SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๐ --
ทรงยึดประโยชน์ของชาติและประชาเป็นกิจที่หนึ่ง
หลังจากได้รับปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด และเสด็จกลับถึงสยาม ได้
มีผู้กราบทูลให้ทรงบรรยายเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์เพื่อให้เป็นข่าว ได้ทรงแสดงความเห็น
ประทานไว้ดังนี้
“ฉันตั้งใจจะอยู่ในกรุงสยามตลอดไป คําลือหรือการคิดคาดทั้งหมดจะได้มาจากทางใดๆ ก็ดี เกี่ยวด้วย
หน้าที่ที่ฉันจะรับทํา หรืองานที่ฉันจะทํานั้นเป็นเรื่องไม่มีมูลเลย ยังไม่มีใครเลย จะเป็นรัฐบาลก็ดี หรือสถานที่เอกชนก็
ดี ได้ร้องขอให้ฉันรับหน้าที่อันใด ยังไม่มีการใดแน่นอนแก่ฉันเลย แต่อย่างไรก็ดี ในชั้นแรก การงานที่ฉันจะทํานั้น ก็
ต้องแล้วแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงพระกรุณาดํารัสสั่ง
และอย่างไรก็ดี ฉันหวังว่าฉันคงจะทําการเกี่ยวกับการแพทย์และการสาธารณสุขได้ต่อไปอยู่เสมอ และ
เมื่อมีเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นผู้ชํานาญช่วยแนะนําฉัน แล้วฉันคงจะได้รู้ฐานะที่เป็นจริงของคนไทยได้บ้าง และบางทีจะได้
ใช้ความรู้ที่ฉันได้รับจากการศึกษาต่างประเทศให้เป็นประโยชน์ได้บ้าง
ส่วนที่เกี่ยวด้วยงานรัฐบาลนั้น ฉันหวังว่าคงรับทําแต่เฉพาะที่ฉันมีวุฒิเหมาะ เพราะได้ฝึกฝนมาทางนั้นและ
ถูกแก่นิสสัยของฉัน และเมื่อจะให้ฉันรับหน้าที่ใดๆ ก็ดี ฉันคงจะได้รับการอุดหนุนในทางเงินและรับความช่วยเหลือจาก
คนทั่วๆ ไป พอเพื่อจะให้งานได้ผลดีจริงๆ
โดยความจงรักภักดีของฉันต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉันไม่สามารถจะรับหน้าที่ใดๆ ของรัฐบาล
เพียงแต่เป็นเครื่องประดับและรับเงินเดือนจากการทําเช่นนั้น ถ้าเรื่องเป็นเช่นนั้น ฉันรู้สึกว่าฉันควรออกจากหน้าที่นั้น
ดีกว่า และให้ข้าราชการที่ควรจะทํา และเป็นผู้ที่ต้องการได้เงินเดือนของรัฐบาลมากกว่าฉันเข้าทําแทน
โดยที่ต้องให้แพทย์ทําการตัดผ่าฉันอย่างใหญ่เมื่อเร็วๆ นี้ ความเป็นไปในอนามัยของฉันนั้น ทําให้ฉัน
จําต้องผ่อนๆ การเข้างานสมาคมแต่ทีละน้อย เพราะฉนั้น ฉันไม่คิดว่าในปีนี้ฉันจะไปงานสมาคมมากนัก”
ทรงให้หลักในการพิจารณาทุน
เมื่อกลับมาทรงงานในพระนครครั้งหลังนี้ ได้ทรงพระราชทุนการศึกษาให้แก่แพทย์และพยาบาลเช่น
ที่ได้ทรงปฏิบัติมาโดยตลอด ทั้งยังมีพระดําริเกี่ยวกับคุณสมบัติคุณวุฒิของผู้สมัคร ดังปรากฏอยู่ในเอกสาร
ใบแจ้งความดังนี้
“ไมเปนขอสําคัญวา ผูสมัครนั้นตองเปนผูเฉลียวฉลาดในการเรียน หรือเคยสอบไลไดคะแนนดีอยาง
สูงมา จริงอยูคุณวุฒินี้เปนอุปกรณสวนหนึ่ง แตขอสําคัญมีวาผูนั้นจะตองแสดงวาตนมีความฝกใฝใจเปนพิเศษ
และมีนิสสัยเหมาะกับวิชาที่ตนสมัครขอไปเรียน ผูสมัครจะตองแสดงวาในกรุงสยามตนไดเรียนวิชาเตรียม
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๑ --
เบื้องตนของวิชาที่สมัครไปเรียนนั้นตามที่จะหาเรียนไดหมดแลว ความรูในภาษาตางประเทศจะนับรวมเขาชวย
กับคุณวุฒิอื่นๆ ดวย โดยทั่วๆ ไปกอนที่จะใหไดรับตนสงไปเมืองตางประเทศ ผูสมัครจะตองแสดงวาตนได
ใชโอกาศหมดแลวในอันที่จะฝกฝนเรียนวิชาในกรุงสยาม
วาโดยทั่วไป ผูสมัครจะตองมีอนามัยที่สมบูรณและความประพฤติเรียบรอย และความตั้งใจรักจริงใน
วิชานั้น ความคิดอานตั้งใจที่จะทํางานเมื่อเสร็จจากการศึกษาแลวจะนับรวมเขาดวย ในใบสมัครของผูที่ยื่น
ขอรับทุนเลาเรียนวิชาในกรุงสยามก็จะไดวินิจฉัยโดยทํานองเดียวกันนี้ดวยแตไมสูจะเครงครัดมากเทาขอสมัคร
ไปศึกษาตางประเทศ “
จะเห็นได้ว่าทรงให้ความตั้งใจมุ่งมั่นในการเรียนเพื่อทําประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติและสังคม
มากกว่าความเฉลียวฉลาด หรือผลคะแนนสูงๆ ที่ได้ผ่านมา เช่น นพ. จํารัส ศิริสัมพันธ์ ซึ่งได้รับทุนส่วน
พระองค์ไปเรียนต่อด้านสูติ-นรีเวช นั้นมีผลการเรียนไม่ดีนัก ทั้งยังได้รับจดหมายแนะนําจาก ศ.นพ.เทียว
บอลด์ ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชามีส่วนหนึ่งระบุว่า “เขาเปนคนไมสูฉลาดเหมือนเพื่อนแพทยของเขาทั้งหลาย แต
พรอมที่จะเรียนรูอยูเสมอ (He is not so clever as his colleagues, but is always
very ready to learn.)” ตลอดจนได้รับการกล่าวถึงจาก นพ. โนเบิล ซึ่งเป็นแพทย์ประจํา
พระองค์ว่า “หมอจํารัสเป็นคนไม่ฉลาด ที่ฉลาดกว่ามีหลายคน เหตุไฉนจึงทรงไม่ประทาน” ทรงตรัสตอบว่า “คน
ไม่ฉลาดนั่นแหล่ะดี ไว้ใจได้ว่าไม่โกง”
นอกจากนั้น ยังทรงให้ความสําคัญในการประหยัดค่าใช้จ่ายด้วยการกําหนดว่าวิชาที่จะไปเรียนนั้น
ต้องมิใช่วิชาที่มีสอนอยู่ในเมืองไทยอยู่แล้ว ส่วนหนึ่งของการแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นของผู้สมัครคือต้อง
เตรียมตัวในเรื่องภาษาให้พร้อมด้วย จะไม่ทรงโปรดหากผู้สมัครเป็นนักเรียนทุนไม่เตรียมแผนการศึกษาให้ดี
หรือหากพยายามตอบแบบเอาพระทัยว่า “แล้วแต่จะทรงโปรด” เมื่อทรงถามว่าตั้งใจจะไปเรียนอะไร
นพ. จํารัส ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าในวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๒ เล่าว่าทรงมีพระวินิจฉัยว่า “ฉันจะ
ส่งไปเรียนต่างประเทศ” เพราะ “ไม่ต้องการคนฉลาด แต่ต้องการคนขยันหมั่นเพียร” แต่ทรงกําชับว่าต้องปรึกษา
หมอเทียวบอลด์ที่เป็นผู้บังคับบัญชาว่าจะให้ไปเรียนที่ไหน ทรงห่วงใยสอบถามถึงครอบครัวของนักเรียนทุน
ทรงตรัสถามว่า “มีเมียหรือยัง “ เมื่อทูลตอบว่า “ยัง” ก็ทรงรับสั่งอย่างเป็นกันเองว่า “การมีเมียนั้นจะเอาไป
ด้วยกันก็ได้ แต่เป็นการรู้มากแก่ตัวเกินไป เพราะมีความสุขในการปรนนิบัติแต่ก็เป็นการหนักใจมาก เช่น นาย... เป็น
ต้น พาเมียไปทีแรกก็สบายดี พอมีลูกเต้าก็เกิดกังวล ฉันเองก็เหมือนกัน แม้จะทํางานวันยังค่ําก็ยังอดเป็นห่วงไม่ได้
หรือมีแต่ไม่เอาไปก็อีกนั่นแหล่ะ ต่างก็คิดถึงกัน เช่น นาย .... เป็นต้น พบกันทีไรต้องบ่นคิดถึงเมียทุกครั้ง การมีคู่รัก
คู่หมั้นก็ไม่ดีอีก ตั้งหน้าแต่จะส่งข่าวถึงกัน การห่างกันนานๆ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมักจะเกิดเปลี่ยนใจ ถ้าฝ่ายหญิงเปลี่ยนใจ
เราก็มาก็หน้าแหงไป ถ้าเราเปลี่ยนใจก็ถูกเขาด่า” รับสั่งพลางทรงพระสรวลพลาง
ยังทรงตรัสถามอีกด้วยว่า “อยากเป็นคนมั่งมีหรือมีชื่อเสียง” เมื่อได้รับคําตอบจาก นพ. จํารัส ศิริ
สัมพันธ์ ว่า “อยากเป็นคนมีชื่อเสียง” ทรงตบพระหัตถ์ด้วยความพอพระทัยว่า “ใช้ได้” เป็นหมอไม่มั่งมี หาก
อยากเป็นคนมั่งมีแล้วต้องเป็นพ่อค้า หรือ ขุนนางเลีย ... รับสั่งเพิ่มเติมว่า “เรียนจบสองปีแล้วอยากจะเรียนอะไร
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๒ --
ต่อไปอีกก็ไม่ว่าเรียนแล้วเกิดไม่สมัครใจกลับเมืองไทยก็ไม่ว่า หรือกลับมาแล้วจะไม่รับราชการก็ไม่ว่า ขอแต่อย่าง
เดียวเท่านั้นคือขอให้เป็นคนดี “และเมื่อจะถึงวันเดินทางทรงให้คําแนะนําเพิ่มเติมว่า “หมอจํารัส ไปถึงแล้วอย่า
เอาแต่ก้มหน้าเอาแต่เรียนๆๆ ไปถึงไหนจงเปิดหูเปิดตาว่าเขามีอะไรทําอะไรกันที่ไหน ต้องให้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง” ทั้งยัง
ทรงอนุเคราะห์ตรวจสอบกระเป๋าเดินทางว่าได้บรรจุข้าวของเครื่องใช้จําเป็นไปอย่างครบถ้วนหรือไม่ ด้วย
พระองค์เอง
หลักธรรมแห่งการแพทย์สยาม
ได้ทรงสมัครเป็นสมาชิกแพทยสมาคมแห่งกรุงสยาม เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๔๗๒ มีลําดับ
สมาชิกเลขที่ ๓๘๗ เพื่อเป็นการแสดงให้สาธารณชนเห็นและตระหนักถึงความสําคัญแห่งบทบาทของสมาคม
วิชาชีพ ทั้งที่โดยพระองค์เองก็ทรงมีพระเกียรติยศสูงศักดิ์ทั้งในฐานะองค์รัชทายาท และองค์อุปถัมภกของ
ของสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว (ในฐานะองค์อุปถัมภ์ได้ทรงพระราชทานทุน
ต่างประเทศให้กับนักเรียนเพิ่มขึ้นถึง ๑๐ ทุน ในสาขาการแพทย์ สาธารณสุข และพยาบาล ฯลฯ)๘๑
ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นแพทย์ผู้อุทิศตนให้กับงานอาชีพ และสังคม ดังได้มีลายพระราช
หัตถ์จดหมาย ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๒๘๒
ถึงนายกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณ์ ในคราวที่สโมสร
ฯ ได้ถวายการเลี้ยงแสดงความปลื้มปิติยินดี ความว่า ….
----------------------------------------------------------------------------------------------------
๒๙๑ ถนนพระราม ๑
อําเภอปทุมวัน กรุงเทพฯ
วันที่ ๔ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๗๑๘๓
แจงความมายัง ทานสภานายก และสมาชิกสโมสรแพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ในขณะมีการเลี้ยงดู ณ สมาชิกสโมสรแพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลวงเฉลิมคัมภีรเวชช
ไดขอใหขาพเจากลาววาจา แตขาพเจามิไดรับเพราะรูสึกวาเสียงออน จะสงใหถึงสี่มุมสนามไมได จึงเกรง
วาจะลําบากแกผูฟงและเสียเวลา ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงขอถือโอกาส แสดงความยินดีที่ไดไปพบกับทาน
๘๑
ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๑ - ๒๔๗๒ นั้น มีความแตกต่างทางความคิดระหว่างแพทย์บางประการ มีการจัดตั้งองค์กรแพทย์
ขึ้น ๒ องค์กร คือ แพทยสมาคมที่ทรงสมัครเป็นสมาชิก และสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (การรวมตัวกันของ
บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) ที่ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ นับเป็นพระกุศโลบายสําคัญ
ในการพยายามสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่แพทย์ทั้งหลาย
๘๒
จดหมายฉบับนี้เป็นตัวอย่างแสดงให้เห็นชัดว่าพระองค์ท่านให้ความสําคัญแก่ความสามัคคีกลมเกลียวของหมู่คณะเป็น
อย่างมาก ทั้งยังแสดงให้เห็นถึงการให้เกียรติต่อทุกคําพูดที่ท่านได้อ้างอิงมา (Quote) ไม่ทรงละเลยที่จะระบุถึงแหล่งที่มา
๘๓
ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๓ --
ทั้งหลาย และขอขอบใจทานที่ไดมีใจอารีเชิญขาพเจาไปรวมสมาคมเลี้ยงดูแข็งแรง ทําใหเกิดความรําลึกถึง
ดวยความภาคภูมิใจ วาขาพเจาไดรับเกียรติยศเปน ภราดรแพทย ผูหนึ่งในคณะของทาน
แพทยวิทยาผิดกับดาราศาสตรหรือวิชาคํานวณทั้งสองอยางนี้เปนวิทยาศาสตรแมน คํานวณไดถึง วัน
ยาม นาที วินาที และตัวเลขถึง ๐.๐๐๐,๐๐๐,๐๑ มีคิดระวางนัทธิกับอามะอยางแนๆ สวนวิชาแพทยนั้นเปน
วิชาแมนแตบางสวน แตเปนทั้งวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร ดวยเหตุนี้ผูประกอบโรคศิลปะ นอกจากจะเปน
นักวิทยาศาสตร ยังตองสมบูรณดวยคุณลักษณะอยางอื่นอีกหลายประการ จึงจะเปนผูทําการไดสําเร็จ
คุณลักษณะสําคัญในการเปนแพทย คือความเชื่อถือไวใจ
๑. ตองมีความเชื่อในความสามารถของตนเอง คือความมั่นใจ
๒. ตองมีความไววางใจระหวางแพทยดวยกัน คือความเปนปกแผน
๓. ตองไดรับความเชื่อถือจากคนไขของทาน คือ ความไววางใจของคณะชน
คุณสมบัติสามประการนี้เปนอาวุธเกราะ และเครื่องประดับอันงามของแพทย
ทานควรยกยองคณะที่ใหการศึกษาแกทาน ทานควรมีความภูมิใจในคณะของทาน และทานไมควร
เรียนวิชาขึ้นใจแลวใชเปนเครื่องมือหากินเทานั้น ควรเก็บคําสอนใสใจและประพฤติตาม ผูที่จะบําบัดทุกขตอง
เปนตัวอยางความประพฤติ ซึ่งจะนํามาแหงสุขภาพ แพทยที่ไมประพฤติตามที่ตัวสอนแกคนไขแลว จะหา
ความไวใจจากคนไขอยางไรได
ทานตองมีความเชื่อในตัวเอง แตไมใชอวดดี ทานตองรูสึกความรับผิดชอบและทําไปดวยความตั้งใจ
ดี
พวกเราแพทยแผนปจจุบัน มักยิ้มเยาะแพทยแผนโบราณ วาใชยาไมมีหลักวิทยาศาสตร แตกระนั้น
ในประเทศสยามก็ไดมีแพทยแผนโบราณหลายทาน ที่ศักดิ์สิทธิ์จริงๆ ประกอบดวยความสังเกตอันสุขุมและ
ความจริงใจ แพทยเหลานั้นทําการเปนผล คือรักษาทางใจ แพทยมีความเชื่อรุนแรงพอ จึงสงความเชื่ออัน
นี้เขาไปถึงใจคนไขได คนไขจึงมีใจดี ทานก็ทราบอยูแลววา ความวิตก ความกลุมทําใหโรคอวัยวะ เชน
หัวใจ โรคไหลเวียนโลหิต โรคเสนประสาท และโรคไตบางอยางกําเริบได โรคอุปทาน (ฮีสทีเรีย)
ปลอมอาการของโรคอวัยวะไดคลายโรคจริงๆ อยางไร
แพทยผูไมเชื่อในสิ่งที่ตนทํา แตพูดหลอกใหคนไขเชื่อ นั้นคือแพทยทุจริต ที่ภาษาอังกฤษเรียกวา
“แควก” ถึงแมผูนั้นจะไดรับการศึกษาวิทยาศาสตร
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๔ --
ทานนายแพทยบุญเดสเซน ไดกลาววา “นักสุขวิทยาทุกคน จะตองอยูกินเปนตัวอยางสุขภาพ จึงจะ
เปนพอคาความสุขดี”๘๔
ในขณะที่ทานประกอบกิจการแพทย อยานึกวาทานตัวคนเดียว จงนึกวาทานเปนสมาชิกของ “สงฆ”
คณะหนึ่งคือคณะแพทย ทานทําดีหรือรายในความเชื่อถือหรือดูถูก เพื่อนแพทยอื่นๆ จะพลอยยินดีหรือเจ็บรอน
อับอายดวย นึกถึงความรับผิดชอบตอผูเปนแพทยดวยกัน
แพทยทุกคนมีกิจแสดงความกลมเกลียว ในคณะแพทยตอสาธารณชน เมื่อเกิดความเลื่อมใสใน
คณะแพทยขึ้นในหมูประชนแลว ผูที่จะตั้งตนทําการแพทย ถึงจะยังไมไดมีโอกาสตั้งตัวในความไวใจของคน
ก็จะไดสวนความไวใจเพราะเปนสมาชิกของคณะที่มีผูนับถือ เราเห็นพระบวชใหมที่ยังไมไดเปนสมภารเราก็
ยกมือไหว เพราะเรามีความนับถือในลัทธิของพระสงฆ ฉันใดก็ดี แพทยหนุมก็ไดรับความไวใจ เพราะคณะ
ของเขาเปนที่นาไวใจ เพราะฉะนั้น ความประพฤติดีของแพทยบุคคลนํามาซึ่งประโยชนแกแพทยใหม และเรา
ก็อยากจะชวยผูที่ตั้งตนในอาชีพของเราเสมอไป
ทานโฮเมอร คาลเวอร ไดกลาวไววา “ทีแรกมีผูเกรงวาวิชาแพทยปองกัน หรือสาธารณสุข จะ
ทําลายการหากินของแพทยรักษาพยาบาล ครั้นตรวจดูแลว กลับตรงกันขาม ความกลมเกลียวระหวางแพทย
ปองกันและแพทยรักษา กลับทําใหแพทยรักษาทํามาหากินดี”๘๕
ฉนั้นการสมาคมกันแลกเปลี่ยนความรูความ
ชํานาญแทนที่จะหวงวิชา หรือแกงแยง การรวมมือรวมใจกับเจาหนาที่สาธารณสุขกลับนําผลมาใหทั้งสองขาง
ทานศาสตราจารย เทารซิก ไดกลาวไววา “การคาแลกเปลี่ยนกันโดยคลองธรรม ยอมนําโภคทรัพย
มาใหทั้งสองฝาย ไมวาจะเปนการคาขายวัตถุ หรือแลกเปลี่ยนวิชา ยอมจะนําความเจริญมาใหทั้งสองขาง
เชนกัน”๘๖
การจะไดรับความไวใจของคนไข ขอทานถือ สุภาษิตวา “ใจเขาใจเรา” ทานคงจะคิดไดวา ทาน
อยากไดความสบายแกตัวทานอยางไร ก็ควรใหความสบายแกคนไขอยางนั้น๘๗
ความจริงตั้งใจเปนยา
ประเสริฐไดผลคือความเชื่อ และเมื่อคนเชื่อทานแลว เขาจะทําตามทุกอยาง คนไขโดยมากอยากรูความจริง
๘๔
Herman N. Bundesen “Selling Health – A Vital Duty” American Journal of Public Health Vol. 18 No. 12 p
1451, 1928
๘๕
Homer N. Calver “Whole Sale and Retail Life Saving” Journal of American Medical Association Vol. 91 p.
1285 Oct. 1928
๘๖
F.W. Taussig “Principles of Economics” Macmillan New York 1912
๘๗
สุภาษิตบาลี อตฺตานํ อุปมํ กเร นี้คือคติพจน์ (Motto) ของมหาวิทยาลัยมหิดล และปรากฏบนตราสัญญลักษณ์ของ
มหาวิทยาลัย
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๕ --
เราไมเชื่อความหลอกลวงของเราเอง แลวที่ไหนจะหวังใหคนไขเชื่อ ถาทานหลอกคนไขแลว ทานก็ตอง
รักษาเขาไดหนเดียว โลกนี้เล็ก ถาทานไมใหยาจนเขาตายเลยทานจะเจอเขาอีก และเขามีปากบอกความชั่ว
ความดีกันไปตอๆ
ทานศาสตราจารยแคโบต ไดสอนใหกลาวความจริงเสมอ เพราะทานถือวาคนไขโดยมากทนความ
จริงที่พูดตรงๆ ไดดีกวาความจริงที่ไดรูเขาเมื่อจับความเท็จของทานไดแลว ทานระวังบอกแตสิ่งที่เปนไป
จริงๆ ไมใชสิ่งที่ทานทายวาจะเปน หรือจะไมเปน เชนการทํานายผลสุดทาย (ปรอคโนสิส) ถาทานมานึกดู
ใหดีแลว ทานจะบอกคนไขไดยาก เพราะโดยมากก็เปนการเดา แตถาทานมีหลักฐานบอกไดแนแลว กลับ
ชวยใหคนไขไดสติเตรียมจะตายหรือจะพิการ หรือจะหวังหาย ทํานายแนไมใครจะทําอันตราย ทํานายเดา
นั้นเปนสิ่งอันตรายมาก อาจารยโดยมากจึงสอนใหปด
ในการรักษาคนไขนั้น ขาพเจาเห็นมีสุภาษิตดีอันหนึ่ง ซึ่งทานศาสตราจารยพีบอดี ผูลวงลับไปแลว
ไดกลาววา “ความลับของการรักษาคนไขนั้น คือการรักคนไข”๘๘
ความเชื่อสามประการดังกลาว ทานไดปฏิบัติสําเร็จดวยการตั้งสโมสรนี้
การที่ใหนามสโมสรนี้วา “แพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” นั้น แสดงวาทานมีความเชื่อถือ
และภูมิใจในโรงเรียนของเรา ทานถือตัวทานวาเปนศิษยมีครู ทานเชิดชูโรงเรียนของทานไมอับอายปดบัง
และทานไดมีความรูสึกมีความรับผิดชอบตอโรงเรียน ทานจึงเอาชื่ออันเปนพระบรมนามาภิไธยของปยมหาราช
ของเราไปใช เพราะทานตั้งใจบําเพ็ญตนใหเปนที่ไววางใจ และเชื่อในความสามารถของทาน วาจะรักษา
ชื่อนี้ไวไดไมใหเสีย
ทานตั้งสถานที่ประชุมแลกเปลี่ยนความอารีเปนสามัคคีกันนับวาทําการบําเพ็ญความเชื่อถือของคณะ
และอุดหนุนซึ่งกันและกัน
ทานตกแตง “หนังสือขาวแพทย” เพื่อความรูความเขาใจแกสาธารณชน และเชิญผูไมเปนแพทยมา
สมาคมกับแพทย ความคุนเคยสวนตัว ยอมนํามาซึ่งความไวใจ
ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงมีความโสมนัส อวยพรใหสโมสรนี้รุงเรือง ใหหนังสือ “ขาวแพทย”๘๙
แพรหลาย และใหสมาชิกทุกคนสมบูรณในกิจอาชีพ ที่เปนกําลังทั้งรักษาและปองกันประชาชนสยาม ใหพน
จากโรคภัยทั้งหลาย ขอใหเจริญยิ่งๆ เทอญ
๘๘
Francis W. Peabody “The Care of Patient” Journal of American Medical Association Vol.78 p.877 March 1927
๘๙
ในช่วงขณะนั้น นายกสโมสรแพทย์จุฬาฯ คือ นพ. เฉลิม พรหมมาศ ส่วน บก. หนังสือข่าวแพทย์ คือ นพ. นิตย์ เวชช
วิศิษฏ์ ที่ต่างล้วนได้รับทุนไปศึกษาต่างประเทศจากพระองค์ท่าน
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๖ --
ดวยความนับถือ
(ลงพระนาม) มหิดล
----------------------------------------------------------------------------------------------------
ทรงสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ทรงเห็นว่าการสําเร็จปริญญานั้นเป็นเพียงจุดเริ่มของการศึกษาตลอดชีพ ดังที่ได้พระราชทานทุน
“ทุนสอนและค้นคว้าของโรงพยาบาลศิริราช” แก่แพทย์ที่สําเร็จใหม่ ๒ ทุน เพื่อสนับสนุนให้มีการค้นคว้า
ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เป็นเงินเดือนๆ ละ ๑๐๐ บาท๙๐
ซึ่งหากผู้ได้รับทุนปฏิบัติงานได้ดี มีรายงาน
วิทยานิพนธ์เป็นที่ยอมรับของคณะจะได้เงินพิเศษ ๗๒๐ บาทเมื่อสิ้นสุดทุน กระทั่งอาจได้รับทุนไปศึกษา
ต่างประเทศ พร้อมมีลายพระหัตถ์ถึง ดร. เอลลิส ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๔๗๒ ว่า
----------------------------------------------------------------------------------------------------
วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๑๙๑
แจงความมายัง ดอกเตอร เอลลิส๙๒
การเรียนจบตามหลักสูตรแพทยที่กําหนดนั้น ไมไดหมายความวานักเรียนไดเรียนรูการแพทยหมดแลว
แตเปนการตรงกันขาม การที่เรียนจบนั้นเปนแตเพียงขั้นหนึ่งของวิชาการศึกษาทางแพทย คือวาความจริงนัก
รียนผูนั้นไดเรียนจบตามตํารา และบัดนี้เปนผูที่สมควร และสามารถจะรับผิดชอบในการเรียนตางๆ ที่เกี่ยวกับ
สุขภาพของประชาชนที่ไมสมบูรณโดยวิธีการทําจริง และโดยลําพังตนเองไดเทานั้น เปนการเรียนวิชาแพทย
ตอ แตเปนโดยวิธีการที่ตางกับวิธีเดิมบางเล็กนอย จะเปนแพทยที่ดีตอไปในภายหนาไมได นอกจากแพทยผู
นั้นเมื่อสําเร็จวิชามาใหมๆ จะรูสึกวาตนเองจะตองยังคงเปนนักเรียนอยูตอไปอีกตลอดเวลาที่ทําการแพทยนั้น
๙๐
ทรงมีพระราชวินิฉัย “การเลี้ยงหมอต้องเลี้ยงให้อิ่ม เขาจะได้มีแก่ใจทํางาน” ในสมัยปี พ.ศ. ๒๔๗๒ แพทย์ประกาศณีย
บัตรได้รับเงินเดือน ๖๐ บาท ในขณะที่นักกฏหมายได้ ๑๖๐ บาท จึงทรงยกระดับให้แพทย์ปริญญาได้เงิน ๑๖๐ บาทเท่านัก
กฏหมาย ต่อมาเมื่อมีผู้สําเร็จการศึกษาจากต่างประเทศได้เงิน ๒๔๐ บาท สมเด็จฯ พระบรมราชชนกได้ทรงสมทบเงินเพิ่ม
กับนักเรียนทุนส่วนพระองค์อีก ๑๖๐ บาท รวมเป็น ๔๐๐ บาท ซึ่งนับว่าเหลือเฟือมากสําหรับยุคสมัยที่ก๋วยเตี๋ยวชามละ ๕
สตางค์
๙๑
ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี
๙๒
จดหมายฉบับนี้เดิมทีเป็นภาษาอังกฤษ จึงมีลักษณะแตกต่างกันไปบ้างในแหล่งอ้างอิงอื่นตามสํานวนแปลของผู้ถอด
ความ สําหรับในหนังสือเล่มนี้จะใช้สํานวนฉบับหม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิต ทรงพิมพ์แจกในงานพิธีเปิดตึกคณะ
แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๔
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๗ --
ดวยเหตุนี้ ฉันเห็นวาผูที่สําเร็จจากการศึกษาวิชาแพทยมาใหมๆ ควรจะใหไดมีโอกาสที่จะตั้งตน
ดําเนินการในชีวิตของเขา ความจริงก็เปนแตเพียงการศึกษาอีกอันหนึ่ง โดยใหทํางานในหนาที่แพทย
ประจําบานหรือทํางานในหองทดลองวิทยาศาสตรอยางนอยสักหนึ่งป และใหอยูในความควบคุมดูแลแนะนํา
ของผูที่มีความชํานาญกวา จนกวาตนเองจะมีความเชื่อมั่นในตนเองพอ และมีความรูสึกในความรับผิดชอบ
ของตนพอที่จะตั้งตนทําการโดยลําพังตนเองได เปนที่นาเสียดายวา การที่จะฝกหัดในโรงพยาบาลเมื่อสําเร็จ
การศึกษาแลวนั้น ยังยากและอยูในวงจํากัด เพราะฉะนั้นฉันจึงไดจัดตั้งทุนนี้ไวใหแกนักเรียนที่เรียนจบปนี้
ซึ่งยังไมไดฝกหัดในโรงพยาบาล เพื่อที่จะใหโอกาสเขาไดทําการฝกฝนจริง อยูในความควบคุมดูแลของผู
ชํานาญในวิชาแพทยพิเศษบางแผนก
การที่ฉันตั้งทุนนี้ ที่จริงเปนเพียงการทดลองและตั้งไวชั่วเฉพาะปหนึ่งกอน ตอไปในภายหนาหวังวา
เราคงสามารถจะวินิจฉัยได วาทุนชนิดนี้จะเปนผลอุปกรณแกความตองการของโรงเรียนเราไดหรือไม และยัง
จะตองแกไขตอไปในภายหนา เพื่อจะยังประโยชนที่ดีที่สุดใหแกการศึกษาวิชาแพทยในกรุงสยาม
สําหรับเวลานี้ฉันขอใหทุนไวสองตําแหนง โดยมีขอบังคับดังตอไปนี้
(๑)ทุนนี้ใหชื่อวา “ทุนเพื่อการสืบคนควาและการสอนในโรงพยาบาลศิริราช”
(๒)ความประสงคในการตั้งทุนนี้ ก็เพื่อใหผูรับไดทําการฝกฝนจริงๆ ในวิชาแพทยบางแผนกตอไป หวัง
ประโยชนที่จะเตรียมผูนั้นใหสามรถทําการสืบคนควาไดตามลําพังตนเองไดตอไปในภายภาคหนา ให
เขาสามารถไดความรูชะนิดที่ถูกในความเชื่อมั่นในตนเองอันเปนของจําเปนสําหรับการงานในวิชาชีพ
เพื่อที่จะใหรูสึกตนดีวาแทจริงตนมีความรับผิดชอบอยางใหญในหนาที่ของวิชานั้นเพื่อเพิ่มพูนความ
สนใจ และความเขาใจของเขาในเรื่องอนามัยที่ไมสมบูรณใหมากขึ้น และในที่สุดก็เพื่อจะรุกเราความ
ปรารถนาของเขา ใหเขาอยากสอน อยากแบงความรูเพื่อเปนเครื่องชวยชักนําใหประชาชนชาวสยาม
ทราบดีวาการที่มีรางกายและใจอันสมบูรณนั้นมีคาเพียงไร
(๓) ทุนนี้รายหนึ่งๆ ใหจายเปนเงินเดือนๆ ละ รอยบาท ตั้งตนแตเดือนเมษายนจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม
พ.ศ.๒๔๗๒ เมื่อสิ้นป ถาผูไดรับทุนนั้นทําการใหเปนที่พอใจและเรียบเรียงแตงเรื่องแถลงถึงผล
การศึกษาสืบคนควานั้นเปนหลักฐานมาแสดงจนเปนที่พอใจของคณะอาจารยแหงคณะแพทยศาสตร ใน
มหาวิทยาลัยแลว จะจายเงินรางวัลใหเปนเงินเจ็ดรอยยี่สิบบาท
(๔)ทุนนี้ไมไดทําใหผูไดรับคกินคาอยูเปลาๆ ที่โรงพยาบาล แตเรื่องที่อยูนั้นอาจจะพูดจาตกลงกับ
เจาหนาที่ของโรงพยาบาลได
(๕)นอกจากหนาที่พิเศษนี้แลว ขอใหคณะครูยอมนับผูที่ไดรับทุนนี้เขาในจําพวกเจาหนาที่ในการสอนเปน
เครื่องทดแทนการที่ผูนั้นไดเปนผูชวยทํางานในโรงพยาบาล และโรงเรียนและการสอนประจํา
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๘ --
(๖)ใหคณะครูมีอํานาจที่จะวินิจฉัยถึงสภาพและวงขอบของทุนสองตําแหนงนี้ ที่จะเลือกสรรผูที่ควรไดรับทุน
นี้จากนักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรปนี้ และไดยื่นใบสมัครไว ทั้งมีอํานาจที่จะสั่งใหผูนั้นเขาทํางานใน
แผนกใดก็แลวแต เห็นวาแผนกนั้นตองการผูชวย และเปนแผนกที่จะทําการใหไดสมประสงคในเรื่องนี้
ใหคณะครูสั่งงานและดูแลควบคุมงานของผูนั้น ทั้งใหเปนผูสอดสองดูดวยวาผูนั้นไดทําการสําเร็จไป
เพียงใด กับทั้งใหเปนผูวินิจฉัยในชั้นสุดทายดวยวา ผูนั้นไดทําความดีพิเศษอันควรไดรับรางวัล
ดังกลาวมาขางตนหรือไม
(๗)ถาผูรับทุนนั้นคนใดคนหนึ่ง หรือทั้งสองคน ไดแสดงความสามารถเปนพิเศษ ผูนั้นอาจไดรับทุนไป
ศึกษาตอ ณ ตางประเทศในภายหลัง
(๘)เรื่องที่จะเรียบเรียงแตงขึ้นนั้น จะตองเปนเรื่องใหมไมไดคัดลอกมา และทําโดยลําพังตนเอง มี
คําอธิบายเทาถึงประวัติศาสตรของเรื่องนั้น สิ่งเหลานี้ถือเปนคุณสมบัติของเรื่องนั้น ลักษณะของเรื่องนั้น
เปนสวนสําคัญอันหนึ่งที่จะใชในการวินิจฉัยวาผูนั้นควรไดรับรางวัลหรือไม
(๙)คาใชจายในการทําการสืบคนควานี้ แผนกที่ผูรับทุนไปทําการอยูดวยกับผูรับทุนจะตองชวยกันออก
ตามที่ผูรับทุนกับหัวหนาแผนกนั้นจะไดตกลงกัน นอกจากจะไดทุนพิเศษมาจากทางอื่นชวย
(๑๐)ผูสมัครจะตองเปนผูมีจรรยาดี ฝกใฝในงานของตน และมีกําลังกายและใจอันสมบูรณ
ขอใหผูสมัครมายื่นใบสมัคร การเลือกคัดนั้นจะตองทําใหทันในกําหนดใหมีเวลาพอที่จะรองขอการ
ผอนผันในการเกณฑทหารได
โดยความนับถือ
(ลงพระนาม) มหิดลสงขลา
----------------------------------------------------------------------------------------------------
ซึ่งหากพิจารณารายละเอียดในจดหมายพระราชหัตถเลขาฉบับประวัติศาสตร์นี้ จะพบว่าครอบคลุม
หลักการสําคัญที่ว่าด้วยการให้และการจัดสรรทุนวิจัย กรอบการพิจารณาทุนวิจัย การอบรมและพัฒนา
บุคลากร ตลอดไปจนถึงเรื่องหลักสูตรวิสาหกิจ ฯลฯ ที่กําลังเป็นที่สนใจของบุคลากรอุดมศึกษาในยุค ๘๐
ปี ให้หลังไว้อย่างครบถ้วน นับว่าเป็นพระวินิจฉัยที่ทันต่อกาลสมัย (อกาลิโก) โดยแท้
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๙ --
ทรงเลือกประทานคําสอนตามกาละและเทศะที่เหมาะสม
เมื่อทรงพระราชทุนการศึกษาแก่ผู้ใดก็มักจะหาโอกาสในการให้โอวาทในจังหวะและเวลาอัน
เหมาะสมอยู่เสมอ เช่นครั้งหนึ่งเมื่อนายสวัสดิ์ แดงสว่าง นักเรียนทุนส่วนพระองค์ ได้ส่วนลดค่าเรือโดยสาร
ถึง ๒๕% เมื่อทางบริษัทเดินเรือทราบว่าเป็นนักเรียนทุนไปศึกษาด้านการแพทย์ ก็ทรงมีจดหมายไปยังนาย
สวัสดิ์ถึงเหตุการณ์ดังกล่าว ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๒ โดยเนื้อหาในจดหมายนั้นทั้งสุภาพและให้
เกียรติแก่ผู้รับ ทั้งที่ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ทุนแก่นายสวัสดิ์ ทรงสอนในเรื่องการมีกตัญญู กตเวทิตา แลการ
บําเพ็ญประโยชน์เพื่อพหูชนก็เป็นไปอย่างแนบเนียน
๒๙๑ ถนนพระราม ๑
อําเภอปทุมวัน กรุงเทพฯ
วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๗๑๙๓
แจงความมายัง นายสวัสดิ์ แดงสวาง
ดวยขาพเจาไดจัดการวางประจําที่สําหรับการเดินทางของทานในเรือเซแลนเดีย ซึ่งจะออกจาก
กรุงเทพฯ ปลายเดือนมีนาคมนี้ และไดทราบวาผูจัดการของบริษัทอีสตเอเชียติคที่เดินเรือนี้ ไดจัดการลดราคา
คาโดยสารให ๒๕ เปอรเซ็นตของจํานวนเต็ม เพราะการที่ทานจะออกไปเรียนนี้เปนการชวยเหลือเพื่อน
มนุษย ขาพเจาขอถือโอกาสอันนี้แสดงใหทานเห็นวา นอกจากขาพเจาเองแลว ก็ยังมีผูนิยมในการแพทย
วาเปนประโยชนแกประเทศสยาม แลแกมนุษยชาติ ถึงกับยอมสละทรัพยใหเพื่อประโยชนแหงการนี้ ทานเปนผู
ไดรับผลประโยชนโดยตรง จึ่งขอวิงวอนใหแลเห็นวา อาชีพยที่ทานเลือกนี้ยกทานขึ้นอยูในหมูที่มีผูเต็มใจจะ
เกื้อกูลและเอื้อเฟอ ราคาคาโดยสารเต็มนั้นทําไมขาพเจาจะใหทานไมได แตทีมีความยินดีวาบริษัทนี้ลด
ราคาใหก็เพราะรูสึกวา เขาทําดวยความนิยมเลื่อมใสในกิจของเรา ฉนั้นขอทานไดชวยทดแทนบุญคุณของ
บริษัทนี้โดยความตั้งใจเรียนและกลับมาทํางานเพื่อประโยชนแกชนหมูมากจริงๆ ขอใหถือประโยชนสวน
ตนเปนที่สอง ประโยชนของเพื่อนมนุษเปนกิจที่หนึ่ง ลาภทรัพยและเกียรติยศจะตกมาแกทานเอง ถาทานทรง
ธรรรมะแหงอาชีพยไวใหบริสุทธิ๙๔
ดังตัวอยางที่เลามาใหนี้
(ลงพระนาม) มหิดล
๙๓
ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี
๙๔
ประโยค “ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเปนที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษเป็นกิจที่หนึ่ง ลาภทรัพย์และเกียรติยศ
จะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรรมะแห่งอาชีพย์ไว้ให้บริสุทธิ” นี้ ได้รับความนิยมการกล่าวอ้างถึง (Quote) อย่าง
มาก แต่มักไม่มีผู้ใดระบุว่าเป็นข้อความในจดหมายถึงนักเรียนทุน นายสวัสดิ์ แดงสว่าง สะท้อนให้เห็นธรรมเนียมของ
อุดมศึกษาไทยที่ไม่เคร่งครัดนักในการให้เกียรติต่อแหล่งที่มาของข้อมูล

More Related Content

What's hot

Почленное сложение и умножение неравенств
Почленное сложение и умножение неравенствПочленное сложение и умножение неравенств
Почленное сложение и умножение неравенствИлья Сыч
 
Γεωμετρια Α λυκειου σημειώσεις
Γεωμετρια Α λυκειου σημειώσειςΓεωμετρια Α λυκειου σημειώσεις
Γεωμετρια Α λυκειου σημειώσειςΘανάσης Δρούγας
 
Μελέτη της Πλάγιας Βολής
Μελέτη της Πλάγιας Βολής Μελέτη της Πλάγιας Βολής
Μελέτη της Πλάγιας Βολής EmmanouelaV
 
Презентація:Властивості множення раціональних чисел
Презентація:Властивості множення раціональних чиселПрезентація:Властивості множення раціональних чисел
Презентація:Властивості множення раціональних чиселsveta7940
 
Κεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότητα
Κεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότηταΚεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότητα
Κεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότηταPetros Karapetros
 
календарне планування 6 клас. математика
календарне планування 6 клас. математикакалендарне планування 6 клас. математика
календарне планування 6 клас. математикаТетяна Шверненко
 
Подібність фігур. Площі подібних фігур
Подібність фігур. Площі подібних фігурПодібність фігур. Площі подібних фігур
Подібність фігур. Площі подібних фігурsveta7940
 
2 лінійні рівняння та його корені
2   лінійні рівняння та його корені2   лінійні рівняння та його корені
2 лінійні рівняння та його кореніSlovyansk School
 
ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2Anawat Supappornchai
 
Φυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATA
Φυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATAΦυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATA
Φυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATAalekosagelis
 
практичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагора
практичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагорапрактичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагора
практичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагораOlexandr Lazarets
 

What's hot (14)

Почленное сложение и умножение неравенств
Почленное сложение и умножение неравенствПочленное сложение и умножение неравенств
Почленное сложение и умножение неравенств
 
Γεωμετρια Α λυκειου σημειώσεις
Γεωμετρια Α λυκειου σημειώσειςΓεωμετρια Α λυκειου σημειώσεις
Γεωμετρια Α λυκειου σημειώσεις
 
Μελέτη της Πλάγιας Βολής
Μελέτη της Πλάγιας Βολής Μελέτη της Πλάγιας Βολής
Μελέτη της Πλάγιας Βολής
 
Test στα εμβαδά - Β Λυκείου
Test στα εμβαδά - Β ΛυκείουTest στα εμβαδά - Β Λυκείου
Test στα εμβαδά - Β Λυκείου
 
Презентація:Властивості множення раціональних чисел
Презентація:Властивості множення раціональних чиселПрезентація:Властивості множення раціональних чисел
Презентація:Властивості множення раціональних чисел
 
правильні многокутники
правильні многокутникиправильні многокутники
правильні многокутники
 
Askisiologio.gr μιγαδικοι αριθμοι
Askisiologio.gr   μιγαδικοι αριθμοιAskisiologio.gr   μιγαδικοι αριθμοι
Askisiologio.gr μιγαδικοι αριθμοι
 
Κεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότητα
Κεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότηταΚεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότητα
Κεφάλαι 5: Μενδελική κληρονομικότητα
 
календарне планування 6 клас. математика
календарне планування 6 клас. математикакалендарне планування 6 клас. математика
календарне планування 6 клас. математика
 
Подібність фігур. Площі подібних фігур
Подібність фігур. Площі подібних фігурПодібність фігур. Площі подібних фігур
Подібність фігур. Площі подібних фігур
 
2 лінійні рівняння та його корені
2   лінійні рівняння та його корені2   лінійні рівняння та його корені
2 лінійні рівняння та його корені
 
ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-คณต_ม.3_ชด_2
 
Φυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATA
Φυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATAΦυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATA
Φυσικη Θεματα Πανελληνιων Κεφ. 2 KYMATA
 
практичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагора
практичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагорапрактичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагора
практичне застосування прикладних задач за темою теорема піфагора
 

Viewers also liked

06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvardสุรพล ศรีบุญทรง
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือสุรพล ศรีบุญทรง
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯสุรพล ศรีบุญทรง
 
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนาสุรพล ศรีบุญทรง
 
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรสสุรพล ศรีบุญทรง
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสานสุรพล ศรีบุญทรง
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...สุรพล ศรีบุญทรง
 
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลสุรพล ศรีบุญทรง
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดลสุรพล ศรีบุญทรง
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์สุรพล ศรีบุญทรง
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรมสุรพล ศรีบุญทรง
 
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมันสุรพล ศรีบุญทรง
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุขสุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (19)

06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
 
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
 
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
 
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
 
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
 
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๐ -- ทรงยึดประโยชน์ของชาติและประชาเป็นกิจที่หนึ่ง หลังจากได้รับปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิตจากมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด และเสด็จกลับถึงสยาม ได้ มีผู้กราบทูลให้ทรงบรรยายเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านการแพทย์เพื่อให้เป็นข่าว ได้ทรงแสดงความเห็น ประทานไว้ดังนี้ “ฉันตั้งใจจะอยู่ในกรุงสยามตลอดไป คําลือหรือการคิดคาดทั้งหมดจะได้มาจากทางใดๆ ก็ดี เกี่ยวด้วย หน้าที่ที่ฉันจะรับทํา หรืองานที่ฉันจะทํานั้นเป็นเรื่องไม่มีมูลเลย ยังไม่มีใครเลย จะเป็นรัฐบาลก็ดี หรือสถานที่เอกชนก็ ดี ได้ร้องขอให้ฉันรับหน้าที่อันใด ยังไม่มีการใดแน่นอนแก่ฉันเลย แต่อย่างไรก็ดี ในชั้นแรก การงานที่ฉันจะทํานั้น ก็ ต้องแล้วแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงพระกรุณาดํารัสสั่ง และอย่างไรก็ดี ฉันหวังว่าฉันคงจะทําการเกี่ยวกับการแพทย์และการสาธารณสุขได้ต่อไปอยู่เสมอ และ เมื่อมีเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นผู้ชํานาญช่วยแนะนําฉัน แล้วฉันคงจะได้รู้ฐานะที่เป็นจริงของคนไทยได้บ้าง และบางทีจะได้ ใช้ความรู้ที่ฉันได้รับจากการศึกษาต่างประเทศให้เป็นประโยชน์ได้บ้าง ส่วนที่เกี่ยวด้วยงานรัฐบาลนั้น ฉันหวังว่าคงรับทําแต่เฉพาะที่ฉันมีวุฒิเหมาะ เพราะได้ฝึกฝนมาทางนั้นและ ถูกแก่นิสสัยของฉัน และเมื่อจะให้ฉันรับหน้าที่ใดๆ ก็ดี ฉันคงจะได้รับการอุดหนุนในทางเงินและรับความช่วยเหลือจาก คนทั่วๆ ไป พอเพื่อจะให้งานได้ผลดีจริงๆ โดยความจงรักภักดีของฉันต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉันไม่สามารถจะรับหน้าที่ใดๆ ของรัฐบาล เพียงแต่เป็นเครื่องประดับและรับเงินเดือนจากการทําเช่นนั้น ถ้าเรื่องเป็นเช่นนั้น ฉันรู้สึกว่าฉันควรออกจากหน้าที่นั้น ดีกว่า และให้ข้าราชการที่ควรจะทํา และเป็นผู้ที่ต้องการได้เงินเดือนของรัฐบาลมากกว่าฉันเข้าทําแทน โดยที่ต้องให้แพทย์ทําการตัดผ่าฉันอย่างใหญ่เมื่อเร็วๆ นี้ ความเป็นไปในอนามัยของฉันนั้น ทําให้ฉัน จําต้องผ่อนๆ การเข้างานสมาคมแต่ทีละน้อย เพราะฉนั้น ฉันไม่คิดว่าในปีนี้ฉันจะไปงานสมาคมมากนัก” ทรงให้หลักในการพิจารณาทุน เมื่อกลับมาทรงงานในพระนครครั้งหลังนี้ ได้ทรงพระราชทุนการศึกษาให้แก่แพทย์และพยาบาลเช่น ที่ได้ทรงปฏิบัติมาโดยตลอด ทั้งยังมีพระดําริเกี่ยวกับคุณสมบัติคุณวุฒิของผู้สมัคร ดังปรากฏอยู่ในเอกสาร ใบแจ้งความดังนี้ “ไมเปนขอสําคัญวา ผูสมัครนั้นตองเปนผูเฉลียวฉลาดในการเรียน หรือเคยสอบไลไดคะแนนดีอยาง สูงมา จริงอยูคุณวุฒินี้เปนอุปกรณสวนหนึ่ง แตขอสําคัญมีวาผูนั้นจะตองแสดงวาตนมีความฝกใฝใจเปนพิเศษ และมีนิสสัยเหมาะกับวิชาที่ตนสมัครขอไปเรียน ผูสมัครจะตองแสดงวาในกรุงสยามตนไดเรียนวิชาเตรียม
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๑ -- เบื้องตนของวิชาที่สมัครไปเรียนนั้นตามที่จะหาเรียนไดหมดแลว ความรูในภาษาตางประเทศจะนับรวมเขาชวย กับคุณวุฒิอื่นๆ ดวย โดยทั่วๆ ไปกอนที่จะใหไดรับตนสงไปเมืองตางประเทศ ผูสมัครจะตองแสดงวาตนได ใชโอกาศหมดแลวในอันที่จะฝกฝนเรียนวิชาในกรุงสยาม วาโดยทั่วไป ผูสมัครจะตองมีอนามัยที่สมบูรณและความประพฤติเรียบรอย และความตั้งใจรักจริงใน วิชานั้น ความคิดอานตั้งใจที่จะทํางานเมื่อเสร็จจากการศึกษาแลวจะนับรวมเขาดวย ในใบสมัครของผูที่ยื่น ขอรับทุนเลาเรียนวิชาในกรุงสยามก็จะไดวินิจฉัยโดยทํานองเดียวกันนี้ดวยแตไมสูจะเครงครัดมากเทาขอสมัคร ไปศึกษาตางประเทศ “ จะเห็นได้ว่าทรงให้ความตั้งใจมุ่งมั่นในการเรียนเพื่อทําประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติและสังคม มากกว่าความเฉลียวฉลาด หรือผลคะแนนสูงๆ ที่ได้ผ่านมา เช่น นพ. จํารัส ศิริสัมพันธ์ ซึ่งได้รับทุนส่วน พระองค์ไปเรียนต่อด้านสูติ-นรีเวช นั้นมีผลการเรียนไม่ดีนัก ทั้งยังได้รับจดหมายแนะนําจาก ศ.นพ.เทียว บอลด์ ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชามีส่วนหนึ่งระบุว่า “เขาเปนคนไมสูฉลาดเหมือนเพื่อนแพทยของเขาทั้งหลาย แต พรอมที่จะเรียนรูอยูเสมอ (He is not so clever as his colleagues, but is always very ready to learn.)” ตลอดจนได้รับการกล่าวถึงจาก นพ. โนเบิล ซึ่งเป็นแพทย์ประจํา พระองค์ว่า “หมอจํารัสเป็นคนไม่ฉลาด ที่ฉลาดกว่ามีหลายคน เหตุไฉนจึงทรงไม่ประทาน” ทรงตรัสตอบว่า “คน ไม่ฉลาดนั่นแหล่ะดี ไว้ใจได้ว่าไม่โกง” นอกจากนั้น ยังทรงให้ความสําคัญในการประหยัดค่าใช้จ่ายด้วยการกําหนดว่าวิชาที่จะไปเรียนนั้น ต้องมิใช่วิชาที่มีสอนอยู่ในเมืองไทยอยู่แล้ว ส่วนหนึ่งของการแสดงความตั้งใจมุ่งมั่นของผู้สมัครคือต้อง เตรียมตัวในเรื่องภาษาให้พร้อมด้วย จะไม่ทรงโปรดหากผู้สมัครเป็นนักเรียนทุนไม่เตรียมแผนการศึกษาให้ดี หรือหากพยายามตอบแบบเอาพระทัยว่า “แล้วแต่จะทรงโปรด” เมื่อทรงถามว่าตั้งใจจะไปเรียนอะไร นพ. จํารัส ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าในวันที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๒ เล่าว่าทรงมีพระวินิจฉัยว่า “ฉันจะ ส่งไปเรียนต่างประเทศ” เพราะ “ไม่ต้องการคนฉลาด แต่ต้องการคนขยันหมั่นเพียร” แต่ทรงกําชับว่าต้องปรึกษา หมอเทียวบอลด์ที่เป็นผู้บังคับบัญชาว่าจะให้ไปเรียนที่ไหน ทรงห่วงใยสอบถามถึงครอบครัวของนักเรียนทุน ทรงตรัสถามว่า “มีเมียหรือยัง “ เมื่อทูลตอบว่า “ยัง” ก็ทรงรับสั่งอย่างเป็นกันเองว่า “การมีเมียนั้นจะเอาไป ด้วยกันก็ได้ แต่เป็นการรู้มากแก่ตัวเกินไป เพราะมีความสุขในการปรนนิบัติแต่ก็เป็นการหนักใจมาก เช่น นาย... เป็น ต้น พาเมียไปทีแรกก็สบายดี พอมีลูกเต้าก็เกิดกังวล ฉันเองก็เหมือนกัน แม้จะทํางานวันยังค่ําก็ยังอดเป็นห่วงไม่ได้ หรือมีแต่ไม่เอาไปก็อีกนั่นแหล่ะ ต่างก็คิดถึงกัน เช่น นาย .... เป็นต้น พบกันทีไรต้องบ่นคิดถึงเมียทุกครั้ง การมีคู่รัก คู่หมั้นก็ไม่ดีอีก ตั้งหน้าแต่จะส่งข่าวถึงกัน การห่างกันนานๆ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมักจะเกิดเปลี่ยนใจ ถ้าฝ่ายหญิงเปลี่ยนใจ เราก็มาก็หน้าแหงไป ถ้าเราเปลี่ยนใจก็ถูกเขาด่า” รับสั่งพลางทรงพระสรวลพลาง ยังทรงตรัสถามอีกด้วยว่า “อยากเป็นคนมั่งมีหรือมีชื่อเสียง” เมื่อได้รับคําตอบจาก นพ. จํารัส ศิริ สัมพันธ์ ว่า “อยากเป็นคนมีชื่อเสียง” ทรงตบพระหัตถ์ด้วยความพอพระทัยว่า “ใช้ได้” เป็นหมอไม่มั่งมี หาก อยากเป็นคนมั่งมีแล้วต้องเป็นพ่อค้า หรือ ขุนนางเลีย ... รับสั่งเพิ่มเติมว่า “เรียนจบสองปีแล้วอยากจะเรียนอะไร
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๒ -- ต่อไปอีกก็ไม่ว่าเรียนแล้วเกิดไม่สมัครใจกลับเมืองไทยก็ไม่ว่า หรือกลับมาแล้วจะไม่รับราชการก็ไม่ว่า ขอแต่อย่าง เดียวเท่านั้นคือขอให้เป็นคนดี “และเมื่อจะถึงวันเดินทางทรงให้คําแนะนําเพิ่มเติมว่า “หมอจํารัส ไปถึงแล้วอย่า เอาแต่ก้มหน้าเอาแต่เรียนๆๆ ไปถึงไหนจงเปิดหูเปิดตาว่าเขามีอะไรทําอะไรกันที่ไหน ต้องให้รู้ทุกสิ่งทุกอย่าง” ทั้งยัง ทรงอนุเคราะห์ตรวจสอบกระเป๋าเดินทางว่าได้บรรจุข้าวของเครื่องใช้จําเป็นไปอย่างครบถ้วนหรือไม่ ด้วย พระองค์เอง หลักธรรมแห่งการแพทย์สยาม ได้ทรงสมัครเป็นสมาชิกแพทยสมาคมแห่งกรุงสยาม เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๔๗๒ มีลําดับ สมาชิกเลขที่ ๓๘๗ เพื่อเป็นการแสดงให้สาธารณชนเห็นและตระหนักถึงความสําคัญแห่งบทบาทของสมาคม วิชาชีพ ทั้งที่โดยพระองค์เองก็ทรงมีพระเกียรติยศสูงศักดิ์ทั้งในฐานะองค์รัชทายาท และองค์อุปถัมภกของ ของสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว (ในฐานะองค์อุปถัมภ์ได้ทรงพระราชทานทุน ต่างประเทศให้กับนักเรียนเพิ่มขึ้นถึง ๑๐ ทุน ในสาขาการแพทย์ สาธารณสุข และพยาบาล ฯลฯ)๘๑ ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นแพทย์ผู้อุทิศตนให้กับงานอาชีพ และสังคม ดังได้มีลายพระราช หัตถ์จดหมาย ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๗๒๘๒ ถึงนายกสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณ์ ในคราวที่สโมสร ฯ ได้ถวายการเลี้ยงแสดงความปลื้มปิติยินดี ความว่า …. ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ๒๙๑ ถนนพระราม ๑ อําเภอปทุมวัน กรุงเทพฯ วันที่ ๔ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๗๑๘๓ แจงความมายัง ทานสภานายก และสมาชิกสโมสรแพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในขณะมีการเลี้ยงดู ณ สมาชิกสโมสรแพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลวงเฉลิมคัมภีรเวชช ไดขอใหขาพเจากลาววาจา แตขาพเจามิไดรับเพราะรูสึกวาเสียงออน จะสงใหถึงสี่มุมสนามไมได จึงเกรง วาจะลําบากแกผูฟงและเสียเวลา ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงขอถือโอกาส แสดงความยินดีที่ไดไปพบกับทาน ๘๑ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๑ - ๒๔๗๒ นั้น มีความแตกต่างทางความคิดระหว่างแพทย์บางประการ มีการจัดตั้งองค์กรแพทย์ ขึ้น ๒ องค์กร คือ แพทยสมาคมที่ทรงสมัครเป็นสมาชิก และสโมสรแพทย์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (การรวมตัวกันของ บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล) ที่ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ นับเป็นพระกุศโลบายสําคัญ ในการพยายามสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่แพทย์ทั้งหลาย ๘๒ จดหมายฉบับนี้เป็นตัวอย่างแสดงให้เห็นชัดว่าพระองค์ท่านให้ความสําคัญแก่ความสามัคคีกลมเกลียวของหมู่คณะเป็น อย่างมาก ทั้งยังแสดงให้เห็นถึงการให้เกียรติต่อทุกคําพูดที่ท่านได้อ้างอิงมา (Quote) ไม่ทรงละเลยที่จะระบุถึงแหล่งที่มา ๘๓ ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี
  • 4. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๓ -- ทั้งหลาย และขอขอบใจทานที่ไดมีใจอารีเชิญขาพเจาไปรวมสมาคมเลี้ยงดูแข็งแรง ทําใหเกิดความรําลึกถึง ดวยความภาคภูมิใจ วาขาพเจาไดรับเกียรติยศเปน ภราดรแพทย ผูหนึ่งในคณะของทาน แพทยวิทยาผิดกับดาราศาสตรหรือวิชาคํานวณทั้งสองอยางนี้เปนวิทยาศาสตรแมน คํานวณไดถึง วัน ยาม นาที วินาที และตัวเลขถึง ๐.๐๐๐,๐๐๐,๐๑ มีคิดระวางนัทธิกับอามะอยางแนๆ สวนวิชาแพทยนั้นเปน วิชาแมนแตบางสวน แตเปนทั้งวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร ดวยเหตุนี้ผูประกอบโรคศิลปะ นอกจากจะเปน นักวิทยาศาสตร ยังตองสมบูรณดวยคุณลักษณะอยางอื่นอีกหลายประการ จึงจะเปนผูทําการไดสําเร็จ คุณลักษณะสําคัญในการเปนแพทย คือความเชื่อถือไวใจ ๑. ตองมีความเชื่อในความสามารถของตนเอง คือความมั่นใจ ๒. ตองมีความไววางใจระหวางแพทยดวยกัน คือความเปนปกแผน ๓. ตองไดรับความเชื่อถือจากคนไขของทาน คือ ความไววางใจของคณะชน คุณสมบัติสามประการนี้เปนอาวุธเกราะ และเครื่องประดับอันงามของแพทย ทานควรยกยองคณะที่ใหการศึกษาแกทาน ทานควรมีความภูมิใจในคณะของทาน และทานไมควร เรียนวิชาขึ้นใจแลวใชเปนเครื่องมือหากินเทานั้น ควรเก็บคําสอนใสใจและประพฤติตาม ผูที่จะบําบัดทุกขตอง เปนตัวอยางความประพฤติ ซึ่งจะนํามาแหงสุขภาพ แพทยที่ไมประพฤติตามที่ตัวสอนแกคนไขแลว จะหา ความไวใจจากคนไขอยางไรได ทานตองมีความเชื่อในตัวเอง แตไมใชอวดดี ทานตองรูสึกความรับผิดชอบและทําไปดวยความตั้งใจ ดี พวกเราแพทยแผนปจจุบัน มักยิ้มเยาะแพทยแผนโบราณ วาใชยาไมมีหลักวิทยาศาสตร แตกระนั้น ในประเทศสยามก็ไดมีแพทยแผนโบราณหลายทาน ที่ศักดิ์สิทธิ์จริงๆ ประกอบดวยความสังเกตอันสุขุมและ ความจริงใจ แพทยเหลานั้นทําการเปนผล คือรักษาทางใจ แพทยมีความเชื่อรุนแรงพอ จึงสงความเชื่ออัน นี้เขาไปถึงใจคนไขได คนไขจึงมีใจดี ทานก็ทราบอยูแลววา ความวิตก ความกลุมทําใหโรคอวัยวะ เชน หัวใจ โรคไหลเวียนโลหิต โรคเสนประสาท และโรคไตบางอยางกําเริบได โรคอุปทาน (ฮีสทีเรีย) ปลอมอาการของโรคอวัยวะไดคลายโรคจริงๆ อยางไร แพทยผูไมเชื่อในสิ่งที่ตนทํา แตพูดหลอกใหคนไขเชื่อ นั้นคือแพทยทุจริต ที่ภาษาอังกฤษเรียกวา “แควก” ถึงแมผูนั้นจะไดรับการศึกษาวิทยาศาสตร
  • 5. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๔ -- ทานนายแพทยบุญเดสเซน ไดกลาววา “นักสุขวิทยาทุกคน จะตองอยูกินเปนตัวอยางสุขภาพ จึงจะ เปนพอคาความสุขดี”๘๔ ในขณะที่ทานประกอบกิจการแพทย อยานึกวาทานตัวคนเดียว จงนึกวาทานเปนสมาชิกของ “สงฆ” คณะหนึ่งคือคณะแพทย ทานทําดีหรือรายในความเชื่อถือหรือดูถูก เพื่อนแพทยอื่นๆ จะพลอยยินดีหรือเจ็บรอน อับอายดวย นึกถึงความรับผิดชอบตอผูเปนแพทยดวยกัน แพทยทุกคนมีกิจแสดงความกลมเกลียว ในคณะแพทยตอสาธารณชน เมื่อเกิดความเลื่อมใสใน คณะแพทยขึ้นในหมูประชนแลว ผูที่จะตั้งตนทําการแพทย ถึงจะยังไมไดมีโอกาสตั้งตัวในความไวใจของคน ก็จะไดสวนความไวใจเพราะเปนสมาชิกของคณะที่มีผูนับถือ เราเห็นพระบวชใหมที่ยังไมไดเปนสมภารเราก็ ยกมือไหว เพราะเรามีความนับถือในลัทธิของพระสงฆ ฉันใดก็ดี แพทยหนุมก็ไดรับความไวใจ เพราะคณะ ของเขาเปนที่นาไวใจ เพราะฉะนั้น ความประพฤติดีของแพทยบุคคลนํามาซึ่งประโยชนแกแพทยใหม และเรา ก็อยากจะชวยผูที่ตั้งตนในอาชีพของเราเสมอไป ทานโฮเมอร คาลเวอร ไดกลาวไววา “ทีแรกมีผูเกรงวาวิชาแพทยปองกัน หรือสาธารณสุข จะ ทําลายการหากินของแพทยรักษาพยาบาล ครั้นตรวจดูแลว กลับตรงกันขาม ความกลมเกลียวระหวางแพทย ปองกันและแพทยรักษา กลับทําใหแพทยรักษาทํามาหากินดี”๘๕ ฉนั้นการสมาคมกันแลกเปลี่ยนความรูความ ชํานาญแทนที่จะหวงวิชา หรือแกงแยง การรวมมือรวมใจกับเจาหนาที่สาธารณสุขกลับนําผลมาใหทั้งสองขาง ทานศาสตราจารย เทารซิก ไดกลาวไววา “การคาแลกเปลี่ยนกันโดยคลองธรรม ยอมนําโภคทรัพย มาใหทั้งสองฝาย ไมวาจะเปนการคาขายวัตถุ หรือแลกเปลี่ยนวิชา ยอมจะนําความเจริญมาใหทั้งสองขาง เชนกัน”๘๖ การจะไดรับความไวใจของคนไข ขอทานถือ สุภาษิตวา “ใจเขาใจเรา” ทานคงจะคิดไดวา ทาน อยากไดความสบายแกตัวทานอยางไร ก็ควรใหความสบายแกคนไขอยางนั้น๘๗ ความจริงตั้งใจเปนยา ประเสริฐไดผลคือความเชื่อ และเมื่อคนเชื่อทานแลว เขาจะทําตามทุกอยาง คนไขโดยมากอยากรูความจริง ๘๔ Herman N. Bundesen “Selling Health – A Vital Duty” American Journal of Public Health Vol. 18 No. 12 p 1451, 1928 ๘๕ Homer N. Calver “Whole Sale and Retail Life Saving” Journal of American Medical Association Vol. 91 p. 1285 Oct. 1928 ๘๖ F.W. Taussig “Principles of Economics” Macmillan New York 1912 ๘๗ สุภาษิตบาลี อตฺตานํ อุปมํ กเร นี้คือคติพจน์ (Motto) ของมหาวิทยาลัยมหิดล และปรากฏบนตราสัญญลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย
  • 6. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๕ -- เราไมเชื่อความหลอกลวงของเราเอง แลวที่ไหนจะหวังใหคนไขเชื่อ ถาทานหลอกคนไขแลว ทานก็ตอง รักษาเขาไดหนเดียว โลกนี้เล็ก ถาทานไมใหยาจนเขาตายเลยทานจะเจอเขาอีก และเขามีปากบอกความชั่ว ความดีกันไปตอๆ ทานศาสตราจารยแคโบต ไดสอนใหกลาวความจริงเสมอ เพราะทานถือวาคนไขโดยมากทนความ จริงที่พูดตรงๆ ไดดีกวาความจริงที่ไดรูเขาเมื่อจับความเท็จของทานไดแลว ทานระวังบอกแตสิ่งที่เปนไป จริงๆ ไมใชสิ่งที่ทานทายวาจะเปน หรือจะไมเปน เชนการทํานายผลสุดทาย (ปรอคโนสิส) ถาทานมานึกดู ใหดีแลว ทานจะบอกคนไขไดยาก เพราะโดยมากก็เปนการเดา แตถาทานมีหลักฐานบอกไดแนแลว กลับ ชวยใหคนไขไดสติเตรียมจะตายหรือจะพิการ หรือจะหวังหาย ทํานายแนไมใครจะทําอันตราย ทํานายเดา นั้นเปนสิ่งอันตรายมาก อาจารยโดยมากจึงสอนใหปด ในการรักษาคนไขนั้น ขาพเจาเห็นมีสุภาษิตดีอันหนึ่ง ซึ่งทานศาสตราจารยพีบอดี ผูลวงลับไปแลว ไดกลาววา “ความลับของการรักษาคนไขนั้น คือการรักคนไข”๘๘ ความเชื่อสามประการดังกลาว ทานไดปฏิบัติสําเร็จดวยการตั้งสโมสรนี้ การที่ใหนามสโมสรนี้วา “แพทยแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” นั้น แสดงวาทานมีความเชื่อถือ และภูมิใจในโรงเรียนของเรา ทานถือตัวทานวาเปนศิษยมีครู ทานเชิดชูโรงเรียนของทานไมอับอายปดบัง และทานไดมีความรูสึกมีความรับผิดชอบตอโรงเรียน ทานจึงเอาชื่ออันเปนพระบรมนามาภิไธยของปยมหาราช ของเราไปใช เพราะทานตั้งใจบําเพ็ญตนใหเปนที่ไววางใจ และเชื่อในความสามารถของทาน วาจะรักษา ชื่อนี้ไวไดไมใหเสีย ทานตั้งสถานที่ประชุมแลกเปลี่ยนความอารีเปนสามัคคีกันนับวาทําการบําเพ็ญความเชื่อถือของคณะ และอุดหนุนซึ่งกันและกัน ทานตกแตง “หนังสือขาวแพทย” เพื่อความรูความเขาใจแกสาธารณชน และเชิญผูไมเปนแพทยมา สมาคมกับแพทย ความคุนเคยสวนตัว ยอมนํามาซึ่งความไวใจ ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงมีความโสมนัส อวยพรใหสโมสรนี้รุงเรือง ใหหนังสือ “ขาวแพทย”๘๙ แพรหลาย และใหสมาชิกทุกคนสมบูรณในกิจอาชีพ ที่เปนกําลังทั้งรักษาและปองกันประชาชนสยาม ใหพน จากโรคภัยทั้งหลาย ขอใหเจริญยิ่งๆ เทอญ ๘๘ Francis W. Peabody “The Care of Patient” Journal of American Medical Association Vol.78 p.877 March 1927 ๘๙ ในช่วงขณะนั้น นายกสโมสรแพทย์จุฬาฯ คือ นพ. เฉลิม พรหมมาศ ส่วน บก. หนังสือข่าวแพทย์ คือ นพ. นิตย์ เวชช วิศิษฏ์ ที่ต่างล้วนได้รับทุนไปศึกษาต่างประเทศจากพระองค์ท่าน
  • 7. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๖ -- ดวยความนับถือ (ลงพระนาม) มหิดล ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ทรงสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทรงเห็นว่าการสําเร็จปริญญานั้นเป็นเพียงจุดเริ่มของการศึกษาตลอดชีพ ดังที่ได้พระราชทานทุน “ทุนสอนและค้นคว้าของโรงพยาบาลศิริราช” แก่แพทย์ที่สําเร็จใหม่ ๒ ทุน เพื่อสนับสนุนให้มีการค้นคว้า ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เป็นเงินเดือนๆ ละ ๑๐๐ บาท๙๐ ซึ่งหากผู้ได้รับทุนปฏิบัติงานได้ดี มีรายงาน วิทยานิพนธ์เป็นที่ยอมรับของคณะจะได้เงินพิเศษ ๗๒๐ บาทเมื่อสิ้นสุดทุน กระทั่งอาจได้รับทุนไปศึกษา ต่างประเทศ พร้อมมีลายพระหัตถ์ถึง ดร. เอลลิส ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๔๗๒ ว่า ---------------------------------------------------------------------------------------------------- วันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๑๙๑ แจงความมายัง ดอกเตอร เอลลิส๙๒ การเรียนจบตามหลักสูตรแพทยที่กําหนดนั้น ไมไดหมายความวานักเรียนไดเรียนรูการแพทยหมดแลว แตเปนการตรงกันขาม การที่เรียนจบนั้นเปนแตเพียงขั้นหนึ่งของวิชาการศึกษาทางแพทย คือวาความจริงนัก รียนผูนั้นไดเรียนจบตามตํารา และบัดนี้เปนผูที่สมควร และสามารถจะรับผิดชอบในการเรียนตางๆ ที่เกี่ยวกับ สุขภาพของประชาชนที่ไมสมบูรณโดยวิธีการทําจริง และโดยลําพังตนเองไดเทานั้น เปนการเรียนวิชาแพทย ตอ แตเปนโดยวิธีการที่ตางกับวิธีเดิมบางเล็กนอย จะเปนแพทยที่ดีตอไปในภายหนาไมได นอกจากแพทยผู นั้นเมื่อสําเร็จวิชามาใหมๆ จะรูสึกวาตนเองจะตองยังคงเปนนักเรียนอยูตอไปอีกตลอดเวลาที่ทําการแพทยนั้น ๙๐ ทรงมีพระราชวินิฉัย “การเลี้ยงหมอต้องเลี้ยงให้อิ่ม เขาจะได้มีแก่ใจทํางาน” ในสมัยปี พ.ศ. ๒๔๗๒ แพทย์ประกาศณีย บัตรได้รับเงินเดือน ๖๐ บาท ในขณะที่นักกฏหมายได้ ๑๖๐ บาท จึงทรงยกระดับให้แพทย์ปริญญาได้เงิน ๑๖๐ บาทเท่านัก กฏหมาย ต่อมาเมื่อมีผู้สําเร็จการศึกษาจากต่างประเทศได้เงิน ๒๔๐ บาท สมเด็จฯ พระบรมราชชนกได้ทรงสมทบเงินเพิ่ม กับนักเรียนทุนส่วนพระองค์อีก ๑๖๐ บาท รวมเป็น ๔๐๐ บาท ซึ่งนับว่าเหลือเฟือมากสําหรับยุคสมัยที่ก๋วยเตี๋ยวชามละ ๕ สตางค์ ๙๑ ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี ๙๒ จดหมายฉบับนี้เดิมทีเป็นภาษาอังกฤษ จึงมีลักษณะแตกต่างกันไปบ้างในแหล่งอ้างอิงอื่นตามสํานวนแปลของผู้ถอด ความ สําหรับในหนังสือเล่มนี้จะใช้สํานวนฉบับหม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิต ทรงพิมพ์แจกในงานพิธีเปิดตึกคณะ แพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๔
  • 8. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๗ -- ดวยเหตุนี้ ฉันเห็นวาผูที่สําเร็จจากการศึกษาวิชาแพทยมาใหมๆ ควรจะใหไดมีโอกาสที่จะตั้งตน ดําเนินการในชีวิตของเขา ความจริงก็เปนแตเพียงการศึกษาอีกอันหนึ่ง โดยใหทํางานในหนาที่แพทย ประจําบานหรือทํางานในหองทดลองวิทยาศาสตรอยางนอยสักหนึ่งป และใหอยูในความควบคุมดูแลแนะนํา ของผูที่มีความชํานาญกวา จนกวาตนเองจะมีความเชื่อมั่นในตนเองพอ และมีความรูสึกในความรับผิดชอบ ของตนพอที่จะตั้งตนทําการโดยลําพังตนเองได เปนที่นาเสียดายวา การที่จะฝกหัดในโรงพยาบาลเมื่อสําเร็จ การศึกษาแลวนั้น ยังยากและอยูในวงจํากัด เพราะฉะนั้นฉันจึงไดจัดตั้งทุนนี้ไวใหแกนักเรียนที่เรียนจบปนี้ ซึ่งยังไมไดฝกหัดในโรงพยาบาล เพื่อที่จะใหโอกาสเขาไดทําการฝกฝนจริง อยูในความควบคุมดูแลของผู ชํานาญในวิชาแพทยพิเศษบางแผนก การที่ฉันตั้งทุนนี้ ที่จริงเปนเพียงการทดลองและตั้งไวชั่วเฉพาะปหนึ่งกอน ตอไปในภายหนาหวังวา เราคงสามารถจะวินิจฉัยได วาทุนชนิดนี้จะเปนผลอุปกรณแกความตองการของโรงเรียนเราไดหรือไม และยัง จะตองแกไขตอไปในภายหนา เพื่อจะยังประโยชนที่ดีที่สุดใหแกการศึกษาวิชาแพทยในกรุงสยาม สําหรับเวลานี้ฉันขอใหทุนไวสองตําแหนง โดยมีขอบังคับดังตอไปนี้ (๑)ทุนนี้ใหชื่อวา “ทุนเพื่อการสืบคนควาและการสอนในโรงพยาบาลศิริราช” (๒)ความประสงคในการตั้งทุนนี้ ก็เพื่อใหผูรับไดทําการฝกฝนจริงๆ ในวิชาแพทยบางแผนกตอไป หวัง ประโยชนที่จะเตรียมผูนั้นใหสามรถทําการสืบคนควาไดตามลําพังตนเองไดตอไปในภายภาคหนา ให เขาสามารถไดความรูชะนิดที่ถูกในความเชื่อมั่นในตนเองอันเปนของจําเปนสําหรับการงานในวิชาชีพ เพื่อที่จะใหรูสึกตนดีวาแทจริงตนมีความรับผิดชอบอยางใหญในหนาที่ของวิชานั้นเพื่อเพิ่มพูนความ สนใจ และความเขาใจของเขาในเรื่องอนามัยที่ไมสมบูรณใหมากขึ้น และในที่สุดก็เพื่อจะรุกเราความ ปรารถนาของเขา ใหเขาอยากสอน อยากแบงความรูเพื่อเปนเครื่องชวยชักนําใหประชาชนชาวสยาม ทราบดีวาการที่มีรางกายและใจอันสมบูรณนั้นมีคาเพียงไร (๓) ทุนนี้รายหนึ่งๆ ใหจายเปนเงินเดือนๆ ละ รอยบาท ตั้งตนแตเดือนเมษายนจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม พ.ศ.๒๔๗๒ เมื่อสิ้นป ถาผูไดรับทุนนั้นทําการใหเปนที่พอใจและเรียบเรียงแตงเรื่องแถลงถึงผล การศึกษาสืบคนควานั้นเปนหลักฐานมาแสดงจนเปนที่พอใจของคณะอาจารยแหงคณะแพทยศาสตร ใน มหาวิทยาลัยแลว จะจายเงินรางวัลใหเปนเงินเจ็ดรอยยี่สิบบาท (๔)ทุนนี้ไมไดทําใหผูไดรับคกินคาอยูเปลาๆ ที่โรงพยาบาล แตเรื่องที่อยูนั้นอาจจะพูดจาตกลงกับ เจาหนาที่ของโรงพยาบาลได (๕)นอกจากหนาที่พิเศษนี้แลว ขอใหคณะครูยอมนับผูที่ไดรับทุนนี้เขาในจําพวกเจาหนาที่ในการสอนเปน เครื่องทดแทนการที่ผูนั้นไดเปนผูชวยทํางานในโรงพยาบาล และโรงเรียนและการสอนประจํา
  • 9. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๘ -- (๖)ใหคณะครูมีอํานาจที่จะวินิจฉัยถึงสภาพและวงขอบของทุนสองตําแหนงนี้ ที่จะเลือกสรรผูที่ควรไดรับทุน นี้จากนักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรปนี้ และไดยื่นใบสมัครไว ทั้งมีอํานาจที่จะสั่งใหผูนั้นเขาทํางานใน แผนกใดก็แลวแต เห็นวาแผนกนั้นตองการผูชวย และเปนแผนกที่จะทําการใหไดสมประสงคในเรื่องนี้ ใหคณะครูสั่งงานและดูแลควบคุมงานของผูนั้น ทั้งใหเปนผูสอดสองดูดวยวาผูนั้นไดทําการสําเร็จไป เพียงใด กับทั้งใหเปนผูวินิจฉัยในชั้นสุดทายดวยวา ผูนั้นไดทําความดีพิเศษอันควรไดรับรางวัล ดังกลาวมาขางตนหรือไม (๗)ถาผูรับทุนนั้นคนใดคนหนึ่ง หรือทั้งสองคน ไดแสดงความสามารถเปนพิเศษ ผูนั้นอาจไดรับทุนไป ศึกษาตอ ณ ตางประเทศในภายหลัง (๘)เรื่องที่จะเรียบเรียงแตงขึ้นนั้น จะตองเปนเรื่องใหมไมไดคัดลอกมา และทําโดยลําพังตนเอง มี คําอธิบายเทาถึงประวัติศาสตรของเรื่องนั้น สิ่งเหลานี้ถือเปนคุณสมบัติของเรื่องนั้น ลักษณะของเรื่องนั้น เปนสวนสําคัญอันหนึ่งที่จะใชในการวินิจฉัยวาผูนั้นควรไดรับรางวัลหรือไม (๙)คาใชจายในการทําการสืบคนควานี้ แผนกที่ผูรับทุนไปทําการอยูดวยกับผูรับทุนจะตองชวยกันออก ตามที่ผูรับทุนกับหัวหนาแผนกนั้นจะไดตกลงกัน นอกจากจะไดทุนพิเศษมาจากทางอื่นชวย (๑๐)ผูสมัครจะตองเปนผูมีจรรยาดี ฝกใฝในงานของตน และมีกําลังกายและใจอันสมบูรณ ขอใหผูสมัครมายื่นใบสมัคร การเลือกคัดนั้นจะตองทําใหทันในกําหนดใหมีเวลาพอที่จะรองขอการ ผอนผันในการเกณฑทหารได โดยความนับถือ (ลงพระนาม) มหิดลสงขลา ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ซึ่งหากพิจารณารายละเอียดในจดหมายพระราชหัตถเลขาฉบับประวัติศาสตร์นี้ จะพบว่าครอบคลุม หลักการสําคัญที่ว่าด้วยการให้และการจัดสรรทุนวิจัย กรอบการพิจารณาทุนวิจัย การอบรมและพัฒนา บุคลากร ตลอดไปจนถึงเรื่องหลักสูตรวิสาหกิจ ฯลฯ ที่กําลังเป็นที่สนใจของบุคลากรอุดมศึกษาในยุค ๘๐ ปี ให้หลังไว้อย่างครบถ้วน นับว่าเป็นพระวินิจฉัยที่ทันต่อกาลสมัย (อกาลิโก) โดยแท้
  • 10. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๗๙ -- ทรงเลือกประทานคําสอนตามกาละและเทศะที่เหมาะสม เมื่อทรงพระราชทุนการศึกษาแก่ผู้ใดก็มักจะหาโอกาสในการให้โอวาทในจังหวะและเวลาอัน เหมาะสมอยู่เสมอ เช่นครั้งหนึ่งเมื่อนายสวัสดิ์ แดงสว่าง นักเรียนทุนส่วนพระองค์ ได้ส่วนลดค่าเรือโดยสาร ถึง ๒๕% เมื่อทางบริษัทเดินเรือทราบว่าเป็นนักเรียนทุนไปศึกษาด้านการแพทย์ ก็ทรงมีจดหมายไปยังนาย สวัสดิ์ถึงเหตุการณ์ดังกล่าว ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๒ โดยเนื้อหาในจดหมายนั้นทั้งสุภาพและให้ เกียรติแก่ผู้รับ ทั้งที่ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ทุนแก่นายสวัสดิ์ ทรงสอนในเรื่องการมีกตัญญู กตเวทิตา แลการ บําเพ็ญประโยชน์เพื่อพหูชนก็เป็นไปอย่างแนบเนียน ๒๙๑ ถนนพระราม ๑ อําเภอปทุมวัน กรุงเทพฯ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๗๑๙๓ แจงความมายัง นายสวัสดิ์ แดงสวาง ดวยขาพเจาไดจัดการวางประจําที่สําหรับการเดินทางของทานในเรือเซแลนเดีย ซึ่งจะออกจาก กรุงเทพฯ ปลายเดือนมีนาคมนี้ และไดทราบวาผูจัดการของบริษัทอีสตเอเชียติคที่เดินเรือนี้ ไดจัดการลดราคา คาโดยสารให ๒๕ เปอรเซ็นตของจํานวนเต็ม เพราะการที่ทานจะออกไปเรียนนี้เปนการชวยเหลือเพื่อน มนุษย ขาพเจาขอถือโอกาสอันนี้แสดงใหทานเห็นวา นอกจากขาพเจาเองแลว ก็ยังมีผูนิยมในการแพทย วาเปนประโยชนแกประเทศสยาม แลแกมนุษยชาติ ถึงกับยอมสละทรัพยใหเพื่อประโยชนแหงการนี้ ทานเปนผู ไดรับผลประโยชนโดยตรง จึ่งขอวิงวอนใหแลเห็นวา อาชีพยที่ทานเลือกนี้ยกทานขึ้นอยูในหมูที่มีผูเต็มใจจะ เกื้อกูลและเอื้อเฟอ ราคาคาโดยสารเต็มนั้นทําไมขาพเจาจะใหทานไมได แตทีมีความยินดีวาบริษัทนี้ลด ราคาใหก็เพราะรูสึกวา เขาทําดวยความนิยมเลื่อมใสในกิจของเรา ฉนั้นขอทานไดชวยทดแทนบุญคุณของ บริษัทนี้โดยความตั้งใจเรียนและกลับมาทํางานเพื่อประโยชนแกชนหมูมากจริงๆ ขอใหถือประโยชนสวน ตนเปนที่สอง ประโยชนของเพื่อนมนุษเปนกิจที่หนึ่ง ลาภทรัพยและเกียรติยศจะตกมาแกทานเอง ถาทานทรง ธรรรมะแหงอาชีพยไวใหบริสุทธิ๙๔ ดังตัวอยางที่เลามาใหนี้ (ลงพระนาม) มหิดล ๙๓ ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี ๙๔ ประโยค “ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเปนที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษเป็นกิจที่หนึ่ง ลาภทรัพย์และเกียรติยศ จะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรรมะแห่งอาชีพย์ไว้ให้บริสุทธิ” นี้ ได้รับความนิยมการกล่าวอ้างถึง (Quote) อย่าง มาก แต่มักไม่มีผู้ใดระบุว่าเป็นข้อความในจดหมายถึงนักเรียนทุน นายสวัสดิ์ แดงสว่าง สะท้อนให้เห็นธรรมเนียมของ อุดมศึกษาไทยที่ไม่เคร่งครัดนักในการให้เกียรติต่อแหล่งที่มาของข้อมูล