท้องถิ่นได้พร้อมกัน และใช้ได้สะดวกอันจะนาไปสู่การใช้สารสนเทศอย่างคุ้มค่า
2.4 ทาให้ข้อมูล เนื้อหา เรื่องราว หรือองค์ความรู้ที่สาคัญของชุมชนหรือท้องถิ่นที่ไม่
สามารถเข้าถึงได้ เนื่องจากสภาพกายภาพไม่เอื้ออานวยให้ใช้ อาทิ มีขนาดเล็กมาก หรือขนาดใหญ่
มาก หรือบางเปราะไม่สามารถหยิบจับได้ หรือต้องใช้อุปกรณ์ในการเข้าถึงแต่มีข้อจากัด เช่น สื่อ
บันทึกข้อมูลเดิมล้าสมัยไม่สามารถรียกข้อมูลออกมาใช้ได้เพราะเทคโนโลยีเปลี่ยนไป การสงวนรักษา
สารสนเทศท้องถิ่นด้วยเทคนิคการรักษาเนื้อหา อาทิ การโอนย้ายข้อมูล การเลียนแบบเทคโนโลยีใน
กรณีที่เป็นข้อมูลดิจิทัลจะทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูล เนื้อหา เรื่องราวหรือองค์ความรู้การเลียนแบบ
เทคโนโลยีในกรณีที่เป็นข้อมูลดิจิทัลจะทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูล เนื้อหา เรื่องราวหรือองค์ความรู้ได้
3. หลักการในการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นมีหลักการสาคัญ 3 หลักการ คือ การสงวนรักษา
ด้วยการปูองกัน การสงวนรักษาด้วยการซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพกายภาพ และการสงวนรักษา
สาระภูมิปัญญาหรือการสงวนรักษาเนื้อหาหรือสาระของสารสนเทศท้องถิ่น แต่ละหลักการมี
รายละเอียด (จิราภรณ์ อรัณยะนาค. 2555 : 6 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-9-11-12) ดังนี้
3.1 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นด้วยการปูองกัน ด้วยการดาเนินการหรือใช้
เทคนิคต่าง ๆ ในระหว่างการจัดทา การใช้ และการจัดเก็บท้องถิ่น การจัดทาต้องเลือกและ/หรือ
เตรียมวัสดุแต่ละชนิดให้เหมาะสมก่อนนามาสร้างเป็นสารสนเทศท้องถิ่น ต้องระมัดระวังและ
เคลื่อนย้ายให้ถูกวิธี เมื่อสกปรกให้ทาความสะอาดอย่างถูกวิธี การจัดเก็บสารสนเทศท้องถิ่นต้องเก็บ
ด้วยวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน มีการดูแลรักษาพื้นที่จัดเก็บอย่างสม่าเสมอ
เพื่อปูองกันหรือชะลอความชารุดเสียหายสารสนเทศท้องถิ่น โดยเฉพาะสภาพกายภาพของ
สารสนเทศท้องถิ่น มีการปูองกันสารสนเทศท้องถิ่น ดังนี้
3.1.1 การจัดทาหรือผลิตสารสนเทศท้องถิ่นด้วยวัสดุหรือสื่อบันทึกข้อมูลที่
เหมาะสมและคงทน ในการจัดทาเอกสารกระดาษที่ต้องการให้เก็บรักษานานต้องเลือกใช้กระดาษไร้
กรด (Acid-free) หรือกระดาษถาวร (Permanent paper) ทั้งนี้เนื่องจากกรดในกระดาษเมื่อทา
ปฏิกิริยากับอากาศจะทาให้กระดาษผุพังได้ง่ายการเก็บข้อมูลดิจิทัลหรือบันทึกข้อมูลดิจิทัลด้วยการ
เลือกวัสดุเก็บ/สื่อเก็บข้อมูลดิจิทัลที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน
3.1.2 การจัดเก็บและการดูแลรักษาสารสนเทศท้องถิ่นในสถานที่ที่เหมาะสม
ประกอบด้วยการควบคุมสภาพแวดล้อมพื้นที่เก็บสารสนเทศท้องถิ่น การรักษาความปลอดภัย การใช้
วัสดุสาหรับเก็บ การทาสาเนา
3.1.2.1 การควบคุมสภาพแวดล้อมตัวอาคารและพื้นที่เก็บทรัพยากร
สารสนเทศท้องถิ่น กล่าวคือ อาคารห้องเก็บหรือพื้นที่เก็บสารสนเทศท้องถิ่นต้องออกแบบและ
เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมและทนไฟได้นานที่สุด โดยเฉพาะส่วนพื้นห้อง ผนังและเพดาน และมีการ
ควบคุมสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นสาเหตุให้สารสนเทศท้องถิ่นเสื่อมสภาพและชารุดเสียหาย เช่น
อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง ลม ฝน ฝุุนละออง ก๊าซ นก หนู แมลง จุลชีพ เป็นต้น
3.1.2.2 การใช้วัสดุและจัดเก็บสารสนเทศท้องถิ่นอย่างเหมาะสมและได้มาตรฐานเพื่อ
ช่วยปกปูองสารสนเทศท้องถิ่น อาทิ เอกสารประเภทกระดาษจัดเก็บในแฟูมหรือซองหรือกล่องที่ทา
ด้วยกระดาษไร้กรด จัดเก็บภาพถ่ายในอัลบั้มหรือซองพลาสติกที่ทาจากพลาสติกที่ทาจากไมลาร์
(Mylar) รวมถึงมีการจัดวางและเรียงสารสนทศท้องถิ่นแต่ละชนิดในชั้นหรือตู้เก็บที่เหมาะสมกับ
รูปลักษณ์ของสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อมิให้หัก งอหรือแตกหักได้ง่าย อาทิ แผนที่ที่มีขนาดใหญ่ให้เก็บ
ในลักษณะวางราบในลิ้นชักเก็บแผ่นเสียงในซองกระดาษและวางตั้งแผ่นเสียงแต่ละแผ่นในช่อง
ตะแกรง
3.1.3 การให้ความรู้แก่ผู้ใช้และบุคคลทุกกลุ่มเกี่ยวกับการหยิบจับสารสนเทศ
อย่างถูกวิธี อาทิ ไม่พับมุมหนังสือที่อ่านค้างไว้ ไม่ใช้นิ้วที่มันจับผิวหน้าของแผ่นซีดี การค้นหา
สารสนเทศท้องถิ่นที่ต้องการจากเครื่องมือช่วยค้นก่อนเพื่อเลือกว่าจะตรงกับความต้องการใช้งาน
หรือไม่ก่อนการหยิบจับสารสนเทศท้องถิ่นอันช่วยลดการหยิบจับทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ไม่
ต้องการใช้งาน
3.1.4 การสารวจสภาพสารสนเทศท้องถิ่น การสารวจสภาพของสารสนเทศ
ท้องถิ่นต้องตรวจทั้งสภาพแวดล้อมของห้อง/พื้นที่เก็บ อาทิ วัสดุที่จัดเก็บ อุปกรณ์และเครื่องปูองกัน
ภัยต่าง ๆ อยู่ในสภาพใช้งานได้ตามปกติ หรือชารุดเสียหาย และตัวสารสนเทศท้องถิ่น เพื่อตรวจว่ามี
สารสนเทศท้องถิ่นชิ้นไหนมีโอกาสจะชารุดเสียหาย
3.1.5 การทาสาเนาเพื่อใช้แทนการใช้สารสนเทศท้องถิ่นต้นฉบับ โดยอาจถ่าย
สาเนาเป็นวัสดุย่อส่วนหรือแปลงข้อมูลเป็นดิจิทัลและบันทึกเป็นแผ่นเก็บข้อมูล เช่น ซีดี หรือดีวีดี
หรือเก็บเป็นฐานข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น
3.1.6 การวางแผน การเตรียมการปูองกันและกู้สารสนเทศท้องถิ่นจากกรณี
ฉุกเฉินจากภัยพิบัติหรือเหตุต่าง ๆ เป็นการจัดทาแผนการปูองกันภัยพิบัติจากไฟไหม้และน้าท่วม
และแผนการกู้สารสนเทศท้องถิ่นกลับคืนหลังเกิดภัยพิบัติ โดยอาจแยกเป็นสองแผนหรืออาจรวมเป็น
แผนเดียวกันและต้องเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติ ข้อมูลที่ควรระบุในแผนการ
ปูองกัน คือ กิจกรรมการปูองกันจะมีกิจกรรมอะไรบ้างและใครผู้รับผิดชอบ โดยให้ระบุชัดเจนว่าใคร
รับผิดชอบในกิจกรมใด เช่น ใครจะขนย้ายสารสนเทศท้องถิ่นในกรณีเกิดภัยพิบัติและจะดาเนินการ
อย่างไร ใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร และใช้เส้นทางใดที่จะขนย้ายออกไปและขนย้ายไปที่ไหน และควรมี
การซ้อมเป็นครั้งคราว สาหรับข้อมูลที่ควรระบุในแผนการกู้ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นหลังเกิดภัย
พิบัติ คือ กิจกรรมที่ต้องดาเนินการตามลาดับคืออะไร ใครทา ทาอย่างไร และต้องใช้วัสดุอุปกรณ์
อะไร
3.2 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นด้วยวิธีการซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพ
กายภาพมีประเด็นสาคัญ ดังนี้
3.2.1 วิธีการซ่อมแซมทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ชารุดเสียหายให้อยู่สภาพ
เดิมหรือใกล้เคียงสภาพเดิม เทคนิคและวิธีการซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพกายภาพทรัพยากร
สารสนเทศท้องถิ่นมีตั้งแต่วิธีการพื้นฐานเบื้องต้นที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่ซับซ้อน อาทิ
การทาความสะอาดกระดาษที่เปื้อนฝุุน การแกะเทปใสออกจากระดาษ การคลายกระดาษที่ม้วนไว้
นาน จนถึงการซ่อมที่ต้องอาศัยความชานาญเฉพาะจากผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการฝึกฝนโดยตรง
ประกอบด้วย
3.2.1.1 การลดกรดจากกระดาษ เป็นการใช้สารเคมีที่เหมาะสมในการ
ลดกรดที่มีอยู่ในกระดาษ
3.2.1.2 การเข้าเล่ม เป็นการทาให้เอกสารกระดาษแต่ละแผ่นรวมกันเป็น
ปึกหรือเล่ม
3.2.1.3 การเคลือบ เป็นการนาวัสดุใสมาผนึกกระดาษโดยใช้ความร้อน
ทับให้แผ่นใสติดกับกระดาษเพื่อเสริมความแข็งแรงการห่อหุ้ม การใช้ซองที่ทาจากวัสดุมาใส่กระดาษ
แต่ละแผ่น
3.2.1.4 การอบ เป็นการใช้สารเคมีหรือสุญญากาศในการอบเอกสารเพื่อ
ทาลายแมลง สัตว์ และจุลชีพในห้องอบ
3.2.2 ผู้ทาหน้าที่ดูแลรักษาและจัดเก็บ รับผิดชอบ จาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับชนิดและคุณสมบัติของสารสนเทศต่าง ๆ เป็นอย่างดี ก่อนที่จะตัดสินใจดาเนินการใด ๆ เพื่อ
จัดเก็บและบริการ การซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นบางชนิดต้องอาศัยความชานาญเฉพาะจากผู้เชี่ยวชาญ
ที่ได้รับการฝึกฝนโดยตรง ในประเทศไทยบุคลากรที่มีความชานาญหรือได้รับการฝึกฝนโดยตรงใน
การซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นแต่ละประเภทมีจากัดมาก กรณีการซ่อมเอกสารประเภทกระดาษมีหอ
จดหมายเหตุแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่มีบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมและปฏิบัติการซ่อมเอกสาร
ประเภทกระดาษที่ถือว่ามีความชานาญและให้บริการซ่อมเอกสารสาหรับส่วนราชการที่ขอ
อนุเคราะห์ให้บริการ
3.2.3 การจ้างหน่วยงานภายนอกดาเนินการซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นที่ชารุด
ในกรณีที่มีสารสนเทศท้องถิ่นชารุดเสียหายมากและหน่วยงานไม่มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ อาจ
ใช้วิธีการจัดจ้างหน่วยงานภายนอกดาเนินการ (Outsourcing) สาหรับประเทศไทยอาจมีข้อจากัดใน
การหาหน่วยงานหรือบริษัทที่รับจ้างในการซ่อมสารสนเทศ และค่าใช้จ่ายในการซ่อมสารสนเทศที่ได้
มาตรฐานจะมีราคาสูงและต้องนาเข้าจากต่างประเทศ
3.3 การสงวนรักษาสาระภูมิปัญญาหรือการสงวนรักษาเนื้อหาหรือสาระของ
สารสนเทศท้องถิ่น เป็นวิธีการรักษาเนื้อหาสาระที่บันทึกอยู่บนสารสนเทศท้องถิ่นให้อยู่ได้นานที่สุด
หรือไม่สามารถนาเนื้อหาหรือสาระที่บันทึกไว้ออกมาเพื่อให้นามาใช้ได้ เทคนิคและวิธีการสงวนรักษา
สาระภูมิปัญญาหรือการสงวนรักษาเนื้อหาหรือสาระของสารสนเทศท้องถิ่นที่นิยมใช้ คือ การย้าย
หรือถ่ายทอดเนื้อหาสาระที่มีอยู่มาบันทึกอยู่บนวัสดุชนิดใหม่
เทคนิคและวิธีการการย้ายหรือถ่ายทอดเนื้อหาสาระที่มีอยู่มาบันทึกอยู่บนวัสดุ
ชนิดใหม่ มีดังนี้
3.3.1 การถ่ายสาเนาเอกสาร โดยใช้เครื่องถ่ายเอกสาร คือ การนาเอกสาร
ต้นฉบับประเภทกระดาษมาทาสาเนาด้วยการใช้เครื่องถ่ายเอกสาร
3.3.2 การถ่ายสาเนาเป็นวัสดุย่อส่วน เป็นไมโครฟิล์ม เป็นการถ่ายภาพย่อส่วน
จากของจริงหรือเอกสารต้นฉบับให้บันทึกลงบนแผ่นฟิล์มและเมื่อต้องการอ่านต้องนามาเข้าเครื่อง
อ่านวัสดุย่อส่วน และสามารถทาสาเนาเป็นกระดาษได้เมื่อต้องการ
3.3.3 การแปลงรูปวัสดุสารสนเทศแอนาล็อกเป็นดิจิทัลโดยใช้เครื่องสแกนหรือ
กล้องถ่ายดิจิทัล หรือเครื่องมืออื่น ๆ เพื่อแปลงข้อมูลเป็นดิจิทัล แล้วบันทึกข้อมูลดิจิทัลลงบนสื่อ
บันทึกมูลเป็นซีดี ดีวีดี หรือสื่อเก็บข้อมูลแบบอื่นที่มีการพัฒนาเป็นสื่อเก็บข้อมูลใหม่ ๆ
3.3.4 การจัดพิมพ์ใหม่ ส่วนใหญ่เป็นการนาหนังสือเก่าที่เนื้อหายังมีคุณค่ามา
จัดพิมพ์ใหม่
วัตถุที่ใช้บันทึกเป็นสารสนเทศท้องถิ่น สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
อินทรียวัตถุ และอนินทรีย์วัตถุ (จิราภรณ์ อรัณยะนาค. 2555 : 9-10) ดังนี้
อินทรียวัตถุ หมายถึง วัสดุที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ
1. อินทรียวัตถุที่ได้จากพืช ได้แก่ ผ้าฝูาย ผ้าลินิน ผ้าปุาน ปอ ไม้ กระดาษ ใบลาน
เครื่องจักสาน เครื่องเขิน ยางไม้ ซึ่งวัตถุนี้มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสาคัญ
2. อินทรียวัตถุที่ได้จากสัตว์ ได้แก่ ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ หนังสัตว์ ขนสัตว์ เขาสัตว์ งา
กระดูก แผ่นเสียง วัตถุนี้มีโปรตีนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ
3. อินทรียวัตถุที่ได้จากการสังเคราะห์ ได้แก่ พลาสติก ยางสังเคราะห์ ฟิล์มถ่ายภาพ
ฟิล์มภาพยนตร์ ผ้าใยสังเคราะห์
อินทรียวัตถุเหล่านี้ไม่ค่อยคงทนต่อสภาพแวดล้อม เพราะมีโครงสร้างบอบบาง
ประกอบด้วยเซลล์เป็นส่วนใหญ่ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย นอกจากนี้อินทรียวัตถุยังเป็นอาหาร
ที่ดีของหนู แมลง และจุลินทรีย์ ทาให้อินทรียวัตถุมีแนวโน้มเกิดการชารุดเสียหายเร็วมาก จึงต้อง
มีความเอาใจใส่และดูแลรักษาเป็นอย่างดี
อนินทรียวัตถุ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. โลหะ และโลหะผสมต่าง ๆ ได้แก่ ทองคา เงิน ทองคาขาว เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง
ดีบุก สังกะสี สาริด ทองเหลือง และชิน
2. อโลหะ ได้แก่ หิน อิฐ ปูนปั้น เครื่องปั้นดินเผา เครื่องเคลือบ และแก้ว
อนินทรียวัตถุส่วนใหญ่มีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี ได้แก่
เครื่องปั้นดินเผาและแก้ว ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อได้รับความร้อน ความชื้น แสงสว่าง แต่เกิด
การแตกหักง่าย โลหะส่วนใหญ่แข็งแรง เหนียว ทนต่อแรงกดแรงดึงได้ดีมาก แต่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ได้ง่ายเมื่อทาปฏิกิริยากับความชื้น เกลือ ดิน ก๊าซต่าง ๆ ในบรรยากาศ ฝุุนละออง คราบสกปรก จึง
กลายเป็นสนิม แต่โลหะบางชนิดก็ไม่ค่อยเกิดสนิม เช่น ทองคา ทองคาขาว เป็นต้น โลหะบางชนิด
ไม่ค่อยแข็งแรง เช่น ทองคาบริสุทธิ์ ตะกั่ว มักจะหักงอ บุบ หรือมีรอยขูดขีดได้ง่าย เป็นต้น
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าวัตถุแต่ละชนิดต่างมีจุดอ่อนที่ต้องการการดูแลรักษา
เป็นอย่างดี ฉะนั้นผู้ทาหน้าที่ดูแลรักษาควรทาความเข้าใจกับคุณสมบัติและจุดอ่อนต่าง ๆ ของวัตถุ
เพื่อสามารถปูองกันการเสื่อมสภาพต่อไป
ปัจจัยสาคัญของการชารุดและสูญหายของสารสนเทศท้องถิ่น
ปัจจัยสาคัญของการชารุดเสียหายของวัสดุสารสนเทศทั้งสองประเภท (จิราภรณ์
อรัณยะนาค. 2555 : 15-34 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-13-11-15 ; สานักหอสมุดแห่งชาติ.
2551 : 8-9) ดังนี้
1. อุณหภูมิ อากาศและสภาวะแวดล้อม
อากาศร้อนและแห้งจะทาให้วัสดุบางประเภท เช่น กระดาษ หนังสือ และไม้
เสียหายด้วยลักษณะของการแห้งกรอบ เปราะ และแตกง่าย และบริเวณที่ความชื้นสัมพัทธ์สูงแสดง
ว่ามีความชื้นสูงจะทาให้วัสดุบางประเภทเกิดเชื้อราได้ ฝุุนละอองและอนุภาคที่แขวนลอยอยู่ใน
อากาศจานวนมาก ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นประเภทกระดาษเสื่อมสภาพได้ทั้งโดยทางตรงและ
ทางอ้อม ฝุุนละอองที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ทาให้เอกสารสึกกร่อนจากการขัดสี ครูดถู ฝุุนละอองที่มี
เขม่าหรือควันปะปนอยู่จะมียางเหนียว ๆ ที่ทาให้เกิดคราบเปื้อนสกปรก ขจัดออกง่าย และยังเป็น
แหล่งสะสมฝุุนละอองและสปอร์ราให้มาเกาะติดเพิ่มมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ยังมีก๊าซชนิดต่าง ๆ อยู่
มากในบรรยากาศ ก๊าซที่มีบทบาทสาคัญทาให้สารสนเทศท้องถิ่นชารุดเสื่อมสภาพ เช่น ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซโอโซน
ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และ
ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์จะรวมกับกับความชื้นแล้วกลายเป็นกรดคาร์บอนิก กรดซัลฟูริก และกรด
ไนตริก ตามลาดับ กรดเหล่านี้ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นผุเปื่อย อ่อนยุ่ย ก๊าซโอโซนเป็นตัวเติม
ออกซิเจนอย่างแรง ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นอ่อนแอและกรอบเปราะมากขึ้น
2. แสงสว่าง
แสงจากธรรมชาติและแสงไฟฟูา จะทาให้วัสดุสารสนเทศบางประเภทสีซีดจาง หรือ
มีการผุกร่อนเสื่อมสภาพ เป็นเหตุให้รับรังสีอุลตราไวโอเลต ความร้อนทาลายโครงสร้างของวัสดุ มี
การเปลี่ยนแปลงเสื่อมสภาพ อาทิ สารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้า กระดาษ หนังสัตว์ จะเสียหายได้
ง่ายหากถูกแสงทั้งแสงธรรมชาติ และแสงไฟฟูาเป็นเวลานานจะมีสีซีดจาง และกรอบเปราะ ขาด
ความแข็งแรง
3. แมลงและสัตว์อื่น ๆ
แมลงที่พบมากในห้องสมุด ได้แก่ ปลวก แมลงสาบ แมลงสามง่าม มอดหนังสือ มอด
ยาสูบ มอดเจาะไม้ มอดไม้ไผ่ มอดขี้ขุย ด้วงขนสัตว์ ผีเสื้อกลางคืน เหาหนังสือ นอกจากนี้ยังพบ
ไรซึ่งเป็นสัตว์ที่มีลักษณะใกล้เคียงแมลงแต่มีขา 8 ขา ใช้ปากกัดอินทรียวัตถุโดยเฉพาะสารสนเทศ
ท้องถิ่นประเภทกระดาษ ไม้ ผ้า เสียหายอย่างถาวร สัตว์อื่น ๆ อาทิ นก หนู และค้างคาว ต่างมี
บทบาทในการทาลายสารสนเทศท้องถิ่น ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม หนูมีฟันแหลมคมที่กัดทาลาย
กระดาษ ไม้ ผ้า แล้วทาให้ชารุดเสื่อมสภาพอย่างถาวร การทาลายส่วนใหญ่เกิดจากการค้นหาอาหาร
และนาวัสดุไปทารัง ทาให้เกิดรูโหว่หรือรอยขาดบนสารสนเทศท้องถิ่น และอาจขับถ่ายของเสียมา
ทาให้เกิดรอยเปื้อนกับสารสนเทศท้องถิ่นด้วย ไม่สามารถซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเดิมได้
4. จุลินทรีย์
จุลินทรีย์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก จุลินทรีย์มีบทบาทสาคัญในการชารุด
เสื่อมสภาพของวัตถุ ได้แก่ เชื้อรา สาหร่าย แบคทีเรีย ราบางชนิดไม่ทาให้เกิดการชารุดเสื่อมสภาพ
แต่ทาให้เกิดคราบเปื้อนที่ไม่น่าดู แต่ราหลายชนิดทาให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยการสร้าง
เอนไซม์ออกมาย่อยสลายอินทรีย์สารซึ่งเป็นองค์ประกอบของวัตถุ ทาให้วัตถุสูญเสียความเหนียว
ความแข็งแรง มีลักษณะกรอบ เปราะ หรือเปื่อยนุ่ม ฉีกขาดง่าย นอกจากนี้รายังทาให้เกิดคราบ
เปื้อนเป็นรอยด่างดวงสีต่าง ๆ บนวัตถุ ซึ่งไม่สามารถขจัดออกได้โดยง่าย
5. ไฟไหม้
ไฟไหม้ จะทาให้สารสนเทศท้องถิ่นไหม้ หรือเกิดควันไฟทาให้เกิดความเสียหายต่อ
สารสนเทศท้องถิ่น อาคารและ/พื้นที่เก็บรักษาสารสนเทศท้องถิ่นต้องมีการปูองกันไฟไหม้ก่อนให้เกิด
ไฟไหม้แล้วจึงหาทางแก้ไข การปูองไฟไหม้จะเริ่มต้นตั้งแต่การวางแผนก่อสร้างอาคารโดยใช้วัสดุที่ทน
ไฟ ออกแบบประตูหน้าต่างพื้นที่ต่าง ๆ ของอาคารที่เหมาะสมมีการติดตั้งระบบดับเพลิง เตรียม
สารเคมีสาหรับดับเพลง และแหล่งน้าที่จะใช้ในกรณีที่เกิดไฟไหม้ เลือกใช้ เฟอร์นิเจอร์ ม่าน และ
อุปกรณ์ตกแต่งอาคารที่เหมาะสมและทนไฟ มีมาตรการ อาทิ ห้ามสูบบุหรี่ในอาคาร และเมื่อเกิดไฟ
ไหม้ต้องมีการดับเพลิงอัตโนมัติ สัญญาณเตือนอัตโนมัติเมื่อเกิดความร้อนและควันไฟ
6. น้า และความชื้น
น้าและความชื้นเป็นเหตุสาคัญในการเสื่อมสภาพของวัตถุทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
หลายรูปแบบ ไอน้าและน้ามีบทบาทสาคัญที่ทาให้โลหะเป็นสนิม โดยทาปฏิกิริยากับโลหะแล้วทาให้
เกิดเกลือของโลหะ และสารสนเทศท้องถิ่นเปียกชื้น ทาให้ตัวอักษรเลอะเลือนอ่านไม่ได้ หรือทาให้
หมึกหรือสีหลุดออกได้ และเกิดความชื้น ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นมีเชื้อรา
7. ลม
ลมหรือพายุ ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นเสียหาย สึกกร่อนหรือแตกหักได้ การจัดเก็บ
สารสนเทศท้องถิ่นต้องมีการระมัดระวังในการเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม ไม่เก็บสารสนเทศท้องถิ่น ไว้
กลางแจ้งแต่ควรเก็บในอาคารที่มีหลังคา
8. มนุษย์
มนุษย์ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นสูญหายเกิดจากขาดจิตสานึกตระหนักถึงคุณค่าของ
เอกสาร ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการระมัดระวัง ขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลรักษาขั้นพื้นฐาน
เช่น การหยิบจับสารสนเทศท้องถิ่นที่ไม่ถูกต้องอย่างไม่ระมัดระวังทาให้เอกสารฉีกขาดหรือยับย่นได้
เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการชารุดเสียหาย การใช้มือที่สกปรกแตะต้องสัมผัสสารสนเทศท้องถิ่นอาจทา
ให้เกิดรอยด่าง การจับผิวหน้าของสารสนเทศท้องถิ่นบางชนิดอาจทาให้เป็นรอยและ/หรืออาจลบ
ข้อมูลที่บันทึกอยู่บนผิวหน้าของสารสนเทศท้องถิ่นชิ้นนั้นได้
9. เกลือ
เกลือ หมายถึง สารเคมีที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดกับด่าง เกลือพบมากใน
ธรรมชาติ ทั้งในดิน น้า อากาศ วัตถุต่าง ๆ และในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เกลือมีบทบาทใน
กระบวนการเสื่อมสภาพของวัตถุ เนื่องจากเกลือเป็นสารเคมีที่พร้อมจะทาปฏิกิริยาอยู่ตลอดเวลา
หากมีน้าหรือความชื้นร่วมอยู่ด้วยปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็วยิ่งขึ้น
สรุปได้ว่า วัตถุเกิดจากการชารุดเสื่อมสภาพได้มาจากปัจจัยต่าง ๆ หลายสาเหตุ วิธีการ
สงวนรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ การปูองกันการชารุดเสื่อมสภาพโดยมีการจัดเก็บวัตถุด้วย
วิธีการที่ถูกต้องตามหลักการและเทคนิคการสงวนรักษา
เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น
การสงวนรักษาวัสดุสารสนเทศแต่ละประเภท และแต่ละชนิดมีเทคนิคและวิธีการสงวน
รักษาแตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแอนาล็อก และ
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อดิจิทัล (สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-18-11-
22) ดังนี้
1. เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแอนาล็อก
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแอนาล็อก ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ หิน ศิลา
โลหะ ไม้ ผ้า ภาพถ่าย ภาพเขียน มีเทคนิค ดังนี้
1.1 เทคนิคการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นการ
บันทึกสารสนเทศท้องถิ่น คือ กระดาษ โดยมนุษย์มีการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น ดังนี้
1.1.1 การปูองกันทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อยืดอายุการใช้งาน มีดังนี้
1.1.1.1 การบรรจุสารสนเทศท้องถิ่นในวัสดุจัดเก็บที่เหมาะสม เช่น ใช้
ซอง แฟูม กล่องหรือวัสดุจัดเก็บที่เหมาะสมเพื่อปูองกันฝุุน แมลงและสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสารสนเทศ
ท้องถิ่นนั้น ๆ
1.1.1.2 การลดกรด เป็นการดาเนินการโดยอาศัยสารเคมีเพื่อให้กรดที่
มีอยู่ในวัสดุสารสนเทศแต่ละชิ้นละลายหรือเจือจางลง อันจะได้ทาให้วัสดุไม่ชารุดได้ง่ายเนื่องจากกรด
จะเป็นตัวเร่งการผุพังเมื่อทาปฏิกิริยากับอากาศ วิธีการลดกรดนี้มีหลายเทคนิคที่มีความแตกต่างกัน
เช่น สารเคมีที่ใช้ ระยะเวลาในการอบ
1.1.1.3 การอบ เป็นการควบคุมตัวแมลง สัตว์และจุลชีวิตที่จะทาลาย
วัสดุสารสนเทศด้วยเทคนิคการอบในห้องหรือตู้ทึบโดยอาจใช้สารเคมี หรือสุญญากาศเพื่อทาลายตัว
แมลง สัตว์และจุลชีวะดังกล่าวและต้องดาเนินการ โดยผู้มีความเชี่ยวชาญหรือผ่านการฝึกอบรม
1.1.1.4 การทาสาเนาสารสนเทศเพื่อใช้งานแทนต้นฉบับ การทาสาเนา
โดยการถ่ายสาเนา การถ่ายย่อส่วน และการแปลงรูปวัสดุสารสนเทศแอนาล็อกเป็นดิจิทัล
1.1.2 การซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ที่ชารุดเสียหาย มีเทคนิค
ในการซ่อม ดังนี้
1.1.2.1 การเข้าเล่ม เป็นการทาให้กระดาษแต่ละแผ่นของหนังสือให้อยู่
รวมกันเป็นเล่ม ด้วยเทคนิคการเข้าเล่มต่าง ๆ
1.1.2.2 การเคลือบ เป็นการนาวัสดุใสมาผนึกติดกระดาษแต่ละแผ่น
เพื่อเสริมความแข็งแรงและคงทนยิ่งขึ้น หากใช้วิธีนี้จะไม่สามารถดึงวัสดุใสที่ผนึกติดกระดาษออกมา
ได้
1.1.2.3 การห่อหุ้ม คือ การห่อหุ้มด้วยกระดาษแต่ละแผ่นด้วยซองใสที่
ทาจากวัสดุประเภทไมลาร์ (Mylar) เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและคงทนให้กระดาษแต่ละแผ่น และหาก
ดึงวัสดุที่ห่อหุ้มออกจากกระดาษแต่ละแผ่นเอกสารจะกลับคืนสู่สภาพเดิม
1.2 การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากหินและศิลา เป็นวัสดุที่ใช้
ในการบันทึกข้อมูลมาแต่อดีต ที่เรียกว่า ศิลาจารึก ปัจจุบันไม่นิยมใช้ศิลาในการบันทึกข้อมูลแล้ว
แต่สารสนเทศท้องถิ่นประเภทศิลาจารึกยังคงมีอยู่ในแต่ละชุมชน และหลายหน่วยงานยังคงเก็บและ
รักษาศิลาจารึกไว้ในท้องถิ่น การเสียหายของศิลาหรือหินมักเกิดจากการจัดเก็บไว้ในที่ที่เหมาะสมทา
ให้ศิลาจารึกเสียหายจากการถูกน้าที่มีสารละลายของเกลือทาให้เป็นโพรงข้างใน มีคราบด่างขาว
และการผุกร่อนเป็นผงฝุุน ทาให้สามารถแตกหักได้ตามกาลเวลา โดยมีเทคนิคง่าย ๆ ในการสงวน
รักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภทศิลาจารึก คือ
1.2.1 การจัดเก็บตัวจารึก จัดเก็บศิลาจารึกในอาคารที่มีหลังคา จัดวางเรียง
ศิลาแต่ละชิ้นให้ห่างกันประมาณ 1.00-1.50 เมตร จัดทาปูายชื่อศิลาจารึก และหากศิลาจารึกเป็น
แท่งหรือแผ่นควรจัดทาฐานที่ผิวหน้าเรียบไว้รองรับศิลาด้วย
1.2.2 การทาความสะอาดศิลาจารึก ให้ใช้กระดาษเปียกน้าห่อวัตถุนั้น ปล่อย
ทิ้งให้แห้งแล้วแกะกระดาษออกเพื่อให้คราบเกลือหลุดออกมา หากคราบเกลือยังออกไม่หมดให้ทาซ้า
ด้วยวิธีการเดิม หากวัตถุนั้นเปื้อนฝุุน มีครบสกปรกและรอยด่างล้างด้วยน้าสบู่และขัดด้วยแปรงด้วย
ความระมัดระวัง กรณีที่จารึกเปื้อนคราบไขมัน น้ามัน สีหรือขี้ผึ้งอาจใช้สารละลายที่เหมาะสม
1.2.3 การเคลื่อนย้ายจารึก หากต้องเคลื่อนย้ายศิลาจารึกต้องเคลื่อนย้ายให้ถูก
วิธีและกระทาด้วยความระมัดระวัง
1.2.4 ทุกคนร่วมมือกันในการดูแลรักษาและตระหนักถึงคุณค่าของศิลาจารึกที่
มีต่อมนุษยชาติ สังคมและประเทศชาติ
1.3 การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากโลหะ สารสนเทศท้องถิ่น
ที่บันทึกลงบนโลหะ (Metals) ประเภททอง เงิน ทองแดง เหล็ก ตะกั่ว และอัลลอย ซึ่งการชารุด
เสียหายของวัสดุโลหะ คือ ผุพัง เป็นสนิม เปื้อน มีคราบสีเขียวสีฟูา เกาะติด และขาดตามกาลเวลา
และสภาวะแวดล้อม เทคนิคและวิธีการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทโลหะแต่ละประเภท
ดังนี้
1.3.1 สารสนเทศท้องถิ่นที่บันทึกด้วยแผ่นทอง มีวิธีการสงวนรักษา ดังนี้
1.3.1.1 การทาความสะอาดทอง หากทองสกปรกให้ล้างด้วยน้าหรือน้า
สบู่ หากทองสกปรกเนื่องจากเก็บไว้เป็นเวลานานอาจใช้สารละลายที่เรียกว่า รีทาหรือ โสโพนิน
(Reetha or soponin) โดยใส่ทองแช่ไว้แล้วนามาขัดเช็ดด้วยผ้านุ่ม
1.3.1.2 การซ่อมทองที่ขาด หากทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภท
แผ่นทองขาดให้ใช้การเชื่อมและตัดส่วนที่บิดงอโดยช่างที่มีความชานาญ
1.3.1.3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศประเภทแผ่นทอง แผ่นทองควร
เก็บด้วยการห่อแต่ละชิ้นด้วยกระดาษนิ่มและเก็บในกล่อง ๆ ละชิ้น
1.3.2 สารสนเทศท้องถิ่นประเภทแผ่นเงิน เงินเป็นโลหะชนิดหนึ่งที่มีความคงทน
แต่สภาวะแวดล้อมบางอย่างอาจทาให้เงินชารุดเสียหายได้ ตามลักษณะทางธรรมชาติเงินมักทา
ปฏิกิริยาได้ดีกับคลอไรด์ (Chloride) และซัลไฟด์ (Sulphides) ทาให้เกิดเกลือเงิน หากเกลือเงินเป็น
ซิลเวอร์คลอไรด์ (Silver chloride) จะทาให้เงินกลายเป็นสีเทาหรือสีขาว หากเกลือเงินเป็น ซิลเวอร์
ซัลไฟด์ (Silver sulphide) จะทาให้เงินเป็นสีดา การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่เป็นแผ่นเงิน
คือ ทาความสะอาดแผ่นเงินโดยล้างด้วยสารสะสาย เช่น ซิลโว (Silvo) หรือ ซิลเวอร์ดิพ (Silver
Dip) หรือใช้ผงขัดเงินซึ่งจาหน่ายทั่วไป จัดเก็บแผ่นเงินโดยห่อด้วยกระดาษนิ่มหลาย ๆ ชั้น และเก็บ
ใส่ถุงที่ทาจากโพลีทีน (Polythene) ปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้แผ่นเงินสัมผัสกับวัสดุที่ทาให้ชารุด
1.3.3 สารสนเทศท้องถิ่นประเภทแผ่นทองแดง หรือทองสัมฤทธิ์ โลหะประเภท
ทองแดงและผุพังได้ ง่ายเมื่อเก็บไว้นานหรือนาไปฝังในดิน เนื่องจากทาปฏิกิริยากับเกลือ และเกิด
คลอไรด์ (Chloride) ทาให้ทองแดงกร่อนและผุพังไปเรื่อย ๆ จนเกิด “Bronze disease” ดังนั้นการ
สงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแผ่นทองแดงจึงเน้นการจัดเก็บทองแดงให้ถูกวิธี เช่น ห่อวัสดุ
ประเภทแผ่นทองแดงให้มิดชิดและไม่เก็บไว้บริเวณที่มีความชื้นสูงและควรใส่ซิลิก้าเจลไว้ในบริเวณที่
เก็บทองแดงด้วย
1.3.4 สารสนเทศท้องถิ่นประเภทเหล็กและเหล็กกล้า โลหะประเภทเหล็ก
(Iron) และเหล็กกล้า (Steel) เป็นสนิมง่ายเมื่อมีความชื้น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภท
เหล็กกล้าต้องเริ่มตั้งแต่การจัดทาหากใช้เหล็กและเหล็กกล้าต้องดาเนินการในห้องปฏิบัติการ และนา
เหล็กและเหล็กกล้ามาชุบหรือจุ่มในขี้ผึ้ง (Wax) เพื่อเคลือบให้มีคงทนก่อน และการเก็บสารสนเทศ
ประเภทเหล็กกล้าต้องห่อให้มิดชิดด้วยผ้า
1.4 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากไม้ เป็นวัสดุที่ผุพังได้ง่าย การเสียหาย
ของไม้ที่เกิดขึ้นเป็นปกติ คือ การยืดและหดตัวของไม้ตามสภาวะอากาศซึ่งเป็นลักษณะทางธรรมชาติ
ของไม้ และความเสียหายของไม้เกิดขึ้นได้เมื่อมีความแห้งมากไม้จะแห้งและแตกหรือแยกได้ง่าย
หากอากาศชื้นเชื้อราและตะไคร่จะเกาะไม้และทาให้ไม้เปื่อยยุ่ยได้ นอกจากนี้แมลงก็เป็นศัตรูที่สาคัญ
ที่ทาความเสียหายแก่ไม้ การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากไม้ต้องรักษาไม้ด้วยการอบไม้ใน
ห้องอบ เทคนิคที่นิยมใช้ในการรักษาไม้ คือ การนามาแช่แข็งแล้วดูดน้าออกด้วยระบบสุญญากาศจน
ไม้แห้ง หรือนาไม้แช่ในสารละลายของ โพลีเอ็ทลีน-กลีคัล เพื่อให้สารละลายซึมเข้าไปในเนื้อไม้ การ
ทาความสะอาดสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากไม้โดยใช้แปลงขนนุ่มปัด และจัดเก็บสารสนเทศท้องถิ่นที่
ทาจากไม้ด้วยการห่อด้วยแผ่นพลีทีน (Polythene) และเก็บแต่ละชิ้นไว้ในกล่องไม้ รวมทั้งต้องมีการ
กาจัดแมลงในพื้นที่ที่เก็บสารสนเทศที่ทาจากไม้อย่างสม่าเสมอ
1.5 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้า เป็นวัสดุอีกชนิดหนึ่งที่ผุพังและ
เสียหายได้ง่าย ผ้าอาจทาจากใยธรรมชาติหรือใยประดิษฐ์ผ้าอาจทามาจากพืช สัตว์ และแมลง เช่น
ผ้าฝูาย ผ้าขนสัตว์ ผ้าไหม้ ผ้าไนร่อน ผ้าโพลีเอสเตอร์ ความเสียหายของผ้าอาจเกิดจากแสง ทาให้สี
ซีดจาง เชื้อราเกาะผ้าหนาทาให้เกิดรอยด่างและทาให้เปื่อยยุ่ย แมลง เช่น มอด ผึ้ง ทาความเสียหาย
แก่ผ้าได้ รวมทั้งการพับผ้าให้เป็นรอยพับก็ทาให้ผ้าเสียหายได้ อาหารและเครื่องดื่มทาให้ผ้าเปื้อนเป็น
รอยด่างได้ โลหะ ได้แก่ คลิปและเข็มหมุดทาให้ผ้าเป็นสนิมและผุพังได้ ดังนั้น การสงวนรักษา
ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้า ได้แก่ เสริมความแข็งแรงของวัสดุด้วยการใช้แผ่นผ้าเสริม
จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้าด้วยการแขวนหรือวางราบหรือม้วนแต่ละชิ้นแทน
การพับ ระมัดระวังไม่ให้ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภทผ้าถูกแสงมากเกินไป และจัดเก็บไว้ใน
ห้องที่มีอากาศแห้ง และมีการตรวจสอบรวมทั้งการกาจัดแมลงในบริเวณที่เก็บผ้าอย่างสม่าเสมอ
1.6 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทภาพเขียนและภาพวาด การเขียนและ
ภาพวาด (Drawing and painting) มีหลากหลายชนิดทั้ง กระดาษ ผ้า ไม้ และภาพวาด แต่ละภาพ
มีส่วนประกอบหลายส่วน เช่น วัสดุที่บันทึกภาพ สี ขี้ผึ้ง สีน้ามัน แปูง และวัสดุอื่น ๆ เป็นต้น อาทิ
ผ้า กระดาษ ไม้ ดังนั้น การเสียหายของภาพวาดจึงหมายถึงการชารุดหรือเสียหายของส่วนประกอบ
ส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนภาพวาดที่ใช้ไม้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและมีผิวหน้าเว้า ๆ นูน จะมี
โอกาสเสียหายได้จากการที่สีอาจหลุดลอกออกมาบางส่วน ภาพวาดที่ทาจากไม้อาจถูกแมลง อาทิ
ปลวก และแมลงสาบทาให้เสียหายได้ แสงจ้าทาให้ภาพวาดที่เป็นกระดาษสีซีดจาง และสภาวะ
แวดล้อม อาทิ ฝุุนและสารพิษจากสิ่งแวดล้อมจะทาลายภาพวาด ดังนั้น การสงวนรักษาสารสนเทศ
ท้องถิ่นประเภทภาพวาดจึงมีความซับซ้อนและมีวิธีการเฉพาะตามบริบท อาทิ ภาพวาดที่เป็น
กระดาษควรจัดเก็บโดยการใส่กรอบ และอาจถ่ายรูปภาพวาดหรือถ่ายแผ่นใสเพื่อนามาใช้แทนอันจะ
ลดการหยิบจับภาพวาดต้นฉบับ การเคลื่อนย้ายภาพวาดที่มีขนาดใหญ่ต้องใส่รถเข็นและมีฐานรอง
การจัดเก็บภาพวาดที่เป็นผ้าควรเก็บด้วยการขึงมุมให้ตึงและไม่ควรใช้ตะปูยึดกรอบภาพเนื่องจาก
อาจเป็นสนิมและทาความเสียหายแก่ภาพได้การเก็บภาพวาดที่ใช้สีไม่ควรม้วน แต่หากจาเป็นต้อง
ม้วนให้ม้วนส่วนหน้าออกด้านนอก ควรจัดเก็บภาพวาดในแนวตั้งโดยการแขวนในช่องที่แบ่งเป็น
ช่อง ๆ โดยไม่ให้แต่ละแผ่นของภาพวาดกระทบกัน หรือม้วนภาพแต่ละภาพเก็บไว้ในแต่ละกล่องและ
เก็บกล่องภาพในลิ้นชักไม้
1.7 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทถ่ายภาพ มีทั้งเป็นภาพเนกาทีฟ
โพสต์สิทีพ และสไลด์ การเสียหายที่เกิดแก่ภาพมาจากหลายสาเหตุ อาทิ เกิดจากกระบวนการอัด
ล้างซึ่งใช้สารเคมีชนิดต่าง ๆ เทคนิคและวิธีการอัดล้างที่แตกต่างกัน ภาพถ่ายที่เป็นแก้วอาจแตกได้
ง่าย ภาพที่เป็นพลาสติกอาจโก่งงอได้ ภาพที่เป็นกระดาษจะกรอบและเปราะ และภาพที่อยู่บน
ผิวหน้ากระดาษอาจถูกขูดขีด หรือมีรอยด่างของเชื้อราได้ นอกจากนี้การเสียหายอาจเกิดจากแต่ละ
ชั้นของภาพถ่ายปริแยกออกจากกัน สภาวะแวดล้อมก็เป็นสาเหตุให้ภาพถ่ายเปลี่ยนสี หรือสีซีดจาง
ได้ อุณหภูมิและความชื้นสัมพันธ์ก็เป็นสาเหตุที่ทาให้ภาพถ่ายเสียหาย ดังนั้น การสงวนรักษา
สารสนเทศท้องถิ่นประเภทภาพถ่ายอย่างง่าย ๆ มีดังนี้ ไม่หยิบจับภาพถ่ายที่ผิวหน้าของกระดาษ
ควรสวมถุงมือเมื่อจะหยิบจับภาพถ่าย การจัดเก็บภาพไม่ควรเก็บภาพถ่ายมารวมกันในห่อเดียวกัน
แต่ควรเก็บภาพถ่ายแต่ละภาพโดยแยกเก็บในซองแต่ละซองหรือใส่ภาพในอัลบั้มที่ทาจากวัสดุที่มี
คุณภาพ มีการทาความสะอาดภาพถ่ายเก่าด้วยแปรงขนอ่อน และหากภาพถ่ายเปียกชื้นควรผึ่งให้
แห้งด้วยการใช้แผ่นกระซับ หากต้องการใส่กรอบให้นาภาพถ่ายใส่กรอบกระจกโดยไม่ให้กระจกแตะ
บนผิวหน้าของภาพถ่าย ต้องให้มีช่องว่างระหว่างกระจกและผิวหน้าภาพถ่ายด้วย
2. เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อดิจิทัล
เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อดิจิทัล ได้แก่ การสงวนรักษา
สื่อ การสงวนรักษาเทคโนโลยี และการสงวนรักษาสาระภูมิปัญญา (สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-
23-11-25) ดังนี้
2.1 การสงวนรักษาสื่อ เป็นการสงวนรักษาอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลดิจิทัลด้านกายภาพ
สื่อหรือวัสดุที่ใช้บันทึกสารสนเทศดิจิทัลสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ แมกเนติก และออปติคัล
ดิสก์
2.1.1 สื่อแมกเนติก (Magnatie media) เป็นสื่อที่ใช้กลไกทางอิเล็กทรอนิกส์
ในการบันทึกข้อมูล สื่อแมกเนติก ประกอบด้วย 3 ชั้นหลัก คือ 1) ชั้นผิวหน้าสาหรับเป็นรองรับการ
บันทึก เป็นชั้นที่สามารถกลายเป็นแม่เหล็กเมื่อวางในสนามแม่เหล็ก 2) ชั้นฐาน เป็นส่วนฐานที่ทา
หน้าที่รับสารสนเทศซึ่งอาจเคลือบด้วยฟิล์มโพลิเอสเตอร์ เซรามิก หรือส่วนผสมของแก้ว 3) ชั้นเชื่อม
ยึด เป็นชั้นที่ทาหน้าที่ยึดชั้นผิวหน้า ให้อยู่ติดกับชั้นฐาน สื่อแมกเนติกนี้แบ่งย่อยได้อีก 2 ประเภท
คือ ดิสก์และเทป และแต่ละประเภทยังจาแนกย่อยได้อีกหลายชนิดและหลายขนาด
2.1.2 สื่อออปติก (Optical media) เป็นสื่อที่ใช้กลไกทางแสงเลเซอร์ในการ
บันทึกและอ่านข้อมูลลงบนผิวหน้าของแผ่นบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลลงบนสื่อออปติกมี
หลากหลายวิธีที่ให้สื่อออปติกมีคุณสมบัติและคุณภาพแตกต่างกัน สาหรับลักษณะทางกายภาพของ
สื่อออปติกซึ่งเป็นสื่อที่เคลือบผิวด้วยโลหะ หรือแก้ว หรือพลาสติก มีขนาดต่าง ๆ สาหรับสื่อออปติก
ที่รู้จักและใช้อย่างกว้างขวาง คือ ซีดีรอม เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่อ่านได้แต่บันทึกไม่ได้ และซีดีอาร์ ซึ่ง
ผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นได้ด้วยตนเองเพียง 1 ครั้งโดยแก้ไขไม่ได้ และซีดีอาร์ดับเบอร์ยู
ซึ่งผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลได้ด้วยตนเองและแก้ไขได้ตลอดเวลาที่ต้องการ
การสงวนรักษาสื่อจึงเน้นการเก็บรักษาอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ดิกส์ เทป ซีดี
ดีวีดี อุปกรณ์เก็บข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ตั้งแต่การเลือกใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลให้เหมาะสม การหยิบจับ
และใช้งานอย่างถูกวิธีและการจัดเก็บวัสดุในวัสดุจัดเก็บที่เหมาะสม
2.2 การสงวนรักษาเทคโนโลยี การใช้งานสารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลต้องอาศัยทั้ง
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ถูกต้อง แต่เนื่องจากเทคโนโลยีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมทั้งสื่อเก็บ
ข้อมูลมีการพัฒนาและเปลี่ยนใหม่อย่างรวดเร็ว การสงวนรักษาเทคโนโลยีเพื่อให้สามารถใช้งาน
สารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลทั้งเก่าและใหม่ได้จึงต้องมีเทคนิควิธีการต่าง ๆ อาทิ การเก็บรักษาฮาร์ดแวร์
และ/หรือซอฟต์แวร์รุ่นเก่าในลักษณะของพิพิธภัณฑ์ การใช้เทคนิคและวิธีการที่ทาให้เทคโนโลยีรุ่น
ใหม่สามารถอ่านและแสดงข้อมูลที่บันทึกด้วยเทคโนโลยีรุ่นเก่าออกมาใช้งานได้ และการหาวิธีการ
ดูแลรักษาสื่อที่บันทึกสารสนเทศดิจิทัลให้ใช้งานได้อยู่เสมอไม่ว่าเทคโนโลยีจะเปลี่ยนแปลงไป
2.3 การสงวนรักษาสาระภูมิปัญญา การสงวนรักษาเนื้อหาหรือภูมิปัญญาของ
สารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลต้องตระหนักถึงคุณลักษณะที่สาคัญของสารสนเทศดิจิทัล คือ ไม่อยู่นิ่งมีการ
เคลื่อนไหวได้ เชื่อมโยงและปฏิสัมพันธ์ได้ จึงต้องมีการสงวนรักษาทั้งความสมบูรณ์เชิงเนื้อหา และ
ความแท้จริงของเนื้อหา
การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลจึงมีวิธีต่าง ๆ ดังนี้
2.3.1 การจัดทาข้อมูลให้เป็นอนาล็อก ได้แก่ พิมพ์เป็นเอกสารประเภทกระดาษ
หรือเป็นวัสดุย่อส่วนประเภทไมโครฟิล์มเพื่อจัดพร้อมจัดทาข้อมูลที่เกี่ยวกับสารสนเทศนั้น ๆ เพื่อให้
เข้าถึงได้
2.3.2 การกาหนดนโยบายสารสนเทศ โดยกาหนดเป็น กฎ ระเบียบ มาตรฐาน
และแนวปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อให้บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติหรือใช้เป็นแนวทางในการ
ดาเนินงาน
2.3.3 การรักษาเทคโนโลยีหรือฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแสดงผลให้
สามารถอ่าน ดูหรือฟังสารสนเทศได้ รวมถึงการเก็บรักษาเอกสารคู่มือการใช้และอุปกรณ์บางชิ้น
สาหรับซ่อมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในลักษณะพิพิธภัณฑ์
2.3.4 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลด้วยเทคนิคต่าง ๆ (ปัทมาพร
เย็นบารุง. 2556 : 11-42-11-43 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-25) ดังนี้
2.3.4.1 คอนเวอร์ชัน (Conversion) คือ การนาแฟูมข้อมูลดิจิทัลมา
บันทึกใหม่เมื่อมีการเปลี่ยนระบบใหม่ เช่น เปลี่ยนจากข้อมูลที่บันทึกด้วยโปรแกรมจากเวิร์ด
เปอร์เฟ็ค (WordPerfect) เป็นไมโครซอฟต์ (Microsoft word)
2.3.4.2 ไมเกรชัน (Migration) คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการโอนย้าย
แฟูมข้อมูลดิจิทัลจากฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ระบบหนึ่งไปยังฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์อีกระบบหนึ่ง
และยังเป็นการแก้ไขปัญหาความล้าสมัยย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การ
ดาเนินการดังกล่าวใช้แรงงานและเวลามาก และเสียค่าใช้จ่ายมาก อีกทั้งยังมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด
ได้ง่าย จึงควรดาเนินการด้วยความรอบคอบ
2.3.4.3 อิมูเลชัน (Emulation) คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจาลองระบบ
คอมพิวเตอร์ชุดหนึ่งให้มีความคล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์อีกชุดหนึ่ง เพื่อให้กระบวนการต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องว่าอุปกรณ์หรือฟังก์ชันการทางานของระบบเดิมยังใช้งานได้เหมือนเดิม หรือเป็น
เทคโนโลยีที่ใช้ในการจาลองหรือเลียนแบบแพลตฟอร์มเดิม อิมูเลชันเป็นเทคโนโลยีที่จาเป็นในการ
สงวนรักษาฟังก์ชันการทางานและการเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัล และเป็นทางเลือกที่ดีทางหนึ่งในการ
เข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลในอนาคต (National Library of Australia. Online. 2012)
2.3.4.4 เอ็นแคปซูเลชัน (Encapsulation) คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการ
รวมกลุ่มระหว่างสารสนเทศดิจิทัลหนึ่งรายการซึ่งอยู่ในรูปวัตถุสารสนเทศดิจิทัล เพื่อให้สามารถ
เข้าถึงสารสนเทศนั้นได้ในอนาคต (National Library of Australia. Online. 2012) เทคโนโลยี
เอ็นแคปซูเลชัน มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาด้านความล้าสมัยของเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และ/หรือ
ซอฟต์แวร์ โดยคงรูปแบบแฟูมข้อมูลไม่เปลี่ยนแปลง ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีเอ็นแคปซูเลชันไปใช้
ร่วมกับเทคโนโลยีอิมูเลชัน
3. กระบวนการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล
กระบวนการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล มี
หลายวิธี (ดาวนภา สุยะนนท์ และคณะ. 2549 : 149) ดังนี้
3.1 การสแกนเอกสารเป็นภาพ
3.2 การสแกนไมโครฟิล์ม
3.3 การบันทึกภาพและเสียง Vibeo/Audio ลงสื่อดิจิทัล
3.4 การสแกนภาพถ่าย
3.5 การพิมพ์สารบัญต้นฉบับใหม่
3.6 การสแกนสารบัญต้นฉบับด้วยระบบ OCR (Optical Character Recognition)
3.7 การสร้างตัวชี้แหล่งสารบัญรายการต่าง ๆ
3.8 ภาพถ่ายดิจิทัล
4. รูปแบบการสงวนรักษาสารสนเทศสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล
การสงวนรักษาสารสนเทศสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล มีหลายรูปแบบ (ดาวนภา
สุยะนนท์ และคณะ. 2549 : 149-150) ดังนี้
4.1 ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disc Read Only Memory) คือ เป็นอุปกรณ์
จัดเก็บข้อมูลแบบดิจิทัล สามารถบันทึกข้อมูลได้มากถึง 650-800 MB เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูล
ประเภทมัลติมีเดีย ทาจากแผ่นพลาสติกทรงกลมเคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต แผ่นซีดีเมื่อเขียน
ข้อมูลแล้ว 1 ครั้ง จะไม่สามารถลบหรือเขียนทับได้ จึงเรียกว่า CD-R ส่วนซีดีอีกชนิดที่สามารถลบ
หรือเขียนข้อมูลซ้าได้หลายครั้ง เรียกว่า CD-RW การส่งข้อมูลออก หรือรับคาสั่งสามารถดาเนินการ
ได้โดยตรง ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกับเครื่องอ่าน ซีดี-รอม โดยใช้ชุดคาสั่งสาเร็จรูป
ซึ่งไม่ต้องผ่านการสื่อสารโทรคมนาคม
4.2 แผ่นวิดีทัศน์ หรือวีซีดี (VCD : Video Compact Disc) คือ จานบันทึกที่
สามารถบันทึกข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งต้องอ่านด้วยแสงเลเซอร์
และมีการแสดงผลบนจอของคอมพิวเตอร์ หรือจอโทรทัศน์ ทั้งนี้มีลักษณะทางกายภาพเหมือน
ซีดีรอมทั่วไป
4.3 แผ่นดิจิทัลอเนกประสงค์ หรือดีวีดี (DVD : Digital Video Disc) เป็นแผ่น
บันทึกข้อมูลเหมือนกับวีซีดี ทั้งนี้จะมีความต่างจากวีซีดีเพียงแค่ขนาดความจุของข้อมูล คือ สามารถ
บันทึกข้อมูลได้มากถึง 8 เท่าของแผ่นซีดี หรือซีดีทั่วไป คือ จุได้ถึง 4.7 GB (กิกะไบต์) และความ
ซับซ้อนการจัดเรียงข้อมูลภายในเท่านั้น ส่วนวิธีการเขียน และการอ่านข้อมูลต่างมีลักษณะเหมือนกัน
คือใช้แสงเลเซอร์
4.4 ฐานข้อมูล (Database) คือ แหล่งสารสนเทศที่มีการจัดเก็บไว้ในรูปแบบของ
อิเล็กทรอนิกส์โดยอาศัยระบบจัดการฐานข้อมูล และระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ทาให้การ
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57
อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57

More Related Content

What's hot

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศO Phar O Amm
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 

What's hot (20)

เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
วัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศวัสดุสารนิเทศ
วัสดุสารนิเทศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นบทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น
 

More from นางสาวอัมพร แสงมณี

More from นางสาวอัมพร แสงมณี (20)

คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9คำถามท้ายบทบทที่ 9
คำถามท้ายบทบทที่ 9
 
คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8คำถามท้ายบทบทที่ 8
คำถามท้ายบทบทที่ 8
 
คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7คำถามท้ายบทบทที่ 7
คำถามท้ายบทบทที่ 7
 
คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6คำถามท้ายบทบทที่ 6
คำถามท้ายบทบทที่ 6
 
คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5คำถามท้ายบทบทที่ 5
คำถามท้ายบทบทที่ 5
 
คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4คำถามท้ายบทบทที่ 4
คำถามท้ายบทบทที่ 4
 
คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3คำถามท้ายบทบทที่ 3
คำถามท้ายบทบทที่ 3
 
คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2คำถามท้ายบทบทที่ 2
คำถามท้ายบทบทที่ 2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 9
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7แผนบริหารการสอนประจำบทที่  7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 7
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4แผนบริหารการสอนประจำบทที่  4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 

อ.วนิดา บทที่-8-ตำราสารสนเทศท้องถิ่น-19-aug-57

  • 1. บทที่ 8 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น เป็นการปูองกัน การซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพ กายภาพ และการสงวนรักษาสารสนเทศภูมิปัญญา เพื่อให้สารสนเทศท้องถิ่นอยู่ในสภาพใช้งานได้ มีความคงทน ไม่ชารุดและไม่สูญหาย การสงวนรักษาวัดสุสารสนเทศแต่ละประเภท แต่ละชนิดมี เทคนิคและวิธีการสงวนรักษาที่แตกต่างกัน โดยมีปัจจัยสาคัญในการสนับสนุน มีการใช้วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการจัดเก็บและซ่อมแซมสารสนเทศท้องถิ่น มีเทคนิคและขั้นตอนในการ สงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น แนวคิดการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นมีแนวคิดที่สาคัญ คือ ความหมายของการสงวนรักษา สารสนเทศท้องถิ่น ความสาคัญของการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น ความหมายของการสงวน รักษาสารสนเทศท้องถิ่น และหลักการในการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น มีรายละเอียดดังนี้ 1. ความหมายของการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นในที่นี้เน้นการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่มี การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสาคัญ สาหรับการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ไม่ได้บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น การแสดง ประเพณี พิธีกรรม รวมถึงสื่อบุคคลจะไม่กล่าวถึงในบทนี้ เนื่องจากการสงวนรักษาสารสนเทศ ท้องถิ่นดังกล่าวมีความซับซ้อน มีเทคนิควิธีการสงวนรักษาตามลักษณะของสารสนเทศแต่ละประเภท ซึ่งมีนักการศึกษาให้ความหมายไว้ดังนี้ ดาวนภา สุยะนนท์ และคณะ (2549 : 147) กล่าวว่า การสงวนรักษาทรัพยากร สารสนเทศ หมายถึง การนาทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทมาจัดการด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่ เหมาะสม อาทิ การถ่ายภาพดิจิทัล การสแกนหน้าเอกสาร และมีการจัดเก็บเป็นไฟล์ในรูปแบบอื่น ๆ ตามการจัดการของเทคโนโลยีที่นามาจัดทา เพื่อปูองกันทรัพยากรสารสนเทศมิให้ชารุดเสียหายได้ สมสรวง พฤติกุล (2554 : 11-5) กล่าวถึง การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ ท้องถิ่น หมายถึง การบริหารจัดการและการปฏิบัติด้วยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อปูองกันสารสนเทศ ท้องถิ่นมิให้ชารุดเสียหายและซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นที่ชารุดเสียหายให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้
  • 2. จิราภรณ์ อรัณยะนาค (2555 : 6) อธิบายว่า เป็นการกระทาที่มุ่งเน้นการชะลอการ ชารุดเสื่อมสภาพ รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ซ่อมแซมหรือเสริมสร้างความแข็งแรงให้วัตถุ นั้น ๆ คงสภาพอยู่ได้หรือแก้ไขปัญหาและดาเนินการปูองกันการเสื่อมสภาพ สรุปว่า การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น หมายถึง การดาเนินการด้วยวิธีที่ เหมาะสมเพื่อปูองกันและซ่อมแซมสภาพกายภาพและเนื้อหาหรือภูมิปัญญาสารสนเทศท้องถิ่นให้อยู่ ในสภาพใช้งานได้ 2. ความสาคัญของการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นมีความสาคัญสรุปได้ (ดาวนภา สุยะนนท์ และ คณะ. 2549 : 147 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-5) ดังนี้ 2.1 ทาให้มีการปกปูองสารสนเทศท้องถิ่นต้นฉบับอันเป็นภูมิปัญญาของมนุษย์ที่ แสดงถึงอารยธรรม ความเจริญรุ่งเรืองของสังคมและประเทศชาติไม่ชารุดเสียหายและสูญหาย 2.2 ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นต้นฉบับที่ชารุดและ/ไม่ชารุดเสียหายกลับคืนอยู่ใน สภาพที่ใช้งานได้หรือ อยู่ในสภาพคงเดิม และ/หรือไม่ชารุดเสียหายเพิ่มมากขึ้น มีคุณค่า มีอายุการ ใช้งานได้ยาวนาน 2.3 ทาให้การบริการสารสนเทศท้องถิ่นสะดวก โดยเฉพาะสารสนเทศท้องถิ่นมีอัตรา การใช้งานสูงหรือมีผู้ที่ต้องการใช้มากหรือใช้บ่อย และต้องการใช้งานในคราวเดียวกัน หากสงวน รักษาด้วยการทาสาเนาหรือแปลงรูปเป็นดิจิทัลให้บริการทาให้สามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ ท้องถิ่นได้พร้อมกัน และใช้ได้สะดวกอันจะนาไปสู่การใช้สารสนเทศอย่างคุ้มค่า 2.4 ทาให้ข้อมูล เนื้อหา เรื่องราว หรือองค์ความรู้ที่สาคัญของชุมชนหรือท้องถิ่นที่ไม่ สามารถเข้าถึงได้ เนื่องจากสภาพกายภาพไม่เอื้ออานวยให้ใช้ อาทิ มีขนาดเล็กมาก หรือขนาดใหญ่ มาก หรือบางเปราะไม่สามารถหยิบจับได้ หรือต้องใช้อุปกรณ์ในการเข้าถึงแต่มีข้อจากัด เช่น สื่อ บันทึกข้อมูลเดิมล้าสมัยไม่สามารถรียกข้อมูลออกมาใช้ได้เพราะเทคโนโลยีเปลี่ยนไป การสงวนรักษา สารสนเทศท้องถิ่นด้วยเทคนิคการรักษาเนื้อหา อาทิ การโอนย้ายข้อมูล การเลียนแบบเทคโนโลยีใน กรณีที่เป็นข้อมูลดิจิทัลจะทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูล เนื้อหา เรื่องราวหรือองค์ความรู้การเลียนแบบ เทคโนโลยีในกรณีที่เป็นข้อมูลดิจิทัลจะทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูล เนื้อหา เรื่องราวหรือองค์ความรู้ได้
  • 3. 3. หลักการในการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นมีหลักการสาคัญ 3 หลักการ คือ การสงวนรักษา ด้วยการปูองกัน การสงวนรักษาด้วยการซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพกายภาพ และการสงวนรักษา สาระภูมิปัญญาหรือการสงวนรักษาเนื้อหาหรือสาระของสารสนเทศท้องถิ่น แต่ละหลักการมี รายละเอียด (จิราภรณ์ อรัณยะนาค. 2555 : 6 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-9-11-12) ดังนี้ 3.1 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นด้วยการปูองกัน ด้วยการดาเนินการหรือใช้ เทคนิคต่าง ๆ ในระหว่างการจัดทา การใช้ และการจัดเก็บท้องถิ่น การจัดทาต้องเลือกและ/หรือ เตรียมวัสดุแต่ละชนิดให้เหมาะสมก่อนนามาสร้างเป็นสารสนเทศท้องถิ่น ต้องระมัดระวังและ เคลื่อนย้ายให้ถูกวิธี เมื่อสกปรกให้ทาความสะอาดอย่างถูกวิธี การจัดเก็บสารสนเทศท้องถิ่นต้องเก็บ ด้วยวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน มีการดูแลรักษาพื้นที่จัดเก็บอย่างสม่าเสมอ เพื่อปูองกันหรือชะลอความชารุดเสียหายสารสนเทศท้องถิ่น โดยเฉพาะสภาพกายภาพของ สารสนเทศท้องถิ่น มีการปูองกันสารสนเทศท้องถิ่น ดังนี้ 3.1.1 การจัดทาหรือผลิตสารสนเทศท้องถิ่นด้วยวัสดุหรือสื่อบันทึกข้อมูลที่ เหมาะสมและคงทน ในการจัดทาเอกสารกระดาษที่ต้องการให้เก็บรักษานานต้องเลือกใช้กระดาษไร้ กรด (Acid-free) หรือกระดาษถาวร (Permanent paper) ทั้งนี้เนื่องจากกรดในกระดาษเมื่อทา ปฏิกิริยากับอากาศจะทาให้กระดาษผุพังได้ง่ายการเก็บข้อมูลดิจิทัลหรือบันทึกข้อมูลดิจิทัลด้วยการ เลือกวัสดุเก็บ/สื่อเก็บข้อมูลดิจิทัลที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน 3.1.2 การจัดเก็บและการดูแลรักษาสารสนเทศท้องถิ่นในสถานที่ที่เหมาะสม ประกอบด้วยการควบคุมสภาพแวดล้อมพื้นที่เก็บสารสนเทศท้องถิ่น การรักษาความปลอดภัย การใช้ วัสดุสาหรับเก็บ การทาสาเนา 3.1.2.1 การควบคุมสภาพแวดล้อมตัวอาคารและพื้นที่เก็บทรัพยากร สารสนเทศท้องถิ่น กล่าวคือ อาคารห้องเก็บหรือพื้นที่เก็บสารสนเทศท้องถิ่นต้องออกแบบและ เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมและทนไฟได้นานที่สุด โดยเฉพาะส่วนพื้นห้อง ผนังและเพดาน และมีการ ควบคุมสภาพแวดล้อมภายในที่เป็นสาเหตุให้สารสนเทศท้องถิ่นเสื่อมสภาพและชารุดเสียหาย เช่น อุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง ลม ฝน ฝุุนละออง ก๊าซ นก หนู แมลง จุลชีพ เป็นต้น 3.1.2.2 การใช้วัสดุและจัดเก็บสารสนเทศท้องถิ่นอย่างเหมาะสมและได้มาตรฐานเพื่อ
  • 4. ช่วยปกปูองสารสนเทศท้องถิ่น อาทิ เอกสารประเภทกระดาษจัดเก็บในแฟูมหรือซองหรือกล่องที่ทา ด้วยกระดาษไร้กรด จัดเก็บภาพถ่ายในอัลบั้มหรือซองพลาสติกที่ทาจากพลาสติกที่ทาจากไมลาร์ (Mylar) รวมถึงมีการจัดวางและเรียงสารสนทศท้องถิ่นแต่ละชนิดในชั้นหรือตู้เก็บที่เหมาะสมกับ รูปลักษณ์ของสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อมิให้หัก งอหรือแตกหักได้ง่าย อาทิ แผนที่ที่มีขนาดใหญ่ให้เก็บ ในลักษณะวางราบในลิ้นชักเก็บแผ่นเสียงในซองกระดาษและวางตั้งแผ่นเสียงแต่ละแผ่นในช่อง ตะแกรง 3.1.3 การให้ความรู้แก่ผู้ใช้และบุคคลทุกกลุ่มเกี่ยวกับการหยิบจับสารสนเทศ อย่างถูกวิธี อาทิ ไม่พับมุมหนังสือที่อ่านค้างไว้ ไม่ใช้นิ้วที่มันจับผิวหน้าของแผ่นซีดี การค้นหา สารสนเทศท้องถิ่นที่ต้องการจากเครื่องมือช่วยค้นก่อนเพื่อเลือกว่าจะตรงกับความต้องการใช้งาน หรือไม่ก่อนการหยิบจับสารสนเทศท้องถิ่นอันช่วยลดการหยิบจับทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ไม่ ต้องการใช้งาน 3.1.4 การสารวจสภาพสารสนเทศท้องถิ่น การสารวจสภาพของสารสนเทศ ท้องถิ่นต้องตรวจทั้งสภาพแวดล้อมของห้อง/พื้นที่เก็บ อาทิ วัสดุที่จัดเก็บ อุปกรณ์และเครื่องปูองกัน ภัยต่าง ๆ อยู่ในสภาพใช้งานได้ตามปกติ หรือชารุดเสียหาย และตัวสารสนเทศท้องถิ่น เพื่อตรวจว่ามี สารสนเทศท้องถิ่นชิ้นไหนมีโอกาสจะชารุดเสียหาย 3.1.5 การทาสาเนาเพื่อใช้แทนการใช้สารสนเทศท้องถิ่นต้นฉบับ โดยอาจถ่าย สาเนาเป็นวัสดุย่อส่วนหรือแปลงข้อมูลเป็นดิจิทัลและบันทึกเป็นแผ่นเก็บข้อมูล เช่น ซีดี หรือดีวีดี หรือเก็บเป็นฐานข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น 3.1.6 การวางแผน การเตรียมการปูองกันและกู้สารสนเทศท้องถิ่นจากกรณี ฉุกเฉินจากภัยพิบัติหรือเหตุต่าง ๆ เป็นการจัดทาแผนการปูองกันภัยพิบัติจากไฟไหม้และน้าท่วม และแผนการกู้สารสนเทศท้องถิ่นกลับคืนหลังเกิดภัยพิบัติ โดยอาจแยกเป็นสองแผนหรืออาจรวมเป็น แผนเดียวกันและต้องเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติ ข้อมูลที่ควรระบุในแผนการ ปูองกัน คือ กิจกรรมการปูองกันจะมีกิจกรรมอะไรบ้างและใครผู้รับผิดชอบ โดยให้ระบุชัดเจนว่าใคร รับผิดชอบในกิจกรมใด เช่น ใครจะขนย้ายสารสนเทศท้องถิ่นในกรณีเกิดภัยพิบัติและจะดาเนินการ อย่างไร ใช้วัสดุอุปกรณ์อะไร และใช้เส้นทางใดที่จะขนย้ายออกไปและขนย้ายไปที่ไหน และควรมี การซ้อมเป็นครั้งคราว สาหรับข้อมูลที่ควรระบุในแผนการกู้ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นหลังเกิดภัย
  • 5. พิบัติ คือ กิจกรรมที่ต้องดาเนินการตามลาดับคืออะไร ใครทา ทาอย่างไร และต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ อะไร 3.2 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นด้วยวิธีการซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพ กายภาพมีประเด็นสาคัญ ดังนี้ 3.2.1 วิธีการซ่อมแซมทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ชารุดเสียหายให้อยู่สภาพ เดิมหรือใกล้เคียงสภาพเดิม เทคนิคและวิธีการซ่อมแซมหรือเสริมสร้างสภาพกายภาพทรัพยากร สารสนเทศท้องถิ่นมีตั้งแต่วิธีการพื้นฐานเบื้องต้นที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่ซับซ้อน อาทิ การทาความสะอาดกระดาษที่เปื้อนฝุุน การแกะเทปใสออกจากระดาษ การคลายกระดาษที่ม้วนไว้ นาน จนถึงการซ่อมที่ต้องอาศัยความชานาญเฉพาะจากผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการฝึกฝนโดยตรง ประกอบด้วย 3.2.1.1 การลดกรดจากกระดาษ เป็นการใช้สารเคมีที่เหมาะสมในการ ลดกรดที่มีอยู่ในกระดาษ 3.2.1.2 การเข้าเล่ม เป็นการทาให้เอกสารกระดาษแต่ละแผ่นรวมกันเป็น ปึกหรือเล่ม 3.2.1.3 การเคลือบ เป็นการนาวัสดุใสมาผนึกกระดาษโดยใช้ความร้อน ทับให้แผ่นใสติดกับกระดาษเพื่อเสริมความแข็งแรงการห่อหุ้ม การใช้ซองที่ทาจากวัสดุมาใส่กระดาษ แต่ละแผ่น 3.2.1.4 การอบ เป็นการใช้สารเคมีหรือสุญญากาศในการอบเอกสารเพื่อ ทาลายแมลง สัตว์ และจุลชีพในห้องอบ 3.2.2 ผู้ทาหน้าที่ดูแลรักษาและจัดเก็บ รับผิดชอบ จาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับชนิดและคุณสมบัติของสารสนเทศต่าง ๆ เป็นอย่างดี ก่อนที่จะตัดสินใจดาเนินการใด ๆ เพื่อ จัดเก็บและบริการ การซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นบางชนิดต้องอาศัยความชานาญเฉพาะจากผู้เชี่ยวชาญ ที่ได้รับการฝึกฝนโดยตรง ในประเทศไทยบุคลากรที่มีความชานาญหรือได้รับการฝึกฝนโดยตรงใน การซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นแต่ละประเภทมีจากัดมาก กรณีการซ่อมเอกสารประเภทกระดาษมีหอ จดหมายเหตุแห่งชาติเป็นหน่วยงานที่มีบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมและปฏิบัติการซ่อมเอกสาร
  • 6. ประเภทกระดาษที่ถือว่ามีความชานาญและให้บริการซ่อมเอกสารสาหรับส่วนราชการที่ขอ อนุเคราะห์ให้บริการ 3.2.3 การจ้างหน่วยงานภายนอกดาเนินการซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นที่ชารุด ในกรณีที่มีสารสนเทศท้องถิ่นชารุดเสียหายมากและหน่วยงานไม่มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ อาจ ใช้วิธีการจัดจ้างหน่วยงานภายนอกดาเนินการ (Outsourcing) สาหรับประเทศไทยอาจมีข้อจากัดใน การหาหน่วยงานหรือบริษัทที่รับจ้างในการซ่อมสารสนเทศ และค่าใช้จ่ายในการซ่อมสารสนเทศที่ได้ มาตรฐานจะมีราคาสูงและต้องนาเข้าจากต่างประเทศ 3.3 การสงวนรักษาสาระภูมิปัญญาหรือการสงวนรักษาเนื้อหาหรือสาระของ สารสนเทศท้องถิ่น เป็นวิธีการรักษาเนื้อหาสาระที่บันทึกอยู่บนสารสนเทศท้องถิ่นให้อยู่ได้นานที่สุด หรือไม่สามารถนาเนื้อหาหรือสาระที่บันทึกไว้ออกมาเพื่อให้นามาใช้ได้ เทคนิคและวิธีการสงวนรักษา สาระภูมิปัญญาหรือการสงวนรักษาเนื้อหาหรือสาระของสารสนเทศท้องถิ่นที่นิยมใช้ คือ การย้าย หรือถ่ายทอดเนื้อหาสาระที่มีอยู่มาบันทึกอยู่บนวัสดุชนิดใหม่ เทคนิคและวิธีการการย้ายหรือถ่ายทอดเนื้อหาสาระที่มีอยู่มาบันทึกอยู่บนวัสดุ ชนิดใหม่ มีดังนี้ 3.3.1 การถ่ายสาเนาเอกสาร โดยใช้เครื่องถ่ายเอกสาร คือ การนาเอกสาร ต้นฉบับประเภทกระดาษมาทาสาเนาด้วยการใช้เครื่องถ่ายเอกสาร 3.3.2 การถ่ายสาเนาเป็นวัสดุย่อส่วน เป็นไมโครฟิล์ม เป็นการถ่ายภาพย่อส่วน จากของจริงหรือเอกสารต้นฉบับให้บันทึกลงบนแผ่นฟิล์มและเมื่อต้องการอ่านต้องนามาเข้าเครื่อง อ่านวัสดุย่อส่วน และสามารถทาสาเนาเป็นกระดาษได้เมื่อต้องการ 3.3.3 การแปลงรูปวัสดุสารสนเทศแอนาล็อกเป็นดิจิทัลโดยใช้เครื่องสแกนหรือ กล้องถ่ายดิจิทัล หรือเครื่องมืออื่น ๆ เพื่อแปลงข้อมูลเป็นดิจิทัล แล้วบันทึกข้อมูลดิจิทัลลงบนสื่อ บันทึกมูลเป็นซีดี ดีวีดี หรือสื่อเก็บข้อมูลแบบอื่นที่มีการพัฒนาเป็นสื่อเก็บข้อมูลใหม่ ๆ 3.3.4 การจัดพิมพ์ใหม่ ส่วนใหญ่เป็นการนาหนังสือเก่าที่เนื้อหายังมีคุณค่ามา จัดพิมพ์ใหม่ วัตถุที่ใช้บันทึกเป็นสารสนเทศท้องถิ่น สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ อินทรียวัตถุ และอนินทรีย์วัตถุ (จิราภรณ์ อรัณยะนาค. 2555 : 9-10) ดังนี้
  • 7. อินทรียวัตถุ หมายถึง วัสดุที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ 1. อินทรียวัตถุที่ได้จากพืช ได้แก่ ผ้าฝูาย ผ้าลินิน ผ้าปุาน ปอ ไม้ กระดาษ ใบลาน เครื่องจักสาน เครื่องเขิน ยางไม้ ซึ่งวัตถุนี้มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสาคัญ 2. อินทรียวัตถุที่ได้จากสัตว์ ได้แก่ ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ หนังสัตว์ ขนสัตว์ เขาสัตว์ งา กระดูก แผ่นเสียง วัตถุนี้มีโปรตีนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 3. อินทรียวัตถุที่ได้จากการสังเคราะห์ ได้แก่ พลาสติก ยางสังเคราะห์ ฟิล์มถ่ายภาพ ฟิล์มภาพยนตร์ ผ้าใยสังเคราะห์ อินทรียวัตถุเหล่านี้ไม่ค่อยคงทนต่อสภาพแวดล้อม เพราะมีโครงสร้างบอบบาง ประกอบด้วยเซลล์เป็นส่วนใหญ่ จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย นอกจากนี้อินทรียวัตถุยังเป็นอาหาร ที่ดีของหนู แมลง และจุลินทรีย์ ทาให้อินทรียวัตถุมีแนวโน้มเกิดการชารุดเสียหายเร็วมาก จึงต้อง มีความเอาใจใส่และดูแลรักษาเป็นอย่างดี อนินทรียวัตถุ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1. โลหะ และโลหะผสมต่าง ๆ ได้แก่ ทองคา เงิน ทองคาขาว เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง ดีบุก สังกะสี สาริด ทองเหลือง และชิน 2. อโลหะ ได้แก่ หิน อิฐ ปูนปั้น เครื่องปั้นดินเผา เครื่องเคลือบ และแก้ว อนินทรียวัตถุส่วนใหญ่มีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี ได้แก่ เครื่องปั้นดินเผาและแก้ว ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อได้รับความร้อน ความชื้น แสงสว่าง แต่เกิด การแตกหักง่าย โลหะส่วนใหญ่แข็งแรง เหนียว ทนต่อแรงกดแรงดึงได้ดีมาก แต่เกิดการเปลี่ยนแปลง ได้ง่ายเมื่อทาปฏิกิริยากับความชื้น เกลือ ดิน ก๊าซต่าง ๆ ในบรรยากาศ ฝุุนละออง คราบสกปรก จึง กลายเป็นสนิม แต่โลหะบางชนิดก็ไม่ค่อยเกิดสนิม เช่น ทองคา ทองคาขาว เป็นต้น โลหะบางชนิด ไม่ค่อยแข็งแรง เช่น ทองคาบริสุทธิ์ ตะกั่ว มักจะหักงอ บุบ หรือมีรอยขูดขีดได้ง่าย เป็นต้น จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าวัตถุแต่ละชนิดต่างมีจุดอ่อนที่ต้องการการดูแลรักษา เป็นอย่างดี ฉะนั้นผู้ทาหน้าที่ดูแลรักษาควรทาความเข้าใจกับคุณสมบัติและจุดอ่อนต่าง ๆ ของวัตถุ เพื่อสามารถปูองกันการเสื่อมสภาพต่อไป
  • 8. ปัจจัยสาคัญของการชารุดและสูญหายของสารสนเทศท้องถิ่น ปัจจัยสาคัญของการชารุดเสียหายของวัสดุสารสนเทศทั้งสองประเภท (จิราภรณ์ อรัณยะนาค. 2555 : 15-34 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-13-11-15 ; สานักหอสมุดแห่งชาติ. 2551 : 8-9) ดังนี้ 1. อุณหภูมิ อากาศและสภาวะแวดล้อม อากาศร้อนและแห้งจะทาให้วัสดุบางประเภท เช่น กระดาษ หนังสือ และไม้ เสียหายด้วยลักษณะของการแห้งกรอบ เปราะ และแตกง่าย และบริเวณที่ความชื้นสัมพัทธ์สูงแสดง ว่ามีความชื้นสูงจะทาให้วัสดุบางประเภทเกิดเชื้อราได้ ฝุุนละอองและอนุภาคที่แขวนลอยอยู่ใน อากาศจานวนมาก ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นประเภทกระดาษเสื่อมสภาพได้ทั้งโดยทางตรงและ ทางอ้อม ฝุุนละอองที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ทาให้เอกสารสึกกร่อนจากการขัดสี ครูดถู ฝุุนละอองที่มี เขม่าหรือควันปะปนอยู่จะมียางเหนียว ๆ ที่ทาให้เกิดคราบเปื้อนสกปรก ขจัดออกง่าย และยังเป็น แหล่งสะสมฝุุนละอองและสปอร์ราให้มาเกาะติดเพิ่มมากขึ้นด้วย นอกจากนี้ยังมีก๊าซชนิดต่าง ๆ อยู่ มากในบรรยากาศ ก๊าซที่มีบทบาทสาคัญทาให้สารสนเทศท้องถิ่นชารุดเสื่อมสภาพ เช่น ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซออกซิเจน ก๊าซโอโซน ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์จะรวมกับกับความชื้นแล้วกลายเป็นกรดคาร์บอนิก กรดซัลฟูริก และกรด ไนตริก ตามลาดับ กรดเหล่านี้ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นผุเปื่อย อ่อนยุ่ย ก๊าซโอโซนเป็นตัวเติม ออกซิเจนอย่างแรง ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นอ่อนแอและกรอบเปราะมากขึ้น 2. แสงสว่าง แสงจากธรรมชาติและแสงไฟฟูา จะทาให้วัสดุสารสนเทศบางประเภทสีซีดจาง หรือ มีการผุกร่อนเสื่อมสภาพ เป็นเหตุให้รับรังสีอุลตราไวโอเลต ความร้อนทาลายโครงสร้างของวัสดุ มี การเปลี่ยนแปลงเสื่อมสภาพ อาทิ สารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้า กระดาษ หนังสัตว์ จะเสียหายได้ ง่ายหากถูกแสงทั้งแสงธรรมชาติ และแสงไฟฟูาเป็นเวลานานจะมีสีซีดจาง และกรอบเปราะ ขาด ความแข็งแรง
  • 9. 3. แมลงและสัตว์อื่น ๆ แมลงที่พบมากในห้องสมุด ได้แก่ ปลวก แมลงสาบ แมลงสามง่าม มอดหนังสือ มอด ยาสูบ มอดเจาะไม้ มอดไม้ไผ่ มอดขี้ขุย ด้วงขนสัตว์ ผีเสื้อกลางคืน เหาหนังสือ นอกจากนี้ยังพบ ไรซึ่งเป็นสัตว์ที่มีลักษณะใกล้เคียงแมลงแต่มีขา 8 ขา ใช้ปากกัดอินทรียวัตถุโดยเฉพาะสารสนเทศ ท้องถิ่นประเภทกระดาษ ไม้ ผ้า เสียหายอย่างถาวร สัตว์อื่น ๆ อาทิ นก หนู และค้างคาว ต่างมี บทบาทในการทาลายสารสนเทศท้องถิ่น ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม หนูมีฟันแหลมคมที่กัดทาลาย กระดาษ ไม้ ผ้า แล้วทาให้ชารุดเสื่อมสภาพอย่างถาวร การทาลายส่วนใหญ่เกิดจากการค้นหาอาหาร และนาวัสดุไปทารัง ทาให้เกิดรูโหว่หรือรอยขาดบนสารสนเทศท้องถิ่น และอาจขับถ่ายของเสียมา ทาให้เกิดรอยเปื้อนกับสารสนเทศท้องถิ่นด้วย ไม่สามารถซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเดิมได้ 4. จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ หมายถึง สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก จุลินทรีย์มีบทบาทสาคัญในการชารุด เสื่อมสภาพของวัตถุ ได้แก่ เชื้อรา สาหร่าย แบคทีเรีย ราบางชนิดไม่ทาให้เกิดการชารุดเสื่อมสภาพ แต่ทาให้เกิดคราบเปื้อนที่ไม่น่าดู แต่ราหลายชนิดทาให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงโดยการสร้าง เอนไซม์ออกมาย่อยสลายอินทรีย์สารซึ่งเป็นองค์ประกอบของวัตถุ ทาให้วัตถุสูญเสียความเหนียว ความแข็งแรง มีลักษณะกรอบ เปราะ หรือเปื่อยนุ่ม ฉีกขาดง่าย นอกจากนี้รายังทาให้เกิดคราบ เปื้อนเป็นรอยด่างดวงสีต่าง ๆ บนวัตถุ ซึ่งไม่สามารถขจัดออกได้โดยง่าย 5. ไฟไหม้ ไฟไหม้ จะทาให้สารสนเทศท้องถิ่นไหม้ หรือเกิดควันไฟทาให้เกิดความเสียหายต่อ สารสนเทศท้องถิ่น อาคารและ/พื้นที่เก็บรักษาสารสนเทศท้องถิ่นต้องมีการปูองกันไฟไหม้ก่อนให้เกิด ไฟไหม้แล้วจึงหาทางแก้ไข การปูองไฟไหม้จะเริ่มต้นตั้งแต่การวางแผนก่อสร้างอาคารโดยใช้วัสดุที่ทน ไฟ ออกแบบประตูหน้าต่างพื้นที่ต่าง ๆ ของอาคารที่เหมาะสมมีการติดตั้งระบบดับเพลิง เตรียม สารเคมีสาหรับดับเพลง และแหล่งน้าที่จะใช้ในกรณีที่เกิดไฟไหม้ เลือกใช้ เฟอร์นิเจอร์ ม่าน และ อุปกรณ์ตกแต่งอาคารที่เหมาะสมและทนไฟ มีมาตรการ อาทิ ห้ามสูบบุหรี่ในอาคาร และเมื่อเกิดไฟ ไหม้ต้องมีการดับเพลิงอัตโนมัติ สัญญาณเตือนอัตโนมัติเมื่อเกิดความร้อนและควันไฟ
  • 10. 6. น้า และความชื้น น้าและความชื้นเป็นเหตุสาคัญในการเสื่อมสภาพของวัตถุทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง หลายรูปแบบ ไอน้าและน้ามีบทบาทสาคัญที่ทาให้โลหะเป็นสนิม โดยทาปฏิกิริยากับโลหะแล้วทาให้ เกิดเกลือของโลหะ และสารสนเทศท้องถิ่นเปียกชื้น ทาให้ตัวอักษรเลอะเลือนอ่านไม่ได้ หรือทาให้ หมึกหรือสีหลุดออกได้ และเกิดความชื้น ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นมีเชื้อรา 7. ลม ลมหรือพายุ ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นเสียหาย สึกกร่อนหรือแตกหักได้ การจัดเก็บ สารสนเทศท้องถิ่นต้องมีการระมัดระวังในการเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม ไม่เก็บสารสนเทศท้องถิ่น ไว้ กลางแจ้งแต่ควรเก็บในอาคารที่มีหลังคา 8. มนุษย์ มนุษย์ทาให้สารสนเทศท้องถิ่นสูญหายเกิดจากขาดจิตสานึกตระหนักถึงคุณค่าของ เอกสาร ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดการระมัดระวัง ขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลรักษาขั้นพื้นฐาน เช่น การหยิบจับสารสนเทศท้องถิ่นที่ไม่ถูกต้องอย่างไม่ระมัดระวังทาให้เอกสารฉีกขาดหรือยับย่นได้ เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการชารุดเสียหาย การใช้มือที่สกปรกแตะต้องสัมผัสสารสนเทศท้องถิ่นอาจทา ให้เกิดรอยด่าง การจับผิวหน้าของสารสนเทศท้องถิ่นบางชนิดอาจทาให้เป็นรอยและ/หรืออาจลบ ข้อมูลที่บันทึกอยู่บนผิวหน้าของสารสนเทศท้องถิ่นชิ้นนั้นได้ 9. เกลือ เกลือ หมายถึง สารเคมีที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างกรดกับด่าง เกลือพบมากใน ธรรมชาติ ทั้งในดิน น้า อากาศ วัตถุต่าง ๆ และในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เกลือมีบทบาทใน กระบวนการเสื่อมสภาพของวัตถุ เนื่องจากเกลือเป็นสารเคมีที่พร้อมจะทาปฏิกิริยาอยู่ตลอดเวลา หากมีน้าหรือความชื้นร่วมอยู่ด้วยปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็วยิ่งขึ้น สรุปได้ว่า วัตถุเกิดจากการชารุดเสื่อมสภาพได้มาจากปัจจัยต่าง ๆ หลายสาเหตุ วิธีการ สงวนรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ การปูองกันการชารุดเสื่อมสภาพโดยมีการจัดเก็บวัตถุด้วย วิธีการที่ถูกต้องตามหลักการและเทคนิคการสงวนรักษา
  • 11. เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น การสงวนรักษาวัสดุสารสนเทศแต่ละประเภท และแต่ละชนิดมีเทคนิคและวิธีการสงวน รักษาแตกต่างกัน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแอนาล็อก และ การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อดิจิทัล (สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-18-11- 22) ดังนี้ 1. เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแอนาล็อก การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแอนาล็อก ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ หิน ศิลา โลหะ ไม้ ผ้า ภาพถ่าย ภาพเขียน มีเทคนิค ดังนี้ 1.1 เทคนิคการสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นการ บันทึกสารสนเทศท้องถิ่น คือ กระดาษ โดยมนุษย์มีการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่น ดังนี้ 1.1.1 การปูองกันทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อยืดอายุการใช้งาน มีดังนี้ 1.1.1.1 การบรรจุสารสนเทศท้องถิ่นในวัสดุจัดเก็บที่เหมาะสม เช่น ใช้ ซอง แฟูม กล่องหรือวัสดุจัดเก็บที่เหมาะสมเพื่อปูองกันฝุุน แมลงและสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสารสนเทศ ท้องถิ่นนั้น ๆ 1.1.1.2 การลดกรด เป็นการดาเนินการโดยอาศัยสารเคมีเพื่อให้กรดที่ มีอยู่ในวัสดุสารสนเทศแต่ละชิ้นละลายหรือเจือจางลง อันจะได้ทาให้วัสดุไม่ชารุดได้ง่ายเนื่องจากกรด จะเป็นตัวเร่งการผุพังเมื่อทาปฏิกิริยากับอากาศ วิธีการลดกรดนี้มีหลายเทคนิคที่มีความแตกต่างกัน เช่น สารเคมีที่ใช้ ระยะเวลาในการอบ 1.1.1.3 การอบ เป็นการควบคุมตัวแมลง สัตว์และจุลชีวิตที่จะทาลาย วัสดุสารสนเทศด้วยเทคนิคการอบในห้องหรือตู้ทึบโดยอาจใช้สารเคมี หรือสุญญากาศเพื่อทาลายตัว แมลง สัตว์และจุลชีวะดังกล่าวและต้องดาเนินการ โดยผู้มีความเชี่ยวชาญหรือผ่านการฝึกอบรม 1.1.1.4 การทาสาเนาสารสนเทศเพื่อใช้งานแทนต้นฉบับ การทาสาเนา โดยการถ่ายสาเนา การถ่ายย่อส่วน และการแปลงรูปวัสดุสารสนเทศแอนาล็อกเป็นดิจิทัล 1.1.2 การซ่อมสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ที่ชารุดเสียหาย มีเทคนิค ในการซ่อม ดังนี้
  • 12. 1.1.2.1 การเข้าเล่ม เป็นการทาให้กระดาษแต่ละแผ่นของหนังสือให้อยู่ รวมกันเป็นเล่ม ด้วยเทคนิคการเข้าเล่มต่าง ๆ 1.1.2.2 การเคลือบ เป็นการนาวัสดุใสมาผนึกติดกระดาษแต่ละแผ่น เพื่อเสริมความแข็งแรงและคงทนยิ่งขึ้น หากใช้วิธีนี้จะไม่สามารถดึงวัสดุใสที่ผนึกติดกระดาษออกมา ได้ 1.1.2.3 การห่อหุ้ม คือ การห่อหุ้มด้วยกระดาษแต่ละแผ่นด้วยซองใสที่ ทาจากวัสดุประเภทไมลาร์ (Mylar) เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและคงทนให้กระดาษแต่ละแผ่น และหาก ดึงวัสดุที่ห่อหุ้มออกจากกระดาษแต่ละแผ่นเอกสารจะกลับคืนสู่สภาพเดิม 1.2 การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากหินและศิลา เป็นวัสดุที่ใช้ ในการบันทึกข้อมูลมาแต่อดีต ที่เรียกว่า ศิลาจารึก ปัจจุบันไม่นิยมใช้ศิลาในการบันทึกข้อมูลแล้ว แต่สารสนเทศท้องถิ่นประเภทศิลาจารึกยังคงมีอยู่ในแต่ละชุมชน และหลายหน่วยงานยังคงเก็บและ รักษาศิลาจารึกไว้ในท้องถิ่น การเสียหายของศิลาหรือหินมักเกิดจากการจัดเก็บไว้ในที่ที่เหมาะสมทา ให้ศิลาจารึกเสียหายจากการถูกน้าที่มีสารละลายของเกลือทาให้เป็นโพรงข้างใน มีคราบด่างขาว และการผุกร่อนเป็นผงฝุุน ทาให้สามารถแตกหักได้ตามกาลเวลา โดยมีเทคนิคง่าย ๆ ในการสงวน รักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภทศิลาจารึก คือ 1.2.1 การจัดเก็บตัวจารึก จัดเก็บศิลาจารึกในอาคารที่มีหลังคา จัดวางเรียง ศิลาแต่ละชิ้นให้ห่างกันประมาณ 1.00-1.50 เมตร จัดทาปูายชื่อศิลาจารึก และหากศิลาจารึกเป็น แท่งหรือแผ่นควรจัดทาฐานที่ผิวหน้าเรียบไว้รองรับศิลาด้วย 1.2.2 การทาความสะอาดศิลาจารึก ให้ใช้กระดาษเปียกน้าห่อวัตถุนั้น ปล่อย ทิ้งให้แห้งแล้วแกะกระดาษออกเพื่อให้คราบเกลือหลุดออกมา หากคราบเกลือยังออกไม่หมดให้ทาซ้า ด้วยวิธีการเดิม หากวัตถุนั้นเปื้อนฝุุน มีครบสกปรกและรอยด่างล้างด้วยน้าสบู่และขัดด้วยแปรงด้วย ความระมัดระวัง กรณีที่จารึกเปื้อนคราบไขมัน น้ามัน สีหรือขี้ผึ้งอาจใช้สารละลายที่เหมาะสม 1.2.3 การเคลื่อนย้ายจารึก หากต้องเคลื่อนย้ายศิลาจารึกต้องเคลื่อนย้ายให้ถูก วิธีและกระทาด้วยความระมัดระวัง 1.2.4 ทุกคนร่วมมือกันในการดูแลรักษาและตระหนักถึงคุณค่าของศิลาจารึกที่ มีต่อมนุษยชาติ สังคมและประเทศชาติ
  • 13. 1.3 การสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากโลหะ สารสนเทศท้องถิ่น ที่บันทึกลงบนโลหะ (Metals) ประเภททอง เงิน ทองแดง เหล็ก ตะกั่ว และอัลลอย ซึ่งการชารุด เสียหายของวัสดุโลหะ คือ ผุพัง เป็นสนิม เปื้อน มีคราบสีเขียวสีฟูา เกาะติด และขาดตามกาลเวลา และสภาวะแวดล้อม เทคนิคและวิธีการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทโลหะแต่ละประเภท ดังนี้ 1.3.1 สารสนเทศท้องถิ่นที่บันทึกด้วยแผ่นทอง มีวิธีการสงวนรักษา ดังนี้ 1.3.1.1 การทาความสะอาดทอง หากทองสกปรกให้ล้างด้วยน้าหรือน้า สบู่ หากทองสกปรกเนื่องจากเก็บไว้เป็นเวลานานอาจใช้สารละลายที่เรียกว่า รีทาหรือ โสโพนิน (Reetha or soponin) โดยใส่ทองแช่ไว้แล้วนามาขัดเช็ดด้วยผ้านุ่ม 1.3.1.2 การซ่อมทองที่ขาด หากทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภท แผ่นทองขาดให้ใช้การเชื่อมและตัดส่วนที่บิดงอโดยช่างที่มีความชานาญ 1.3.1.3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศประเภทแผ่นทอง แผ่นทองควร เก็บด้วยการห่อแต่ละชิ้นด้วยกระดาษนิ่มและเก็บในกล่อง ๆ ละชิ้น 1.3.2 สารสนเทศท้องถิ่นประเภทแผ่นเงิน เงินเป็นโลหะชนิดหนึ่งที่มีความคงทน แต่สภาวะแวดล้อมบางอย่างอาจทาให้เงินชารุดเสียหายได้ ตามลักษณะทางธรรมชาติเงินมักทา ปฏิกิริยาได้ดีกับคลอไรด์ (Chloride) และซัลไฟด์ (Sulphides) ทาให้เกิดเกลือเงิน หากเกลือเงินเป็น ซิลเวอร์คลอไรด์ (Silver chloride) จะทาให้เงินกลายเป็นสีเทาหรือสีขาว หากเกลือเงินเป็น ซิลเวอร์ ซัลไฟด์ (Silver sulphide) จะทาให้เงินเป็นสีดา การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่เป็นแผ่นเงิน คือ ทาความสะอาดแผ่นเงินโดยล้างด้วยสารสะสาย เช่น ซิลโว (Silvo) หรือ ซิลเวอร์ดิพ (Silver Dip) หรือใช้ผงขัดเงินซึ่งจาหน่ายทั่วไป จัดเก็บแผ่นเงินโดยห่อด้วยกระดาษนิ่มหลาย ๆ ชั้น และเก็บ ใส่ถุงที่ทาจากโพลีทีน (Polythene) ปิดมิดชิด เพื่อไม่ให้แผ่นเงินสัมผัสกับวัสดุที่ทาให้ชารุด 1.3.3 สารสนเทศท้องถิ่นประเภทแผ่นทองแดง หรือทองสัมฤทธิ์ โลหะประเภท ทองแดงและผุพังได้ ง่ายเมื่อเก็บไว้นานหรือนาไปฝังในดิน เนื่องจากทาปฏิกิริยากับเกลือ และเกิด คลอไรด์ (Chloride) ทาให้ทองแดงกร่อนและผุพังไปเรื่อย ๆ จนเกิด “Bronze disease” ดังนั้นการ สงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทแผ่นทองแดงจึงเน้นการจัดเก็บทองแดงให้ถูกวิธี เช่น ห่อวัสดุ
  • 14. ประเภทแผ่นทองแดงให้มิดชิดและไม่เก็บไว้บริเวณที่มีความชื้นสูงและควรใส่ซิลิก้าเจลไว้ในบริเวณที่ เก็บทองแดงด้วย 1.3.4 สารสนเทศท้องถิ่นประเภทเหล็กและเหล็กกล้า โลหะประเภทเหล็ก (Iron) และเหล็กกล้า (Steel) เป็นสนิมง่ายเมื่อมีความชื้น การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภท เหล็กกล้าต้องเริ่มตั้งแต่การจัดทาหากใช้เหล็กและเหล็กกล้าต้องดาเนินการในห้องปฏิบัติการ และนา เหล็กและเหล็กกล้ามาชุบหรือจุ่มในขี้ผึ้ง (Wax) เพื่อเคลือบให้มีคงทนก่อน และการเก็บสารสนเทศ ประเภทเหล็กกล้าต้องห่อให้มิดชิดด้วยผ้า 1.4 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากไม้ เป็นวัสดุที่ผุพังได้ง่าย การเสียหาย ของไม้ที่เกิดขึ้นเป็นปกติ คือ การยืดและหดตัวของไม้ตามสภาวะอากาศซึ่งเป็นลักษณะทางธรรมชาติ ของไม้ และความเสียหายของไม้เกิดขึ้นได้เมื่อมีความแห้งมากไม้จะแห้งและแตกหรือแยกได้ง่าย หากอากาศชื้นเชื้อราและตะไคร่จะเกาะไม้และทาให้ไม้เปื่อยยุ่ยได้ นอกจากนี้แมลงก็เป็นศัตรูที่สาคัญ ที่ทาความเสียหายแก่ไม้ การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากไม้ต้องรักษาไม้ด้วยการอบไม้ใน ห้องอบ เทคนิคที่นิยมใช้ในการรักษาไม้ คือ การนามาแช่แข็งแล้วดูดน้าออกด้วยระบบสุญญากาศจน ไม้แห้ง หรือนาไม้แช่ในสารละลายของ โพลีเอ็ทลีน-กลีคัล เพื่อให้สารละลายซึมเข้าไปในเนื้อไม้ การ ทาความสะอาดสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากไม้โดยใช้แปลงขนนุ่มปัด และจัดเก็บสารสนเทศท้องถิ่นที่ ทาจากไม้ด้วยการห่อด้วยแผ่นพลีทีน (Polythene) และเก็บแต่ละชิ้นไว้ในกล่องไม้ รวมทั้งต้องมีการ กาจัดแมลงในพื้นที่ที่เก็บสารสนเทศที่ทาจากไม้อย่างสม่าเสมอ 1.5 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้า เป็นวัสดุอีกชนิดหนึ่งที่ผุพังและ เสียหายได้ง่าย ผ้าอาจทาจากใยธรรมชาติหรือใยประดิษฐ์ผ้าอาจทามาจากพืช สัตว์ และแมลง เช่น ผ้าฝูาย ผ้าขนสัตว์ ผ้าไหม้ ผ้าไนร่อน ผ้าโพลีเอสเตอร์ ความเสียหายของผ้าอาจเกิดจากแสง ทาให้สี ซีดจาง เชื้อราเกาะผ้าหนาทาให้เกิดรอยด่างและทาให้เปื่อยยุ่ย แมลง เช่น มอด ผึ้ง ทาความเสียหาย แก่ผ้าได้ รวมทั้งการพับผ้าให้เป็นรอยพับก็ทาให้ผ้าเสียหายได้ อาหารและเครื่องดื่มทาให้ผ้าเปื้อนเป็น รอยด่างได้ โลหะ ได้แก่ คลิปและเข็มหมุดทาให้ผ้าเป็นสนิมและผุพังได้ ดังนั้น การสงวนรักษา ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้า ได้แก่ เสริมความแข็งแรงของวัสดุด้วยการใช้แผ่นผ้าเสริม จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นที่ทาจากผ้าด้วยการแขวนหรือวางราบหรือม้วนแต่ละชิ้นแทน
  • 15. การพับ ระมัดระวังไม่ให้ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่นประเภทผ้าถูกแสงมากเกินไป และจัดเก็บไว้ใน ห้องที่มีอากาศแห้ง และมีการตรวจสอบรวมทั้งการกาจัดแมลงในบริเวณที่เก็บผ้าอย่างสม่าเสมอ 1.6 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทภาพเขียนและภาพวาด การเขียนและ ภาพวาด (Drawing and painting) มีหลากหลายชนิดทั้ง กระดาษ ผ้า ไม้ และภาพวาด แต่ละภาพ มีส่วนประกอบหลายส่วน เช่น วัสดุที่บันทึกภาพ สี ขี้ผึ้ง สีน้ามัน แปูง และวัสดุอื่น ๆ เป็นต้น อาทิ ผ้า กระดาษ ไม้ ดังนั้น การเสียหายของภาพวาดจึงหมายถึงการชารุดหรือเสียหายของส่วนประกอบ ส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนภาพวาดที่ใช้ไม้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าและมีผิวหน้าเว้า ๆ นูน จะมี โอกาสเสียหายได้จากการที่สีอาจหลุดลอกออกมาบางส่วน ภาพวาดที่ทาจากไม้อาจถูกแมลง อาทิ ปลวก และแมลงสาบทาให้เสียหายได้ แสงจ้าทาให้ภาพวาดที่เป็นกระดาษสีซีดจาง และสภาวะ แวดล้อม อาทิ ฝุุนและสารพิษจากสิ่งแวดล้อมจะทาลายภาพวาด ดังนั้น การสงวนรักษาสารสนเทศ ท้องถิ่นประเภทภาพวาดจึงมีความซับซ้อนและมีวิธีการเฉพาะตามบริบท อาทิ ภาพวาดที่เป็น กระดาษควรจัดเก็บโดยการใส่กรอบ และอาจถ่ายรูปภาพวาดหรือถ่ายแผ่นใสเพื่อนามาใช้แทนอันจะ ลดการหยิบจับภาพวาดต้นฉบับ การเคลื่อนย้ายภาพวาดที่มีขนาดใหญ่ต้องใส่รถเข็นและมีฐานรอง การจัดเก็บภาพวาดที่เป็นผ้าควรเก็บด้วยการขึงมุมให้ตึงและไม่ควรใช้ตะปูยึดกรอบภาพเนื่องจาก อาจเป็นสนิมและทาความเสียหายแก่ภาพได้การเก็บภาพวาดที่ใช้สีไม่ควรม้วน แต่หากจาเป็นต้อง ม้วนให้ม้วนส่วนหน้าออกด้านนอก ควรจัดเก็บภาพวาดในแนวตั้งโดยการแขวนในช่องที่แบ่งเป็น ช่อง ๆ โดยไม่ให้แต่ละแผ่นของภาพวาดกระทบกัน หรือม้วนภาพแต่ละภาพเก็บไว้ในแต่ละกล่องและ เก็บกล่องภาพในลิ้นชักไม้ 1.7 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทถ่ายภาพ มีทั้งเป็นภาพเนกาทีฟ โพสต์สิทีพ และสไลด์ การเสียหายที่เกิดแก่ภาพมาจากหลายสาเหตุ อาทิ เกิดจากกระบวนการอัด ล้างซึ่งใช้สารเคมีชนิดต่าง ๆ เทคนิคและวิธีการอัดล้างที่แตกต่างกัน ภาพถ่ายที่เป็นแก้วอาจแตกได้ ง่าย ภาพที่เป็นพลาสติกอาจโก่งงอได้ ภาพที่เป็นกระดาษจะกรอบและเปราะ และภาพที่อยู่บน ผิวหน้ากระดาษอาจถูกขูดขีด หรือมีรอยด่างของเชื้อราได้ นอกจากนี้การเสียหายอาจเกิดจากแต่ละ ชั้นของภาพถ่ายปริแยกออกจากกัน สภาวะแวดล้อมก็เป็นสาเหตุให้ภาพถ่ายเปลี่ยนสี หรือสีซีดจาง ได้ อุณหภูมิและความชื้นสัมพันธ์ก็เป็นสาเหตุที่ทาให้ภาพถ่ายเสียหาย ดังนั้น การสงวนรักษา สารสนเทศท้องถิ่นประเภทภาพถ่ายอย่างง่าย ๆ มีดังนี้ ไม่หยิบจับภาพถ่ายที่ผิวหน้าของกระดาษ
  • 16. ควรสวมถุงมือเมื่อจะหยิบจับภาพถ่าย การจัดเก็บภาพไม่ควรเก็บภาพถ่ายมารวมกันในห่อเดียวกัน แต่ควรเก็บภาพถ่ายแต่ละภาพโดยแยกเก็บในซองแต่ละซองหรือใส่ภาพในอัลบั้มที่ทาจากวัสดุที่มี คุณภาพ มีการทาความสะอาดภาพถ่ายเก่าด้วยแปรงขนอ่อน และหากภาพถ่ายเปียกชื้นควรผึ่งให้ แห้งด้วยการใช้แผ่นกระซับ หากต้องการใส่กรอบให้นาภาพถ่ายใส่กรอบกระจกโดยไม่ให้กระจกแตะ บนผิวหน้าของภาพถ่าย ต้องให้มีช่องว่างระหว่างกระจกและผิวหน้าภาพถ่ายด้วย 2. เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อดิจิทัล เทคนิคการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่อดิจิทัล ได้แก่ การสงวนรักษา สื่อ การสงวนรักษาเทคโนโลยี และการสงวนรักษาสาระภูมิปัญญา (สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11- 23-11-25) ดังนี้ 2.1 การสงวนรักษาสื่อ เป็นการสงวนรักษาอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลดิจิทัลด้านกายภาพ สื่อหรือวัสดุที่ใช้บันทึกสารสนเทศดิจิทัลสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ แมกเนติก และออปติคัล ดิสก์ 2.1.1 สื่อแมกเนติก (Magnatie media) เป็นสื่อที่ใช้กลไกทางอิเล็กทรอนิกส์ ในการบันทึกข้อมูล สื่อแมกเนติก ประกอบด้วย 3 ชั้นหลัก คือ 1) ชั้นผิวหน้าสาหรับเป็นรองรับการ บันทึก เป็นชั้นที่สามารถกลายเป็นแม่เหล็กเมื่อวางในสนามแม่เหล็ก 2) ชั้นฐาน เป็นส่วนฐานที่ทา หน้าที่รับสารสนเทศซึ่งอาจเคลือบด้วยฟิล์มโพลิเอสเตอร์ เซรามิก หรือส่วนผสมของแก้ว 3) ชั้นเชื่อม ยึด เป็นชั้นที่ทาหน้าที่ยึดชั้นผิวหน้า ให้อยู่ติดกับชั้นฐาน สื่อแมกเนติกนี้แบ่งย่อยได้อีก 2 ประเภท คือ ดิสก์และเทป และแต่ละประเภทยังจาแนกย่อยได้อีกหลายชนิดและหลายขนาด 2.1.2 สื่อออปติก (Optical media) เป็นสื่อที่ใช้กลไกทางแสงเลเซอร์ในการ บันทึกและอ่านข้อมูลลงบนผิวหน้าของแผ่นบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลลงบนสื่อออปติกมี หลากหลายวิธีที่ให้สื่อออปติกมีคุณสมบัติและคุณภาพแตกต่างกัน สาหรับลักษณะทางกายภาพของ สื่อออปติกซึ่งเป็นสื่อที่เคลือบผิวด้วยโลหะ หรือแก้ว หรือพลาสติก มีขนาดต่าง ๆ สาหรับสื่อออปติก ที่รู้จักและใช้อย่างกว้างขวาง คือ ซีดีรอม เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่อ่านได้แต่บันทึกไม่ได้ และซีดีอาร์ ซึ่ง ผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นได้ด้วยตนเองเพียง 1 ครั้งโดยแก้ไขไม่ได้ และซีดีอาร์ดับเบอร์ยู ซึ่งผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลได้ด้วยตนเองและแก้ไขได้ตลอดเวลาที่ต้องการ การสงวนรักษาสื่อจึงเน้นการเก็บรักษาอุปกรณ์เก็บข้อมูล เช่น ดิกส์ เทป ซีดี
  • 17. ดีวีดี อุปกรณ์เก็บข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ตั้งแต่การเลือกใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลให้เหมาะสม การหยิบจับ และใช้งานอย่างถูกวิธีและการจัดเก็บวัสดุในวัสดุจัดเก็บที่เหมาะสม 2.2 การสงวนรักษาเทคโนโลยี การใช้งานสารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลต้องอาศัยทั้ง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ถูกต้อง แต่เนื่องจากเทคโนโลยีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมทั้งสื่อเก็บ ข้อมูลมีการพัฒนาและเปลี่ยนใหม่อย่างรวดเร็ว การสงวนรักษาเทคโนโลยีเพื่อให้สามารถใช้งาน สารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลทั้งเก่าและใหม่ได้จึงต้องมีเทคนิควิธีการต่าง ๆ อาทิ การเก็บรักษาฮาร์ดแวร์ และ/หรือซอฟต์แวร์รุ่นเก่าในลักษณะของพิพิธภัณฑ์ การใช้เทคนิคและวิธีการที่ทาให้เทคโนโลยีรุ่น ใหม่สามารถอ่านและแสดงข้อมูลที่บันทึกด้วยเทคโนโลยีรุ่นเก่าออกมาใช้งานได้ และการหาวิธีการ ดูแลรักษาสื่อที่บันทึกสารสนเทศดิจิทัลให้ใช้งานได้อยู่เสมอไม่ว่าเทคโนโลยีจะเปลี่ยนแปลงไป 2.3 การสงวนรักษาสาระภูมิปัญญา การสงวนรักษาเนื้อหาหรือภูมิปัญญาของ สารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลต้องตระหนักถึงคุณลักษณะที่สาคัญของสารสนเทศดิจิทัล คือ ไม่อยู่นิ่งมีการ เคลื่อนไหวได้ เชื่อมโยงและปฏิสัมพันธ์ได้ จึงต้องมีการสงวนรักษาทั้งความสมบูรณ์เชิงเนื้อหา และ ความแท้จริงของเนื้อหา การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลจึงมีวิธีต่าง ๆ ดังนี้ 2.3.1 การจัดทาข้อมูลให้เป็นอนาล็อก ได้แก่ พิมพ์เป็นเอกสารประเภทกระดาษ หรือเป็นวัสดุย่อส่วนประเภทไมโครฟิล์มเพื่อจัดพร้อมจัดทาข้อมูลที่เกี่ยวกับสารสนเทศนั้น ๆ เพื่อให้ เข้าถึงได้ 2.3.2 การกาหนดนโยบายสารสนเทศ โดยกาหนดเป็น กฎ ระเบียบ มาตรฐาน และแนวปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อให้บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติหรือใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินงาน 2.3.3 การรักษาเทคโนโลยีหรือฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแสดงผลให้ สามารถอ่าน ดูหรือฟังสารสนเทศได้ รวมถึงการเก็บรักษาเอกสารคู่มือการใช้และอุปกรณ์บางชิ้น สาหรับซ่อมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในลักษณะพิพิธภัณฑ์ 2.3.4 การสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นดิจิทัลด้วยเทคนิคต่าง ๆ (ปัทมาพร เย็นบารุง. 2556 : 11-42-11-43 ; สมสรวง พฤติกุล. 2554 : 11-25) ดังนี้ 2.3.4.1 คอนเวอร์ชัน (Conversion) คือ การนาแฟูมข้อมูลดิจิทัลมา
  • 18. บันทึกใหม่เมื่อมีการเปลี่ยนระบบใหม่ เช่น เปลี่ยนจากข้อมูลที่บันทึกด้วยโปรแกรมจากเวิร์ด เปอร์เฟ็ค (WordPerfect) เป็นไมโครซอฟต์ (Microsoft word) 2.3.4.2 ไมเกรชัน (Migration) คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการโอนย้าย แฟูมข้อมูลดิจิทัลจากฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ระบบหนึ่งไปยังฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์อีกระบบหนึ่ง และยังเป็นการแก้ไขปัญหาความล้าสมัยย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การ ดาเนินการดังกล่าวใช้แรงงานและเวลามาก และเสียค่าใช้จ่ายมาก อีกทั้งยังมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาด ได้ง่าย จึงควรดาเนินการด้วยความรอบคอบ 2.3.4.3 อิมูเลชัน (Emulation) คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจาลองระบบ คอมพิวเตอร์ชุดหนึ่งให้มีความคล้ายคลึงกับระบบคอมพิวเตอร์อีกชุดหนึ่ง เพื่อให้กระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องว่าอุปกรณ์หรือฟังก์ชันการทางานของระบบเดิมยังใช้งานได้เหมือนเดิม หรือเป็น เทคโนโลยีที่ใช้ในการจาลองหรือเลียนแบบแพลตฟอร์มเดิม อิมูเลชันเป็นเทคโนโลยีที่จาเป็นในการ สงวนรักษาฟังก์ชันการทางานและการเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัล และเป็นทางเลือกที่ดีทางหนึ่งในการ เข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลในอนาคต (National Library of Australia. Online. 2012) 2.3.4.4 เอ็นแคปซูเลชัน (Encapsulation) คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการ รวมกลุ่มระหว่างสารสนเทศดิจิทัลหนึ่งรายการซึ่งอยู่ในรูปวัตถุสารสนเทศดิจิทัล เพื่อให้สามารถ เข้าถึงสารสนเทศนั้นได้ในอนาคต (National Library of Australia. Online. 2012) เทคโนโลยี เอ็นแคปซูเลชัน มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาด้านความล้าสมัยของเทคโนโลยีฮาร์ดแวร์และ/หรือ ซอฟต์แวร์ โดยคงรูปแบบแฟูมข้อมูลไม่เปลี่ยนแปลง ปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีเอ็นแคปซูเลชันไปใช้ ร่วมกับเทคโนโลยีอิมูเลชัน 3. กระบวนการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล กระบวนการสงวนรักษาสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล มี หลายวิธี (ดาวนภา สุยะนนท์ และคณะ. 2549 : 149) ดังนี้ 3.1 การสแกนเอกสารเป็นภาพ 3.2 การสแกนไมโครฟิล์ม 3.3 การบันทึกภาพและเสียง Vibeo/Audio ลงสื่อดิจิทัล 3.4 การสแกนภาพถ่าย
  • 19. 3.5 การพิมพ์สารบัญต้นฉบับใหม่ 3.6 การสแกนสารบัญต้นฉบับด้วยระบบ OCR (Optical Character Recognition) 3.7 การสร้างตัวชี้แหล่งสารบัญรายการต่าง ๆ 3.8 ภาพถ่ายดิจิทัล 4. รูปแบบการสงวนรักษาสารสนเทศสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล การสงวนรักษาสารสนเทศสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือดิจิทัล มีหลายรูปแบบ (ดาวนภา สุยะนนท์ และคณะ. 2549 : 149-150) ดังนี้ 4.1 ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disc Read Only Memory) คือ เป็นอุปกรณ์ จัดเก็บข้อมูลแบบดิจิทัล สามารถบันทึกข้อมูลได้มากถึง 650-800 MB เหมาะสาหรับบันทึกข้อมูล ประเภทมัลติมีเดีย ทาจากแผ่นพลาสติกทรงกลมเคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต แผ่นซีดีเมื่อเขียน ข้อมูลแล้ว 1 ครั้ง จะไม่สามารถลบหรือเขียนทับได้ จึงเรียกว่า CD-R ส่วนซีดีอีกชนิดที่สามารถลบ หรือเขียนข้อมูลซ้าได้หลายครั้ง เรียกว่า CD-RW การส่งข้อมูลออก หรือรับคาสั่งสามารถดาเนินการ ได้โดยตรง ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกับเครื่องอ่าน ซีดี-รอม โดยใช้ชุดคาสั่งสาเร็จรูป ซึ่งไม่ต้องผ่านการสื่อสารโทรคมนาคม 4.2 แผ่นวิดีทัศน์ หรือวีซีดี (VCD : Video Compact Disc) คือ จานบันทึกที่ สามารถบันทึกข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งต้องอ่านด้วยแสงเลเซอร์ และมีการแสดงผลบนจอของคอมพิวเตอร์ หรือจอโทรทัศน์ ทั้งนี้มีลักษณะทางกายภาพเหมือน ซีดีรอมทั่วไป 4.3 แผ่นดิจิทัลอเนกประสงค์ หรือดีวีดี (DVD : Digital Video Disc) เป็นแผ่น บันทึกข้อมูลเหมือนกับวีซีดี ทั้งนี้จะมีความต่างจากวีซีดีเพียงแค่ขนาดความจุของข้อมูล คือ สามารถ บันทึกข้อมูลได้มากถึง 8 เท่าของแผ่นซีดี หรือซีดีทั่วไป คือ จุได้ถึง 4.7 GB (กิกะไบต์) และความ ซับซ้อนการจัดเรียงข้อมูลภายในเท่านั้น ส่วนวิธีการเขียน และการอ่านข้อมูลต่างมีลักษณะเหมือนกัน คือใช้แสงเลเซอร์ 4.4 ฐานข้อมูล (Database) คือ แหล่งสารสนเทศที่มีการจัดเก็บไว้ในรูปแบบของ อิเล็กทรอนิกส์โดยอาศัยระบบจัดการฐานข้อมูล และระบบคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ทาให้การ