SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
จิตวิทยาการเรียนรู้
แนวคิด   ๑ .  การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำให้บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ .  การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ   ลักษณะสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น คือ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร   ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซ้ำๆ และมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทั้งทางปริมาณและคุณภาพ ๓ .  ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์   วัตถุประสงค์ของบทเรียน  เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้  สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม   เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑ .  องค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒ .  อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๓ .  อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้   จิตวิทยา   ตรงกับภาษาอังกฤษว่า   Psychology    มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก  2  คำ คือ Phyche  แปลว่า วิญญาณ กับ   Logos  แปลว่า การศึกษา     ตามรูปศัพท์   จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ    แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ การเรียนรู้    (Lrarning )  ตามความหมายทางจิตวิทยาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์   พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้    ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้   พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกำหนดโดย บลูม และคณะ  ( Bloom   and Others  )  มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน  ๓  ด้าน  ดังนี้ ๑ .  ด้านพุทธิพิสัย  ( Cognitive Domain )  คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจำ ความเข้าใจ  การนำไปใช้  การวิเคราะห์  การสังเคราะห์และประเมินผล ๒ .  ด้านเจตพิสัย  ( Affective Domain  )  คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก  ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ  ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม ๓ .  ด้านทักษะพิสัย  ( Psychomotor Domain )  คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว  การกระทำ  การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชำนาญ
๑ .  แรงขับ  ( Drive )  เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล  เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ  แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนำไปสู่การเรียนรู้ต่อไป ๒ .  สิ่งเร้า  ( Stimulus )  เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ  ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยา  หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู  กิจกรรมการสอน  และอุปกรณ์การสอนต่างๆ  ที่ครูนำมาใช้ องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้
๓ .  การตอบสนอง  ( Response )  เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้  เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง  คำพูด การคิด  การรับรู้  ความสนใจ และความรู้สึก  เป็นต้น ๔ .  การเสริมแรง  ( Reinforcement )  เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็นอันมาก
กระบวนการของการเรียนรู้มีขั้นตอนดังนี้คือ 1.   มีสิ่งเร้า ( Stimulus )  มาเร้าอินทรีย์   ( Organism )  2.   อินทรีย์เกิดการรับสัมผัส   ( Sensation )  ประสาทสัมผัสทั้งห้า   ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย 3.  ประสาทสัมผัสส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาทเกิดการรับรู้   ( Perception )  4.        สมองแปลผลออกมาว่าสิ่งที่สัมผัสคืออะไรเรียกว่าความคิดรวบยอด ( Conception )  5.   พฤติกรรมได้รับคำแปลผลทำให้เกิดความคิดรวบยอดก็จะเกิดการเรียนรู้   ( Learning ) 6.    เมื่อเกิดกระบวนการเรียนรู้บุคคลก็จะเกิดการตอบสนอง   ( Response)  พฤติกรรมนั้นๆ   กระบวนการของการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้   ( Theory of Learning )   ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข   ( Conditioning Theory )                  การเรียนรู้แบบนี้      คือ   การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข   ( Conditioning )  เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน   การวางเงื่อนไขมี   2  อย่างคือ   การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ   ( operant Conditioning )    
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning ) การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  ผู้คิดคือ อีวาน พาฟลอฟ ( Ivan Pavlov 1849-1936)  นักสรีระวิทยาชาวรัสเซีย   เขาทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมน้ำลายและต่อมน้ำย่อยของสัตว์   เพื่อการศึกษาระบบย่อยอาหาร   พาฟลอฟสังเกตว่าสัตว์จะเริ่มหลั่งน้ำลายเมื่อได้รับอาหาร   ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติไม่จำเป็นต้องมีการเรียนรู้   เขายังสังเกตด้วยอีกว่าสัตว์เริ่มหลั่งน้ำลายทันที   เมื่อเห็นผู้ทดลองที่เคยเป็นผู้ให้อาหารเข้ามาในห้องนั้น   หรือเมื่อมีใครยกจานอาหารของสุนัข   มันจะน้ำลายไหลเช่นกันราวกับว่ามันกำลังจะได้กินอาหารนั่น   คือสิ่งเร้าที่สัมพันธ์   (associated)  กับอาหารที่จะทำให้เกิดการตอบสนองได้เช่นกันกับตัวอาหารเอง   ปรากฏการณ์ดังกล่าวทำให้พาฟลอฟสนใจที่จะทำการทดลองเพื่ออธิบายเหตุผล   เพราะเขาคิดว่าจะเป็นพื้นฐานของทฤษฎีเกี่ยวกับการทำงานของสมอง   การทดลองของพาฟลอฟได้แสดงให้เห็นกฎเบื้องต้นของการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ก่อนการวางเงื่อนไข   UCS ( อาหาร )                                                                                                     UCR (  น้ำลายไหล   ) สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                        น้ำลายไหล   สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCS )  ทำให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCR ) UCS ( อาหาร )                                                                                                     สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                       UCR (  น้ำลายไหล   ) การให้สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไขควบคู่กับสิ่งเร้ากลางสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไขยังคงทำให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไขอยู่ต่อไป CS (  กระดิ่ง )                                                                                                    CR (  น้ำลายไหล   ) สิ่งเร้ากลางกลายมาเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข   ( CS )  และสามารถกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองที่วางเงื่อนไข   ( CR )  ได้    
ทฤษฎีสิ่งเสริมแรง   (Reinforcement Theory ) เบอร์ฮัส เฟดเดอริค สกินเนอร์   (Burrhus Federick Skinner)  นักจิตวิทยาพัฒนาทฤษฎีสิ่งเสรีมแรงเรียกว่า   สิ่งเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)  ใช้หลักการจูงใจแต่ละบุคคลให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม   โดยชการออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีบรรยากาศน่าทำงาน   ในการยกย่องชมเชยบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานดี   และใช้การลงโทษซึ่งทำให้เกิดผลลบแก่บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานต่ำมาก
สิ่งเสริมแรงและการลงโทษ (Reintorcement and Punishment)                  การให้รางวัลและการให้โทษในหน่วยงาน   องค์การเป็นที่ทราบกันดีว่า   มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคล   ถ้าเราต้องการให้บุคคลทำงานในแนวทางที่เหมาะสม   เราก็ควรจูงใจบุคคลเหล่านั้นโดยการให้สิ่งเสริมแรงเอให้เขาทำงานให้ตามที่เราต้องการ   จากผลการศึกษาเป็นจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า   การผู้บริหารมีการใช้วิธีการให้รางวัลและการให้โทษ   ย่อมมีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพการทำงาน   และความพอใจในการทำงานในกลุ่มบุคคล   ผู้ร่วมงาน   การให้รางวัลอย่างเหมาะสมคือ   ให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่มีผลงานดี   และไม่ให้รางวัลแก่บุคคลที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ   ผู้บริหารที่ไม่รู้จักให้รางวัลอย่างเหมาะสมจะทำให้บุคคลที่ทำงานเกิดความรู้สึกไม่พอใจว่า   ไม่ได้รับความยุติธรรม   ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง   และทำให้กลุ่มของผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความรู้สึกไม่พอใจมากขึ้น   ดังนั้นการรู้จักใช้การให้รางวัลอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความพอใจในการทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
สิ่งล่อใจ   (Incentives )                  สิ่งล่อใจ   จัดว่าเป็นการจูงใจโดยการให้รางวัล   นับว่ามีความสำคัญต่อการกระตุ้นพฤติกรรมสเปนซ์ (Spence)   เชื่อว่า   สิ่งล่อใจของทฤษฏีการจูงใจประกอบด้วย   ลัทธิพฤติกรรมและแนวทางความเข้าใจตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า   พฤติกรรมเป็นสิ่งชี้นำไปสู่จุดหมายปลายทางและบุคคลนั้นก็มีความพยายามที่จะทำให้ได้รับประเภทสิ่งล่อใจทางบวก ( สิ่งที่ปรารถนา )  และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งล่อใจทางลบ ( สิ่งที่ไม่ปรารถนา )
ประเภทของสิ่งล่อใจ   (Types of Incentives ) ประเภทที่   1  สิ่งล่อใจปฐมภูมิ (Primary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่สามารถทำให้เกิดความพึงพอใจในด้านความต้องการทางด้านสรีระ   เพื่อความมีชีวิตอยู่รอด   ได้แก่   ปัจจัย   5  คือ   อาหาร , เสื้อผ้า , ที่อยู่อาศัย , ยารักษาโรคและความต้องการทางเพศ ประเภทที่   2  สิ่งล่อใจทุติยภูมิ (Secondary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่ทำให้เกิดประสบการณ์แปลกใหม่   และมีการเร้าใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่การทำงานที่ตรงกับความสนใจ   ความถนัด   ท้าทายความสามารถหรือเป็นงานใหม่ที่ลดความจำเจซ้ำซาก  
ประเภทที่   3    สิ่งล่อใจทางสังคม   (Social Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับการให้การยอมรับยกย่องนับถือ   ให้ความไว้วางใจ   ให้ความเชื่อถือ   ให้อิสรภาพและการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะที่ดีในการทำงาน   โดยกระทำให้เป็นที่ปรากฏและรู้จักแก่เพื่อนร่วมงาน   ผู้บริหารงาน   ประเภทที่   4  สิ่งล่อใจที่เป็นเงิน   (Monetary Incentives)  สิ่งล่อใจที่เป็นเงินเป็นการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่บุคคลที่ทำงานมีผลงานดีหรือผลผลิตพิ่มขึ้น   หรือมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นสิ่งล่อใจให้บุคคลที่ทำงานดีอยู่แล้ว   หรือบุคคลที่ทำงานยังไม่ถึงเกณฑ์ระดับดีได้มีของขวัญและกำลังใจเพิ่มขึ้น
ประเภทที่   5   สิ่งล่อใจที่เป็นกิจกรรม (Activity Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมทำงานตามตำแหน่งหน้าที่   ผู้บริหารงานมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ผู้ทำงานได้ทำงานตรงกับความรู้ความสามารถ   ความสนใจ   ความถนัด   เพื่อเป็นการจูงใจในการทำงาน   ผู้บริหารงานสามารถจัดให้มีการแข่งขันในการทำงาน   โดยกำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนผลงานหรือผลผลิตภายในเวลาเท่าใดและกำหนดการให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่สามารถทำงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   วิธีดังกล่าวนี้จะเป็นการจูงใจผู้ทำงานเกิดความรู้สึกอยากจะทำงานให้มีผลงานหรือผลผลิตเพิ่มขึ้น
END

More Related Content

What's hot

จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้foonfriendly
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Prakul Jatakavon
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 

What's hot (14)

จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Viewers also liked

การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)jaacllassic
 
ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังpattaranit
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeajaacllassic
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
ข่าว It แอ็กซิส
ข่าว It แอ็กซิสข่าว It แอ็กซิส
ข่าว It แอ็กซิสJL'mind Chutimon
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 

Viewers also liked (8)

การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
การสอนแบบบรรยาย(Lecture)
 
ห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อังห้ามลบ101อัง
ห้ามลบ101อัง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข่าว It แอ็กซิส
ข่าว It แอ็กซิสข่าว It แอ็กซิส
ข่าว It แอ็กซิส
 
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows xp
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows xpการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows xp
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows xp
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
16342606 Modul Internet
16342606 Modul Internet16342606 Modul Internet
16342606 Modul Internet
 

Similar to งานดร.จิตวิทยา

จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1nan1799
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222tuphung
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาhadesza
 

Similar to งานดร.จิตวิทยา (20)

จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1จิตวทยาการเรียนรู้ 1
จิตวทยาการเรียนรู้ 1
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
Assure
AssureAssure
Assure
 

งานดร.จิตวิทยา

  • 2. แนวคิด ๑ . การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำให้บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ ลักษณะสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น คือ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซ้ำๆ และมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทั้งทางปริมาณและคุณภาพ ๓ . ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของบทเรียน เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑ . องค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒ . อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๓ . อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
  • 4. ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู้ จิตวิทยา   ตรงกับภาษาอังกฤษว่า   Psychology    มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ คือ Phyche  แปลว่า วิญญาณ กับ   Logos  แปลว่า การศึกษา     ตามรูปศัพท์   จิตวิทยาจึงแปลว่า วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ    แต่ในปัจจุบันี้ จิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย นั่นคือ จิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษากี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ การเรียนรู้    (Lrarning )  ตามความหมายทางจิตวิทยาหมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์   พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงที่ไม่จัดว่าเกิดจากการเรียนรู้    ได้แก่ ฤติกรรมที่เป็นการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
  • 5. จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายของนักการศึกษาซึ่งกำหนดโดย บลูม และคณะ ( Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน ๓ ด้าน ดังนี้ ๑ . ด้านพุทธิพิสัย ( Cognitive Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล ๒ . ด้านเจตพิสัย ( Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม ๓ . ด้านทักษะพิสัย ( Psychomotor Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทำ การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชำนาญ
  • 6. ๑ . แรงขับ ( Drive ) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนำไปสู่การเรียนรู้ต่อไป ๒ . สิ่งเร้า ( Stimulus ) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครูนำมาใช้ องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้
  • 7. ๓ . การตอบสนอง ( Response ) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คำพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น ๔ . การเสริมแรง ( Reinforcement ) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็นอันมาก
  • 8. กระบวนการของการเรียนรู้มีขั้นตอนดังนี้คือ 1.   มีสิ่งเร้า ( Stimulus )  มาเร้าอินทรีย์   ( Organism )  2.   อินทรีย์เกิดการรับสัมผัส   ( Sensation )  ประสาทสัมผัสทั้งห้า   ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย 3.  ประสาทสัมผัสส่งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสาทเกิดการรับรู้   ( Perception )  4.        สมองแปลผลออกมาว่าสิ่งที่สัมผัสคืออะไรเรียกว่าความคิดรวบยอด ( Conception )  5.   พฤติกรรมได้รับคำแปลผลทำให้เกิดความคิดรวบยอดก็จะเกิดการเรียนรู้   ( Learning ) 6.    เมื่อเกิดกระบวนการเรียนรู้บุคคลก็จะเกิดการตอบสนอง   ( Response)  พฤติกรรมนั้นๆ   กระบวนการของการเรียนรู้
  • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้   ( Theory of Learning ) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข   ( Conditioning Theory )                  การเรียนรู้แบบนี้     คือ   การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข   ( Conditioning )  เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน   การวางเงื่อนไขมี   2  อย่างคือ   การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ   ( operant Conditioning )    
  • 10. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning ) การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  ผู้คิดคือ อีวาน พาฟลอฟ ( Ivan Pavlov 1849-1936)  นักสรีระวิทยาชาวรัสเซีย   เขาทำการทดลองเกี่ยวกับต่อมน้ำลายและต่อมน้ำย่อยของสัตว์   เพื่อการศึกษาระบบย่อยอาหาร   พาฟลอฟสังเกตว่าสัตว์จะเริ่มหลั่งน้ำลายเมื่อได้รับอาหาร   ซึ่งพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติไม่จำเป็นต้องมีการเรียนรู้   เขายังสังเกตด้วยอีกว่าสัตว์เริ่มหลั่งน้ำลายทันที   เมื่อเห็นผู้ทดลองที่เคยเป็นผู้ให้อาหารเข้ามาในห้องนั้น   หรือเมื่อมีใครยกจานอาหารของสุนัข   มันจะน้ำลายไหลเช่นกันราวกับว่ามันกำลังจะได้กินอาหารนั่น คือสิ่งเร้าที่สัมพันธ์   (associated)  กับอาหารที่จะทำให้เกิดการตอบสนองได้เช่นกันกับตัวอาหารเอง   ปรากฏการณ์ดังกล่าวทำให้พาฟลอฟสนใจที่จะทำการทดลองเพื่ออธิบายเหตุผล   เพราะเขาคิดว่าจะเป็นพื้นฐานของทฤษฎีเกี่ยวกับการทำงานของสมอง   การทดลองของพาฟลอฟได้แสดงให้เห็นกฎเบื้องต้นของการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
  • 11. ก่อนการวางเงื่อนไข   UCS ( อาหาร )                                                                                                     UCR (  น้ำลายไหล   ) สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                        น้ำลายไหล   สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCS )  ทำให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไข   ( UCR ) UCS ( อาหาร )                                                                                                     สิ่งเร้ากลาง   (  กระดิ่ง )                                                                                       UCR (  น้ำลายไหล   ) การให้สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไขควบคู่กับสิ่งเร้ากลางสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไขยังคงทำให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วางเงื่อนไขอยู่ต่อไป CS (  กระดิ่ง )                                                                                                    CR (  น้ำลายไหล   ) สิ่งเร้ากลางกลายมาเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข   ( CS )  และสามารถกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองที่วางเงื่อนไข   ( CR )  ได้    
  • 12. ทฤษฎีสิ่งเสริมแรง   (Reinforcement Theory ) เบอร์ฮัส เฟดเดอริค สกินเนอร์   (Burrhus Federick Skinner)  นักจิตวิทยาพัฒนาทฤษฎีสิ่งเสรีมแรงเรียกว่า   สิ่งเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)  ใช้หลักการจูงใจแต่ละบุคคลให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม   โดยชการออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีบรรยากาศน่าทำงาน   ในการยกย่องชมเชยบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานดี   และใช้การลงโทษซึ่งทำให้เกิดผลลบแก่บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานต่ำมาก
  • 13. สิ่งเสริมแรงและการลงโทษ (Reintorcement and Punishment)                  การให้รางวัลและการให้โทษในหน่วยงาน   องค์การเป็นที่ทราบกันดีว่า   มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคล   ถ้าเราต้องการให้บุคคลทำงานในแนวทางที่เหมาะสม   เราก็ควรจูงใจบุคคลเหล่านั้นโดยการให้สิ่งเสริมแรงเอให้เขาทำงานให้ตามที่เราต้องการ   จากผลการศึกษาเป็นจำนวนมากแสดงให้เห็นว่า   การผู้บริหารมีการใช้วิธีการให้รางวัลและการให้โทษ   ย่อมมีผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพการทำงาน   และความพอใจในการทำงานในกลุ่มบุคคล   ผู้ร่วมงาน   การให้รางวัลอย่างเหมาะสมคือ   ให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่มีผลงานดี   และไม่ให้รางวัลแก่บุคคลที่ทำงานไม่มีประสิทธิภาพ   ผู้บริหารที่ไม่รู้จักให้รางวัลอย่างเหมาะสมจะทำให้บุคคลที่ทำงานเกิดความรู้สึกไม่พอใจว่า   ไม่ได้รับความยุติธรรม   ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง   และทำให้กลุ่มของผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความรู้สึกไม่พอใจมากขึ้น   ดังนั้นการรู้จักใช้การให้รางวัลอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความพอใจในการทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
  • 14. สิ่งล่อใจ   (Incentives )                  สิ่งล่อใจ   จัดว่าเป็นการจูงใจโดยการให้รางวัล   นับว่ามีความสำคัญต่อการกระตุ้นพฤติกรรมสเปนซ์ (Spence)   เชื่อว่า   สิ่งล่อใจของทฤษฏีการจูงใจประกอบด้วย   ลัทธิพฤติกรรมและแนวทางความเข้าใจตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่า   พฤติกรรมเป็นสิ่งชี้นำไปสู่จุดหมายปลายทางและบุคคลนั้นก็มีความพยายามที่จะทำให้ได้รับประเภทสิ่งล่อใจทางบวก ( สิ่งที่ปรารถนา )  และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งล่อใจทางลบ ( สิ่งที่ไม่ปรารถนา )
  • 15. ประเภทของสิ่งล่อใจ   (Types of Incentives ) ประเภทที่   1  สิ่งล่อใจปฐมภูมิ (Primary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่สามารถทำให้เกิดความพึงพอใจในด้านความต้องการทางด้านสรีระ   เพื่อความมีชีวิตอยู่รอด   ได้แก่   ปัจจัย   5  คือ   อาหาร , เสื้อผ้า , ที่อยู่อาศัย , ยารักษาโรคและความต้องการทางเพศ ประเภทที่   2  สิ่งล่อใจทุติยภูมิ (Secondary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่ทำให้เกิดประสบการณ์แปลกใหม่   และมีการเร้าใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่การทำงานที่ตรงกับความสนใจ   ความถนัด   ท้าทายความสามารถหรือเป็นงานใหม่ที่ลดความจำเจซ้ำซาก  
  • 16. ประเภทที่   3    สิ่งล่อใจทางสังคม   (Social Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับการให้การยอมรับยกย่องนับถือ   ให้ความไว้วางใจ   ให้ความเชื่อถือ   ให้อิสรภาพและการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะที่ดีในการทำงาน   โดยกระทำให้เป็นที่ปรากฏและรู้จักแก่เพื่อนร่วมงาน   ผู้บริหารงาน   ประเภทที่   4  สิ่งล่อใจที่เป็นเงิน   (Monetary Incentives)  สิ่งล่อใจที่เป็นเงินเป็นการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่บุคคลที่ทำงานมีผลงานดีหรือผลผลิตพิ่มขึ้น   หรือมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นสิ่งล่อใจให้บุคคลที่ทำงานดีอยู่แล้ว   หรือบุคคลที่ทำงานยังไม่ถึงเกณฑ์ระดับดีได้มีของขวัญและกำลังใจเพิ่มขึ้น
  • 17. ประเภทที่   5   สิ่งล่อใจที่เป็นกิจกรรม (Activity Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมทำงานตามตำแหน่งหน้าที่   ผู้บริหารงานมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ผู้ทำงานได้ทำงานตรงกับความรู้ความสามารถ   ความสนใจ   ความถนัด   เพื่อเป็นการจูงใจในการทำงาน   ผู้บริหารงานสามารถจัดให้มีการแข่งขันในการทำงาน   โดยกำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนผลงานหรือผลผลิตภายในเวลาเท่าใดและกำหนดการให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่สามารถทำงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   วิธีดังกล่าวนี้จะเป็นการจูงใจผู้ทำงานเกิดความรู้สึกอยากจะทำงานให้มีผลงานหรือผลผลิตเพิ่มขึ้น
  • 18. END