SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๐ --
พระราชดําริเรื่องมหาวิทยาลัย
ทรงนําเสนอบันทึกพระราชดําริ เรื่อง “การสํารวจการศึกษาเพื่อประกอบพระราโชบายเรื่องการ
ตั้งมหาวิทยาลัย” และ “รายงานความเห็นเรื่องโครงการมหาวิทยาลัย” ต่อรัฐบาลในเดือนกุมภาพันธ์
๒๔๗๒ ภายในบันทึกพระราชดําริทั้ง ๒ ฉบับ แสดงถึงความลึกซึ้งในเรื่องปรัชญา บทบาท หน้าที่ และ
วิธีการจัดการศึกษามหาวิทยาลัยในระดับสากลของพระองค์ท่าน จนน่าจะได้มีการถวายสมัญญานาม
“องค์บิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย” ด้วยหากวงการอุดมศึกษาสยามได้นําแนวพระราชดําริมาประพฤติ
ปฏิบัติกันตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ประเทศสยามคงจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมประเทศชั้นนําของโลก มิพัก
จะต้องพูดถึงเรื่องความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนําระดับ
โลก (World Class University) หรือความมีธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย (University Governance)
เพราะมหาวิทยาลัยในความหมายของพระองค์ท่าน คือ สถาบันแห่งธรรมาภิบาลที่ผู้ไร้ซึ่งคุณธรรมจะไม่
สามารถอยู่ได้ ดังรายละเอียดที่ปรากฏในเอกสารจดหมาย และเอกสารรายงานของคณะกรรมการดําริ
รูปการจัดการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้
----------------------------------------------------------------------------------------------------
๒๙๑ ถนนพระราม ๑
อําเภอปทุมวัน กรุงเทพฯ
วันที่ ๕ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๗๑๙๕
ทูล พระวรวงศเธอ พระองคเจาธานีนิวัติ ทรงทราบ
ฉันขอสงรายงานเรื่องการสํารวจปญหาที่จะตั้งมหาวิทยาลัยมาถวาย พรอมดวยรายงานโครงการ
มหาวิทยาลัยอีกฉบับหนึ่ง และขอแสดงความเห็นในที่นี้ วาแมรัฐบาลจะดําริการตั้งมหาวิทยาลัยแลว ควรดําริ
หาทางทราบเสียกอนวามหาวิทยาลัยนั้น เมื่อตั้งขึ้นแลวจะเสียงเงินเทาใด และจะไดผลเทาใด ผลที่ไดจะคุม
ทุนหรือไม วิธีที่ดีที่สุดที่ฉันแลเห็นก็คือการทําสํารวจ เห็นวาเปนคั่นแรกที่จะเวนเสียไมได เปนสิ่งที่ควรทํากอน
ทั้งหมด ถึงแมรัฐบาลมิไดคิดจะตั้งมหาวิทยาลัย เมื่อไดสํารวจแลวก็จะอางไดวามีเหตุผลที่จะไมตั้ง ผลของการ
สํารวจอาจจะแสดงใหเห็นวาเราควรจะเลิกสิ่งที่มีอยูเดี๋ยวนี้ก็ได
เมื่อในที่สุดรัฐบาลจะไมเห็นสมควรจะสํารวจดวยประการใดประการหนึ่งก็ดี และยังถืออุบายวาจะมี
มหาวิทยาลัยใหไดแลว รายงานฉบับที่สองจะเสนอความเห็น วาควรจัดมหาวิทยาลัยอยางไร จึ่งจะมี
หลักฐานและบางทีจะเปนประโยชนได
ดวยความนับถืออันสูง
๙๕
ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๑ --
(ลงพระนาม) มหิดล
----------------------------------------------------------------------------------------------------
รายงานความเห็นในเรื่องการสํารวจการศึกษา
เพื่อประกอบพระบรมราโชบาย
เรื่อง การตั้งมหาวิทยาลัย
คําปรารพภ
เมื่อรัฐบาลหรือเอกชนจะทําการใหญโตเปนเงินจํานวนมากและตองการเวลานานจึ่งจะไดผล
ควรตองปฏิบัติการทดลองตามลักษณวิทยาศาสตรในมาตราเล็ก ๆ เสียกอน เพื่อเห็นผลโดยเสียเวลาและเสีย
ทุนทรัพยนอยเมื่อเห็นวาผลดีจึ่งคอยทําการใหญ วิธีปฏิบัติการทดลองนี้มีหลายประเภท แตรวมใจความแบง
ออกไดเปนสองประเภท
๑. ทําการจําลองของจริงในมาตราเล็ก ๆ และในเวลาสั้น ๆ
๒. ทําการสํารวจทองที่ ตนทุนกําไรของกิจการที่จะกระทํา
ปญหาการตั้งมหาวิทยาลัย ตองนับวาเปนการใหญและเปนการที่จะตองใหไดประโยชนทั้งประเทศ
และเปนการเกี่ยวกับกระทรวงทบวงการทุกแผนกจะทําการปฏิบัติทดลองดวยเครื่องจําลอง จะเปนการไมไดผล
ตรง จึ่งควรใชวิธีสํารวจเปนการทดลอง
ปญหาที่การสํารวจนี้อาจตอบได มีดังตอไปนี้
๑. ในโครงการศึกษาสําหรับชาติ เราควรทําการอุดมศึกษาวิธีใดบาง
๒. ในวิธีการอุดมศึกษาตาง ๆ นั้น เราควรใชวิธีดังมีมหาวิทยาลัยหรือไม
๓. เมื่อเราเห็นควรมีมหาวิทยาลัยแลว จะคิดโครงการอยางไร และจะประกอบการติดตอกับคณะอุดมศึกษา
อยางอื่นไดอยางไร
๔. จะควรมีมหาวิทยาลัยในสมัยนี้ หรือจะควรกําหนดตั้งการมหาวิทยาลัยเปนกิจอนาคต และขณะใดจึ่งควร
มี
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๒ --
๕. เมื่อถึงเวลาจะตั้ง ควรจะลงทุนเทาใด และจะเสียคาบํารุงเทาใด และวิธีบํารุงจะเปนอยางไร
๖. ผลที่จะไดจากมีมหาวิทยาลัย กับจะใชวิธีอื่นจะเปนอยางไร
๗. คณะที่เราเรียกวา "มหาวิทยาลัย" เดี๋ยวนี้นั้น จะใชเปนแกนของโครงการที่จะสรางขึ้นตอไปได
หรือไม
กอนที่จะกลาวถึงวิธีทําการสํารวจ จะขอพิจารณาการศึกษาทั่วไปเสียกอน
วิธีการศึกษาทั่วไป
กิจการศึกษาแบงเปนสามชั้น
๑. ชั้นปฐมศึกษา ซึ่งมีความมุงหมายวาจะแผไปใหกวางขวางเปนพื้นการศึกษาที่ราษฎรทุกคนทั้งหญิงและชาย
ควรจะไดรับ เปนการศึกษาที่มีความมุงหมาย
ก. ใหราษฎรทํามาหากินได
ข. ใหเปนการสดวกแกการปกครอง เปนคมนาคมความคิด
ค. ใหราษฎรมีความรูสึกสิทธิและหนาที่ของการเปนพลเมือง เพื่อเตรียมตัวรับผิดชอบในการ
ปกครองบานเมืองในทองที่หรือทั่วไปตามสวน
๒. ชั้นมัธยมศึกษาเปนโรงเรียนชั้นสูงขึ้นกวาปฐม มีหนาที่เตรียมผูที่จะเรียนวิชชาชีพย หรือศิลปวิทยาศาสต
รตอไป
๓. ชั้นอุดมศึกษา สําหรับผูที่สําเร็จชั้นปฐมและมัธยมมาแลว และจะใครเรียนวิชชาชีพย และศิลปวิทยา
ศาสตร เพื่อตั้งตนเปนผูนําความคิดของราษฎรและทํากิจการตาง ๆ เปนผูเชี่ยวชาญหรือรับตําแหนง
รับผิดชอบอันสูง
อุดมศึกษาแบงออกไดเปนสองชนิด
๑. วิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มีความมุงหมายที่จะฝกฝนใหกุลบุตรสามารถเห็นเหตุผลตนปลายของสิ่งตาง
ๆ เปนความรูรอบตัว ฝกฝนใหเปนผูรับผิดชอบและเปนผูนําราษฎรทั้งในสวนความคิดและกิจการเปนผูที่จะ
สามารถเสาะหาวิชชามาใหเปนประโยชนแกคณะ ประดิษฐสิ่งที่งามและเปนประโยชนขึ้น
๒. อาชีพยวิทยา คือการฝกฝนโดยฉะเพาะที่จะทําใหกุลบุตรสามารถประกอบการ ทํามาหากินในกิจการที่
จะตองมีการตระเตรียมโดยฉะเพาะ เชนแพทย, ผูรูกฎหมาย, พอคา.
อุดมศึกษาในประเทศสยาม
อุดมศึกษาที่ปฏิบัติอยูในประเทศสยามเดี๋ยวนี้ มีหลายชนิด
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๓ --
๑. กระทรวงตาง ๆ ไดตั้งโรงเรียนขึ้นสําหรับฝกผูที่จะเขารับราชการในกระทรวงนั้น โดยฉะเพาะ
เชน โรงเรียนนายรอย นายดาบ ของกระทรวงกลาโหม โรงเรียนนายเรือของกระทรวงทหารเรือ
๒. บางกระทรวงไดตั้งโรงเรียนขึ้นสําหรับฝกผูที่จะรับราชการในกระทรวงนั้นนั้น หรือกระทรวงอื่น ๆ หรือ
สําหรับทําการหากินสวนตัว เชน จุฬาลงกรณ"มหาวิทยาลัย" ของกระทรวงธรรมการ โรงเรียน
กฎหมาย ของกระทรวงยุติธรรม
๓. พระศาสนา ก็มีโรงเรียนขั้นอุดมศึกษา สําหรับผูที่จะศึกษาทางพระศาสนา เชน มหามงกุฎวิทยาลัย และ
โรงเรียนบาลีของพระอารามตางๆ
๔. กรมกระทรวงตาง ๆ ที่ทําการเสาะหาวิชชาหรือทําการปกครอง ก็ฝกฝนผูทําการใหเปนผูเชี่ยวชาญไว
สําหรับใช กรมรักษาสัตวน้ําของกระทรวงเกษตราธิการ และกรมแยกธาตุของกระทรวงพาณิชยและ
คมนาคม
๕. คณะที่ไมใชรัฐบาลโดยแท เชนสภากาชาดสยาม ก็ไดทําการอุดมศึกษาในทางวิทยาศาสตร และ
พยาบาล
๖. ดวยเหตุที่ในประเทศสยามยังไมมีมหาวิทยาลัย กระทรวงทบวงการและคณะชเลย ศักดิบางคณะ และ
เอกชน จึ่งมีการสงนักเรียนออกไปเรียนตางประเทศ ซึ่งตองนับวาเปนวิธีสําคัญสวนหนึ่งของการ
อุดมศึกษาของประเทศสยาม กิจการอุดมศึกษาของตางประเทศโดยมากมักจะรวมอยูในสถานที่เรียกวา
มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยอยางที่นานาประเทศเขาใจกันนั้นยังไมมีในประเทศสยาม เราใชมหาวิทยาลัย
ตางประเทศเปนสวนนั้นของการอุดมศึกษาของเรา
หนาที่ของมหาวิทยาลัย
เมื่อจะดําริการมีมหาวิทยาลัยของประเทศนี้เองแลว เราควรพิจารณาวา กิจของมหาวิทยาลัยนั้น มีอะไรบาง
๑. การเสาะหาวิชชาหรือเปดโอกาสใหกุลบุตรไดเรียนทําการเสาะหาวิชชาเลี้ยงดูทํานุบํารุงนักปราชญผู
สามารถเสาะหาวิชชาและใชผลอันนั้นมาสอนกุลบุตรไดเปนกิจสําคัญที่สุดของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเปนสมองตนความคิดของชาติ เปนสถานเลี้ยง"คนดี"ของชาติ
๒. ผลของการเสาะวิชชานี้ ตองเอามาวางเปนแบบแผนสําหรับความประพฤติของชาติทั้งในทางธรรมะและ
วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเปนหลักตัวอยางการเปนเครื่องวัด เปนที่เก็บรวบรวม และจําหนายเผยแผ
ความคิดของชาติของเราเอง และชวยทําการติดตอกับคณะที่มีหนาที่คลายกันของนานาชาติ
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๔ --
๓. มหาวิทยาลัยมีกิจสอนกุลบุตร ศิลปวิทยาศาสตร เพื่อทําใหผูมาเรียนมีความรูกวางขวางเห็นเหตุใกล
ไกลและใชความคิดที่ไดบังเกิดขึ้นดวยการเรียนเปนผลประโยชนแกคณะ นอกจากนั้น มหาวิทยาลัย
อาจจะตั้งโรงเรียนฝกฝนวิชชาชีพยบางชนิดที่ตองมีพื้นศิลปวิทยาศาสตร
๔. มหาวิทยาลัยมีกิจสอบไลกุลบุตร เพื่อวัดความรูความสามารถและรับรองเปนพยานโดยการใหปริญญาแก
ผูที่สมควร
ตามที่ไดกลาวมาแลวนี้ กิจการของมหาวิทยาลัยมีหัวขอ ๔ ประการนี้ ในประเทศสยามมิไดรวมอยู
ในคณะ "มหาวิทยาลัย" แทจริง"มหาวิทยาลัย"ทําแคการสอนเทานั้นฉนั้นเมื่อมีดําริจะมีมหาวิทยาลัยขึ้น
จริงๆ จึ่งตองนับวาเปนของใหม และเปนของใหมที่ยังไมเคยทํา กอนจะทําจึ่งควรรูตนทุนเสียกอน
ความมุงหมายของการสํารวจจึ่งเปนการที่จะหาวิธีตอบปญหาที่ไดกลาวมาในขั้นตนแลว ดังที่ได
พรรณามาแลว การสอนเปนสวนหนึ่งของกิจการมหาวิทยาลัยเทานั้น สวนเสาะหาวิชชาและทดลองเปนสวน
ใหญการนี้จึ่งไมเปนกิจของกระทรวงธรรมการกระทรวงเดียว เปนกิจของรัฐบาล เพราะเปนปญหาที่จะวาง
รัฏฐาภิปาลโนบาย เมื่อวางลงไปแลว จึ่งควรมอบกระทรวงใดหรือคณะใดคณะหนึ่งเปนผูดําเนิรการใหตอง
กับรัฏฐาภิปาลนโบาย ดวยเหตุนี้การสํารวจจึ่งตองตั้งฐานกวาง
แนวการสํารวจ
แนวการจะแบงไดเปนสี่แผนก
แผนก ๑ ปญหาทั่วไป เชน
ก. การทํามาหากินของราษฎรเปนอยางไร การอุดมศึกษาและวิชชาชีพยศึกษาโดยฉะเพาะจะให
ประโยชนแกราษฎรอยางไรไดบาง และควรรวมกําลังทําในวิชชาใดเพื่อจะไดผลแกหมูมากหรือ
หมูสําคัญ
ข. การศึกษาชั้นต่ํา ๆ กวา คือ ปฐมและมัธยมศึกษา มีเพียงใดและสวนไหนจะเปนพื้นแกการร
อุดมศึกษาไดบาง
ค. คณะอุดมศึกษามีอยูแลว จะชวยหรือจะกีดแกการมีมหาวิทยาลัยอยางใด จะมีการแกไขรวบรวม
แบงหนาที่กันอยางไร
แผนก ๒ ปญหาเศรษฐกิจแหงอุดมศึกษา
ก. รายไดของประเทศสยามทั้งประเทศ จะมีพอที่จะทําการอุดมศึกษาชนิดใด
ข. รายจายของประเทศสวนใดตกเปนประโยชนแกอุดมศึกษา
ค. รัฐบาลใชเงินคาศึกษาเทาใด และในรายจายนี้ตกเปนประโยชนแกอุดมศึกษาเทาใด
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๕ --
ง. รายไดของรัฐบาลชนิดใด จํานวนเทาใดอาจมาใชเปนอุดหนุนศึกษาได
แผนก ๓ การอุดมศึกษาที่มีอยูเดี๋ยวนี้
ก. คณะอุดมศึกษาที่มีอยูในประเทศเดี๋ยวนี้เปนอยางไรบาง มีโปลิซีอยางไร คาใชจายสมกับผลที่ได
หรือไม
ข. การเปรียบเทียบผลประโยชนและเงินที่เสียไป คิดเฉลี่ยจํานวนผูเรียน
ค. บุคคลชนิดใดเปนผูมาเรียนอุดมศึกษา และเมื่อเรียนเสร็จแลวไดเพิ่มราคาทางการเมือง, ทางเศรฐษ
กิจ, ทางจรรยา, ทางราชการ, ทางสุขาภิบาลอยางไรบาง
ง. วิธีสงนักเรียนไปตางประเทศ มีสวนและมีผลผิดกับผูที่ไดรับอุดมศึกษาในประเทศสยามอยางไรบาง
แผนก ๔ การมหาวิทยาลัย
ก. "มหาวิทยาลัย" ที่มีอยูเดี๋ยวนี้ มีเงินและทรัพยสมบัติเทาใด ไดรับความอุดหนุนจากรัฐบาลในทาง
ใด จากสาธารณชนในทางใด ผลที่ไดสมกับเงินที่เสียไปหรือไมไดเติมความรูความชํานาญใหแก
รัฐบาลอยางไรบาง เปนสิ่งจําเปนเพียงใด
ข. "มหาวิทยาลัย" เดี๋ยวนี้เพียงพอแกความจําเปนของชาติหรือไม
ค. "มหาวิทยาลัย" เดี๋ยวนี้เพียงพอแกความจําเปนของตําแหนงประเทศสยามในหมูนานาประเทศ
หรือไม
วิธีดําเนิรการ
เมื่อพิจารณาแนวการสํารวจก็เห็นไดวา การที่จะไมเปนกิจการภายในของกระทรวงธรรมการ เพราะ
แผนก ๑ จะตองเกี่ยวไปถึง การปกครอง-มหาดไทย การทํามาหากินของราษฎร-กระทรวงเกษตรกับ
พาณิชย การศึกษา-กระทรวงธรรมการ
แผนก ๒ การเงินและเศรฐกิจจะเกี่ยวกับกระทรวงพระคลังฯ เปนอันมาก
แผนก ๓ จะเกี่ยวถึงโรงเรียนอุดมและอาชีพยศึกษาตาง ๆ จะเกี่ยวถึงทุกกระทรวงที่ปกครองโรงเรียน
ชนิดนี้
แผนก ๔ เทานั้น ซึ่งจะเกี่ยวดวยกระทรวงธรรมการโดยฉะเพาะ เพราะ "มหาวิทยาลัย" บังเอินตก
ไปอยูในใตความปกครองกระทรวงนั้น
ดวยเหตุนี้การสํารวจนี้ เมื่อจะดําริขึ้นแลว ตองดําริเปนกิจการของรัฐบาลรวมกัน ควรตั้งกรรมการ
ประกอบจากกระทรวงตางเพื่อดําเนิรรัฏฐปาลโนบายรวมมือกันสภาสํารวจนี้ควรตั้งเปนพิเศษ
สภานี้ควรมีที่ปรึกษาเปนผูเชี่ยวชาญในการศึกษามาจากตางประเทศเพราะ
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๖ --
๑.เวลานี้ในประเทศสยามยังไมมีผูเชี่ยวชาญทางศึกษาผูที่มิไดทําการติดตออยูกับกระทรวงใดกระทรวง
หนึ่งแลว
๒.ถาจะเลือกผูเชี่ยวชาญจากกระทรวงใดก็ตาม ยังจะเปนที่สงสัยไดวาผูนั้นจะเอาใจชวยกระทรวงของ
ตน
๓.เพื่อตัด "vested interest"
๔.อาจหาผูเชี่ยวชาญที่ไดเคยทําสํารวจในเมืองอื่นมาแลว
๕.จะเปนที่เชื่อถือแกนานาประเทศ
๖.จะเปนคนกลางจริงและแลเห็นการเปนไปอยางกวางขวางไมมีปญหาทองที่เล็ก ๆ นอย ๆ มาเปน
กังวล
๗.เมื่อเสร็จการแลวจะไดหมดหนาที่ไมตองดําริหางานอื่นใหทํา เปนขาดไปไมหมายพึ่งผูใดในประเทศ
สยามยอมจะทําใหผูนั้นกลาพูดบางอยางโดยไมตองคิดเกรงใจหรือนึกถึงการภายหนา
ระเบียบการสํารวจ
ดวยเหตุนี้ในที่นี้จึ่งขอเสนอระเบียบการสํารวจเปนอยางนี้
๑. กรรมการองคมนตรีฝายสยามหนึ่งหรือสามนาย เปนผูรับผิดชอบดําเนิรการ
๒. ผูเชี่ยวชาญตางประเทศหนึ่งหรือสองนาย เปนผูทําการสํารวจหรือเขียนรายงาน
๓. ผูชวยยืมมาชั่วคราวจากกระทรวงตางๆ มี มหาดไทย คลัง ธรรมการ เปนตน เปนผูติดตอกับ
เจาหนาที่กระทรวง
๔. เสมียนพนักงานจางขึ้นชั่วคราว
ฝายการทุนนั้นจะตองมีดังตอไปนี้
๑.กรรมการไมมีเงินเดือน
๒.ผูเชี่ยวชาญไดเงินเดือนตามแตกรรมการจะตกลงกับบุคคลได ประมาณวาจะเปน คนละ ๒๐,๐๐๐ -
๓๐,๐๐๐ บาทตอป คาเดินทางของผูเชี่ยวชาญปละ ๒๐,๐๐๐ บาท
๓.คาเดินทางของเจาพนักงานปละ ๕,๐๐๐ บาท
๔.เงินเดือนเสมียนพนักงานปละ ๒,๔๐๐ บาท
๕.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยหรือกระทรวงธรรมการควรหาที่ทางสํานักงานให วิธีหาผูเชี่ยวชาญ ควรเปน
กิจของกรรมการจะจัด
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๗ --
ในที่นี้ขอเสนอความที่ทราบมาวา
๑. แผนกเยเนราลเอดุเคชั่นของรอคคิเฟลเลอรมูลนิธิไดรับรองวา เมื่อรัฐบาลสยามจะขอเชื้อเชิญใหเขาเขามา
ทําการสํารวจการศึกษาของประเทศสยามแลวเขารับจะหาผูเชี่ยวชาญให แตใหรัฐบาลสยามเปนผูให
เงินเดือนและบางทีจะชวยในการพิมพประกาศรายงานนี้ใหเปนสมบัติความรูแกโลก เมื่อมีการสํารวจเปน
ชิ้นเปนอันอยางนี้ บางทีจะเปนหนทางที่จะชักชวนใหแผนกเยเนราลเอดุเคชั่นนี้แนะนําใหคณะรอคคิเฟล
เลอรมูลนิธิทําการรวมมือในการอุดมศึกษาบางแผนกได
๒. แผนกสํารวจแหงสันนิบาตชาติไดเคยทําการสํารวจการสาธารณสุขในประเทศอิหรานและฟงดูมีประสงคจะ
แสดงความเอาใจใสกับประเทศสยาม และอาจรับอาสาหาผูสํารวจมาใหได
กําหนดเวลา ที่จะตองการ แบงเปนสามภาค
ภาค ๑ การตั้งกรรมการ และกรรมการหาจางผูเชี่ยวชาญ ๖ - ๘ เดือน
ภาค ๒ ผูเชี่ยวชาญเที่ยวทําการสํารวจในกรุงและหัวเมือง ๑ ป
ภาค ๓ เขียนและพิมพรายงาน ๑ ป
การแบงภาคนี้ในเวลาทําจริงคงจะกําหนดลงไปไมไดเด็ดขาดอาจเขียนพลางสํารวจพลาง แตอยางไรเสียก็ดี
ควรไดผลภายในสองปครึ่ง
เรื่องรายงาน
รายงานของผูเชี่ยวชาญควรใหพิจารณา ๔ ขอ
๑.รายงานพรรณาถึงการเปนไปของกิจการตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการอุดมศึกษา ในสมัยนี้
๒.รายงานพรรณาถึงโอกาสตาง ๆ ในประเทศสยาม ซึ่งจะประกอบการอุดมศึกษา และในแผนก
ใดบางของชีวิตราษฎรอุดมศึกษาจะนําประโยชนมาใหมากที่สุด
๓.รายงานดําริการวางโครงการอุดมศึกษาวาดวยหลัก ๓ ประการคือ ทุน เวลา และหลักสูตร
หลักทุน
ก. ภายในครอบงบประมาณที่โปรดใหอยูเดี๋ยวนี้ สําหรับอุดมศึกษาจะวางระดับหลักสูตรไดสูง
เพียงใด และควรใชเวลานานเทาใดที่จะใหการถึงระดับหลักสูตรที่ไดตั้งขึ้นไว
ข. สวนใดของรายจายทั้งหมดของรัฐบาลควรอุทิศใหแกการศึกษา และจากงบที่อุทิศใหแก
การศึกษานี้ สวนใดควรจายเปนทุนสําหรับอุดมศึกษาจึ่งจะเพียงพอกับความตองการของประเทศ
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๘ --
หลักเวลา
ถาใหทุนนอย แตระดับหลักสูตรสูงก็จําเปนที่จะตองใหเวลานาน ถาแมทุนมากและระดับหลักสูตรต่ํา
เวลาก็ยอมจะไมตองใหมาก
หลักสูตร
ก. ควรพิจารณาวาหลักสูตรอุดมศึกษาควรเปนอยางไรจึ่งจะไดสวนกับปฐมและมัธยมศึกษา
ข. ระดับหลักสูตรอยางใดจึ่งจะใหผลเศรษฐกิจอันดีแกบานเมือง
ค. ระดับหลักสูตรอยางใดจึ่งจะรับการยกยองไวใจจากตางประเทศได
ง. รายงานวิธีจัดการมหาวิทยาลัย
ถาแมเราตกลงเห็นวา ควรมีมหาวิทยาลัยแลว จะตองดําริวา
ก. มหาวิทยาลัยนี้จะทําการสอนศิลปวิทยาศาสตรกวางขวาง หรือจะสอนวิชชาชีพยเทานั้น หรือจะสอนทั้ง
สองอยาง
ข. เมื่อจะสอนวิชชาชีพยแลว จะตองวางระเบียบเสียใหแนนอน วาจะมีการติดตอทดแทนกับโรงเรียนวิชชา
ชีพยของกระทรวงตาง ๆ อยางไร เพื่อไมใหงานซ้ําหรือแบงกัน
ค. การสอนที่มหาวิทยาลัยกับการสงนักเรียนไปเรียนตางประเทศตองวางระเบียบใหทดแทนกันเสีย เพื่อทั้งสอง
วิธีจะไดไมแกงแยงกัน
ง. จะตองทําการเขาใจแบงหนาที่และอาณาเขตต กิจการเสียกับโรงเรียน หรือสถานศึกษาชเลยศักดิ์ชั้น
อุดมศึกษา
จ. จะตองวางระเบียบปกครองของมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นนี้ใหลงกรอบราชการ และจัดการใหรัฐบาลรับรองยก
ยองผูเรียนสําเร็จออกมาตามสมควร
รวมใจความมีปญหาสําคัญที่จะตองตัดสินใหแจมแจง คือ
๑. ในกรอบงบประมาณที่โปรดใหแกคณะมหาวิทยาลัยเดี๋ยวนี้รวมทั้งงบประมาณของโรงเรียนที่อาจมา
รวมเขาในมหาวิทยาลัยไดจะจัดการมหาวิทยาลัยชนิดใดขึ้นได จะมีระดับหลักสูตรสูงเพียงใด จะ
ตองการเวลาเทาใดจึ่งจะจัดสําเร็จ
๒. ถาแมจะถือระดับหลักสูตรเปนเกณฑแลว จะตองเพิ่มเงินเทาใด และใหเวลาเทาใด จึงจะไดมหาวิทยาลัย
ดังประสงค
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๙ --
ผลของการสํารวจ
ผลของการสํารวจนี้มีดังตอไปนี้
๑. เราจะทราบการเปนไปของการอุดมศึกษาที่มีอยูเดี๋ยวนี้
๒. เราจะทราบความตองการของชนิดของอุดมศึกษาของชาติ
๓. เราจะไดทราบวาการอุดมศึกษาจะเปนราคาเทาใดจึ่งจะสมกับตําแหนงเศรษฐกิจของประเทศ
๔. เราจะไดผูเชี่ยวชาญมาวางระเบียบ
๕. ถึงแมเมื่อพิจารณารายงานนี้แลว เห็นวาเราไมควรมีการอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัย เราจะไดรูวาเหตุ
ใดจึ่งไมควรมี
๖. ถึงแมเราจะไมสามารถทําตามคําแนะนําของสํารวจอันนี้ ความรูวาเมื่อปที่ไดทําการสํารวจนี้มีการ
อุดมศึกษาอยางไรบาง จะเปนประโยชนสําหรับเมื่ออีกสิบปภายหนา เราจะทําสํารวจอีกทีหนึ่งก็จะแล
เห็นไดวาสิ่งใดจําเริญขึ้นสิ่งใดซุดโทรมลง
รวบรวมใจความวา ถาแมการสํารวจนี้ทําใหเราตอบปญหาไดวาเหตุใดจึ่งควรมี หรือไมควรมี
มหาวิทยาลัยแลว ถาเรามาถึงซึ่งความเห็นวา มหาวิทยาลัยนี้เปนกิจของชาติ ไมใชกิจของกระทรวงใด
กระทรวงหนึ่งโดยฉะเพาะ ก็นับวาไดผลพอที่จะเสียเงินเสียเวลาให เพราะการนี้จะลงมือทําการใหญโตซึ่ง
จะตองเสียเงินมาก
ถาทําดวยรูเหตุผลดีกวาทําเปนการทดลองในมาตราใหญโต เปนอุบายปกครองที่หนักแนน แม
รัฐบาลไมเห็นดวยกับรายงานนี้ จะไมรับทําตามทั้งหมดหรือแตบางสวนรายงานนี้ก็เปนประโยชนในฐานเปนพ
ยานวาเหตุใดรัฐบาลจึ่งไมทําตาม
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๐ --
แนวพระราชดําริ “โครงสร้างการจัดการมหาวิทยาลัย”
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๑ --
"รายงานความเห็นเรื่องโครงการมหาวิทยาลัย"
ผูรายงานนี้มีความหวังวา รัฐบาลคงจะพิจารณาและรับดําริการทําสํารวจตามรายงานการสํารวจซึ่ง
ไดเสนอขึ้นไปแลวกอนที่จะตัดสินวาประเทศสยามควรมีมหาวิทยาลัย. แตรัฐบาลจะถือวา "มหาวิทยาลัย"
นั้นมีอยูแลวเปน "fait accompli" เสียแลว จะเลิกก็จะเสียรัสมี ในที่นี้จึงขอเสนอความเห็นวาจะ
จัดการเปลี่ยนแปลงอยางใดไดบาง เพื่อให "มหาวิทยาลัย" นี้เปนมหาวิทยาลัยจริงๆ และใหมีกิจการ
กวางขวางออกไปอีก.
ในรายงานการสํารวจไดมีปรารพภถึง
๑. กิจการศึกษาทั่วไป
๒. กิจการอุดมศึกษา
๓. หนาที่มหาวิทยาลัย
ในที่นี้จึ่งขอปรารพภตอไปวา
๑. มหาวิทยาลัยควรเปนคณะอิศระขึ้นแกพระองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโดยตรง หรือขึ้นแกคณะ
อภิรัฐมนตรี เชนเดียวกับมหาวิทยาลัยออกซฟอรด และเคมบริดจก็ขึ้นกับเฮาสออฟ ลอรดมิได
ขึ้นกับบอรดเอดดุเคชั่น
๒. เพื่อที่มหาวิทยาลัยจะประพฤติหนาที่ที่เขาใจกันวาเปนกิจของมหาวิทยาลัย รัฐบาลจะตองใหกรรมสิทธิ
พิเศษแกมหาวิทยาลัย
ก. ทําการคนควาหาความจริงในทางธรรมและในทางวิทยาศาสตร ไดโดยสดวกดวยความปกปก
รักษาของรัฐบาล
ข. นําความรูและความคิดที่สอดสองมาไดนี้แพรหลายสอนกุลบุตร ดวยความมุงหมายใหแผ
ประโยชนแกบานเมืองและแกโลก
ค. ทําการสอบไลและประสาทปริญญาแกผูสอบไลได
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๒ --
ปริญญานี้ผิดกับยศหรือบรรดาศักดิ์ในฐานที่เปนเครื่องแสดงความรูความ สามารถ มิใชแสดงตําแหนง
ราชการหรือพระราชนิยม ในประเทศสยามเราเขาใจกันวาสิทธิที่จะตั้งใครเปนอะไรนั้นอยูในพระเจาแผนดิน
พระองคเดียว ซึ่งเปนความจริง ยศ บรรดาศักดิ์ อาจเรียกรองความยกยองจากพลเมืองสยามทุกคน ผูที่ยก
ยองรัฐบาลและจากตางประเทศที่มีสัญญาที่ถอยทีถอยยกยองซึ่งกันแลกัน แมรัฐบาลหรือบุคคลใดไมยกยองยศ
บรรดาศักดิ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจาแผนดินสยามพระราชทานแลว ก็เทากับไมยกยองรัฐบาลของ
พระองค ฝายปริญญานั้นมิถือหลักวิชชาเปนเกณฑ และคณะวิชชาตาง ๆ มักไดรับกรรมสิทธตั้งตัวเปนอิศระ
ในปญหาความคิด ฉนั้นถาแมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะพระราชทานปริญญาแลว เมื่อภราดรนักปราชญ
ของคณะใดจะไมยกยองดวยอางวาบกพรองในทางวิชชา ก็จะเปนที่เสียพระเกียรติยศ
จึ่งควรมอบความรับผิดชอบพระราชทานแกคณะที่พรอมดวยคุณวุฒิที่ภราดรนักปราชญไดยกยองแลว
กลาวคือคณะผูที่ไดรับปริญญาจากผูทรงอํานาจเต็มในกิจนี้ และถาพิจารณาไปแลว ก็เทากับรัฐบาลไดให
ปริญญา เพราะรัฐบาลเปนผูใหสิทธิแกคณะมหาวิทยาลัยใหใหปริญญา จึ่งเปนการใหทางออมโดยที่ไมเปน
ผูรับผิดชอบในเรื่องวิชชา ดวยเหตุที่กลาวมานี้แลว จึ่งขอวางโครงการลงไปวา รัฐบาลจะโปรดให
กรรมสิทธิพิเศษแกสภากรรมการมหาวิทยาลัยใหเปนองคคณะมีสิทธิประกอบการคนควา การสอน การให
ปริญญา การถือเอาหรือจําหนายหรือเปนเจาของทรัพย เปนโจทยจําเลยในศาลตาง ๆ ไดเหมือน
บุคคล สภากรรมการนี้จะตั้งขึ้นดวยพระบรมราชโองการ มีสมาชิกตามหนาที่ และสมาชิกผูที่จะทรงโปรด
ตั้งขึ้น มีสภานายกเปนประธาน สภานี้มีหนาที่รับผิดชอบในการดําเนิรการมหาวิทยาลัยแกพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวหรืออภิรัฐมนตรี และมีสิทธิ์ที่นายกของสภาจะทําการติดตอกระทรวงทบวงการตาง ๆ สภานี้จะมีอุป
นายกเปนผูดําเนิรการประจําตําแหนง รับผิดชอบตอสภาปกครองมหาวิทยาลัยทั้งหมด
การปกครองมหาวิทยาลัยจะแบงเปนสามแผนก
๑. คณะวิชชา อุปนายกเองเปนวิชชาธิการ
๒. คณะสภาเสเนต มีประธานของเสเนตเปนประธาน มีหนาที่ชวยอุปนายกจัดการปกครองภายใน
๓. คณะผลประโยชน มีเหรัญญิกของมหาวิทยาลัยเปนหัวหนา
คณะวิชชาแบงเปนคณะวิชชาตาง ๆ เชนแพทย อักษรศาสตรและวิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร
เปนตน มีคณะบดีเปนประธาน มีศาสตราจารยและผูชวยศาสตราจารยเปนแมกอง ศาสตราจารยนี้สภา
กรรมการเปนผูตั้ง ดวยความรับรองแนะนําของคณะบดีและอุปนายก
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๓ --
เสเนต เปนคณะที่เลือกขึ้น มีผูแทนจากคณะอาจารยคณะทรัพยสมบัติ คณะนักเรียน ลวนเปนผูที่ไดถูก
เลือกมาทั้งนั้น มีหนาที่เสนอความเห็นแกสภา และมีสิทธิที่จะทํากฎขอบังคับปกครองภายใน เกี่ยวดวยการ
เลือกนักเรียนเขา การปกครองการอยูกินของนักเรียน การไลนักเรียนออก
การรางกฎปริญญา
กฎขอบังคับที่เสเนตทําขึ้นนี้ตองไดรับอนุมัติจากอุปนายกจึ่งจะเปนกําลัง คณะผลประโยชนเปนคณะที่
สภาจะไดตั้งขึ้นสําหรับปกครองผลประโยชนของมหาวิทยาลัย ดูแลการจายเงินผลประโยชน การกอสราง
รักษาทรัพยสมบัติ และติดตอกับกระทรวงธรรมการในเรื่องเงินทุนที่ไดโปรดอุดหนุนจากรัฐบาล
เรื่องการเงิน
มหาวิทยาลัยมีสิทธิที่จะมีทุนเปนเงินหรือทรัพยสมบัติที่ดิน มีรายไดสี่ประการ
๑. รายไดจากกองผลประโยชน
๒. รายไดจากนักเรียน
๓. รายไดจากเรี่ยไรหรือเงินอุทิศ
๔. รายไดเปนทุนที่ไดโปรดอุดหนุนจากรัฐบาล
รายที่ ๑ กับ ๒ นั้น สภาจะใชไดโดยไมมีจํากัดความมุงหมาย
รายที่ ๓ นั้นสุดแลวแตความจํากัดของผูอุทิศ
รายที่ ๔ มีจํากัดตามกฎขอที่จะเปนหนาที่ของกระทรวงธรรมการผูรับเงินนี้มาจากกระทรวงพระคลัง
มหาสมบัติจะวางลงใหสภาปฏิบัติ
ทุนที่ไดโปรดอุดหนุนนี้จะแบงออกไดเปนสองชนิด
ทุนชั่วครั้งคราวเปนกอนสําหรับกอสรางหรือขยายกิจการ
ทุนประจําปสําหรับเปนเงินเดือนเจาหนาที่หรืองบประมาณใชจายในกองตาง ๆ
กระทรวงพระคลังฯ มีสิทธิที่จะเขาไปตรวจการจําหนายทุนที่ไดโปรดอุดหนุนทุกเวลา และสภา
จะตองเชิญเจาพนักงานใหตรวจรายไดรายจายทุนชนิดอื่นเปนครั้งเปนคราวเพื่อเพิ่มความ ไวใจ

More Related Content

Similar to 18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย

วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
naykulap
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
JulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
JulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
JulPcc CR
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
hall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
hall999
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Panuchanat
 

Similar to 18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย (17)

วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
การศึกษา ในรัชสมัย ร.6
การศึกษา ในรัชสมัย ร.6การศึกษา ในรัชสมัย ร.6
การศึกษา ในรัชสมัย ร.6
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
สุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 

18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๐ -- พระราชดําริเรื่องมหาวิทยาลัย ทรงนําเสนอบันทึกพระราชดําริ เรื่อง “การสํารวจการศึกษาเพื่อประกอบพระราโชบายเรื่องการ ตั้งมหาวิทยาลัย” และ “รายงานความเห็นเรื่องโครงการมหาวิทยาลัย” ต่อรัฐบาลในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๔๗๒ ภายในบันทึกพระราชดําริทั้ง ๒ ฉบับ แสดงถึงความลึกซึ้งในเรื่องปรัชญา บทบาท หน้าที่ และ วิธีการจัดการศึกษามหาวิทยาลัยในระดับสากลของพระองค์ท่าน จนน่าจะได้มีการถวายสมัญญานาม “องค์บิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย” ด้วยหากวงการอุดมศึกษาสยามได้นําแนวพระราชดําริมาประพฤติ ปฏิบัติกันตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ประเทศสยามคงจะเจริญก้าวหน้าทัดเทียมประเทศชั้นนําของโลก มิพัก จะต้องพูดถึงเรื่องความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness) ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนําระดับ โลก (World Class University) หรือความมีธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย (University Governance) เพราะมหาวิทยาลัยในความหมายของพระองค์ท่าน คือ สถาบันแห่งธรรมาภิบาลที่ผู้ไร้ซึ่งคุณธรรมจะไม่ สามารถอยู่ได้ ดังรายละเอียดที่ปรากฏในเอกสารจดหมาย และเอกสารรายงานของคณะกรรมการดําริ รูปการจัดการจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ๒๙๑ ถนนพระราม ๑ อําเภอปทุมวัน กรุงเทพฯ วันที่ ๕ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๔๗๑๙๕ ทูล พระวรวงศเธอ พระองคเจาธานีนิวัติ ทรงทราบ ฉันขอสงรายงานเรื่องการสํารวจปญหาที่จะตั้งมหาวิทยาลัยมาถวาย พรอมดวยรายงานโครงการ มหาวิทยาลัยอีกฉบับหนึ่ง และขอแสดงความเห็นในที่นี้ วาแมรัฐบาลจะดําริการตั้งมหาวิทยาลัยแลว ควรดําริ หาทางทราบเสียกอนวามหาวิทยาลัยนั้น เมื่อตั้งขึ้นแลวจะเสียงเงินเทาใด และจะไดผลเทาใด ผลที่ไดจะคุม ทุนหรือไม วิธีที่ดีที่สุดที่ฉันแลเห็นก็คือการทําสํารวจ เห็นวาเปนคั่นแรกที่จะเวนเสียไมได เปนสิ่งที่ควรทํากอน ทั้งหมด ถึงแมรัฐบาลมิไดคิดจะตั้งมหาวิทยาลัย เมื่อไดสํารวจแลวก็จะอางไดวามีเหตุผลที่จะไมตั้ง ผลของการ สํารวจอาจจะแสดงใหเห็นวาเราควรจะเลิกสิ่งที่มีอยูเดี๋ยวนี้ก็ได เมื่อในที่สุดรัฐบาลจะไมเห็นสมควรจะสํารวจดวยประการใดประการหนึ่งก็ดี และยังถืออุบายวาจะมี มหาวิทยาลัยใหไดแลว รายงานฉบับที่สองจะเสนอความเห็น วาควรจัดมหาวิทยาลัยอยางไร จึ่งจะมี หลักฐานและบางทีจะเปนประโยชนได ดวยความนับถืออันสูง ๙๕ ปีในจดหมายระบุ พ.ศ.๒๔๗๑ เนื่องจากประเทศสยามยังใช้วิธีการนับเดือนเมษายนเป็นเดือนแรกของปี
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๑ -- (ลงพระนาม) มหิดล ---------------------------------------------------------------------------------------------------- รายงานความเห็นในเรื่องการสํารวจการศึกษา เพื่อประกอบพระบรมราโชบาย เรื่อง การตั้งมหาวิทยาลัย คําปรารพภ เมื่อรัฐบาลหรือเอกชนจะทําการใหญโตเปนเงินจํานวนมากและตองการเวลานานจึ่งจะไดผล ควรตองปฏิบัติการทดลองตามลักษณวิทยาศาสตรในมาตราเล็ก ๆ เสียกอน เพื่อเห็นผลโดยเสียเวลาและเสีย ทุนทรัพยนอยเมื่อเห็นวาผลดีจึ่งคอยทําการใหญ วิธีปฏิบัติการทดลองนี้มีหลายประเภท แตรวมใจความแบง ออกไดเปนสองประเภท ๑. ทําการจําลองของจริงในมาตราเล็ก ๆ และในเวลาสั้น ๆ ๒. ทําการสํารวจทองที่ ตนทุนกําไรของกิจการที่จะกระทํา ปญหาการตั้งมหาวิทยาลัย ตองนับวาเปนการใหญและเปนการที่จะตองใหไดประโยชนทั้งประเทศ และเปนการเกี่ยวกับกระทรวงทบวงการทุกแผนกจะทําการปฏิบัติทดลองดวยเครื่องจําลอง จะเปนการไมไดผล ตรง จึ่งควรใชวิธีสํารวจเปนการทดลอง ปญหาที่การสํารวจนี้อาจตอบได มีดังตอไปนี้ ๑. ในโครงการศึกษาสําหรับชาติ เราควรทําการอุดมศึกษาวิธีใดบาง ๒. ในวิธีการอุดมศึกษาตาง ๆ นั้น เราควรใชวิธีดังมีมหาวิทยาลัยหรือไม ๓. เมื่อเราเห็นควรมีมหาวิทยาลัยแลว จะคิดโครงการอยางไร และจะประกอบการติดตอกับคณะอุดมศึกษา อยางอื่นไดอยางไร ๔. จะควรมีมหาวิทยาลัยในสมัยนี้ หรือจะควรกําหนดตั้งการมหาวิทยาลัยเปนกิจอนาคต และขณะใดจึ่งควร มี
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๒ -- ๕. เมื่อถึงเวลาจะตั้ง ควรจะลงทุนเทาใด และจะเสียคาบํารุงเทาใด และวิธีบํารุงจะเปนอยางไร ๖. ผลที่จะไดจากมีมหาวิทยาลัย กับจะใชวิธีอื่นจะเปนอยางไร ๗. คณะที่เราเรียกวา "มหาวิทยาลัย" เดี๋ยวนี้นั้น จะใชเปนแกนของโครงการที่จะสรางขึ้นตอไปได หรือไม กอนที่จะกลาวถึงวิธีทําการสํารวจ จะขอพิจารณาการศึกษาทั่วไปเสียกอน วิธีการศึกษาทั่วไป กิจการศึกษาแบงเปนสามชั้น ๑. ชั้นปฐมศึกษา ซึ่งมีความมุงหมายวาจะแผไปใหกวางขวางเปนพื้นการศึกษาที่ราษฎรทุกคนทั้งหญิงและชาย ควรจะไดรับ เปนการศึกษาที่มีความมุงหมาย ก. ใหราษฎรทํามาหากินได ข. ใหเปนการสดวกแกการปกครอง เปนคมนาคมความคิด ค. ใหราษฎรมีความรูสึกสิทธิและหนาที่ของการเปนพลเมือง เพื่อเตรียมตัวรับผิดชอบในการ ปกครองบานเมืองในทองที่หรือทั่วไปตามสวน ๒. ชั้นมัธยมศึกษาเปนโรงเรียนชั้นสูงขึ้นกวาปฐม มีหนาที่เตรียมผูที่จะเรียนวิชชาชีพย หรือศิลปวิทยาศาสต รตอไป ๓. ชั้นอุดมศึกษา สําหรับผูที่สําเร็จชั้นปฐมและมัธยมมาแลว และจะใครเรียนวิชชาชีพย และศิลปวิทยา ศาสตร เพื่อตั้งตนเปนผูนําความคิดของราษฎรและทํากิจการตาง ๆ เปนผูเชี่ยวชาญหรือรับตําแหนง รับผิดชอบอันสูง อุดมศึกษาแบงออกไดเปนสองชนิด ๑. วิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มีความมุงหมายที่จะฝกฝนใหกุลบุตรสามารถเห็นเหตุผลตนปลายของสิ่งตาง ๆ เปนความรูรอบตัว ฝกฝนใหเปนผูรับผิดชอบและเปนผูนําราษฎรทั้งในสวนความคิดและกิจการเปนผูที่จะ สามารถเสาะหาวิชชามาใหเปนประโยชนแกคณะ ประดิษฐสิ่งที่งามและเปนประโยชนขึ้น ๒. อาชีพยวิทยา คือการฝกฝนโดยฉะเพาะที่จะทําใหกุลบุตรสามารถประกอบการ ทํามาหากินในกิจการที่ จะตองมีการตระเตรียมโดยฉะเพาะ เชนแพทย, ผูรูกฎหมาย, พอคา. อุดมศึกษาในประเทศสยาม อุดมศึกษาที่ปฏิบัติอยูในประเทศสยามเดี๋ยวนี้ มีหลายชนิด
  • 4. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๓ -- ๑. กระทรวงตาง ๆ ไดตั้งโรงเรียนขึ้นสําหรับฝกผูที่จะเขารับราชการในกระทรวงนั้น โดยฉะเพาะ เชน โรงเรียนนายรอย นายดาบ ของกระทรวงกลาโหม โรงเรียนนายเรือของกระทรวงทหารเรือ ๒. บางกระทรวงไดตั้งโรงเรียนขึ้นสําหรับฝกผูที่จะรับราชการในกระทรวงนั้นนั้น หรือกระทรวงอื่น ๆ หรือ สําหรับทําการหากินสวนตัว เชน จุฬาลงกรณ"มหาวิทยาลัย" ของกระทรวงธรรมการ โรงเรียน กฎหมาย ของกระทรวงยุติธรรม ๓. พระศาสนา ก็มีโรงเรียนขั้นอุดมศึกษา สําหรับผูที่จะศึกษาทางพระศาสนา เชน มหามงกุฎวิทยาลัย และ โรงเรียนบาลีของพระอารามตางๆ ๔. กรมกระทรวงตาง ๆ ที่ทําการเสาะหาวิชชาหรือทําการปกครอง ก็ฝกฝนผูทําการใหเปนผูเชี่ยวชาญไว สําหรับใช กรมรักษาสัตวน้ําของกระทรวงเกษตราธิการ และกรมแยกธาตุของกระทรวงพาณิชยและ คมนาคม ๕. คณะที่ไมใชรัฐบาลโดยแท เชนสภากาชาดสยาม ก็ไดทําการอุดมศึกษาในทางวิทยาศาสตร และ พยาบาล ๖. ดวยเหตุที่ในประเทศสยามยังไมมีมหาวิทยาลัย กระทรวงทบวงการและคณะชเลย ศักดิบางคณะ และ เอกชน จึ่งมีการสงนักเรียนออกไปเรียนตางประเทศ ซึ่งตองนับวาเปนวิธีสําคัญสวนหนึ่งของการ อุดมศึกษาของประเทศสยาม กิจการอุดมศึกษาของตางประเทศโดยมากมักจะรวมอยูในสถานที่เรียกวา มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยอยางที่นานาประเทศเขาใจกันนั้นยังไมมีในประเทศสยาม เราใชมหาวิทยาลัย ตางประเทศเปนสวนนั้นของการอุดมศึกษาของเรา หนาที่ของมหาวิทยาลัย เมื่อจะดําริการมีมหาวิทยาลัยของประเทศนี้เองแลว เราควรพิจารณาวา กิจของมหาวิทยาลัยนั้น มีอะไรบาง ๑. การเสาะหาวิชชาหรือเปดโอกาสใหกุลบุตรไดเรียนทําการเสาะหาวิชชาเลี้ยงดูทํานุบํารุงนักปราชญผู สามารถเสาะหาวิชชาและใชผลอันนั้นมาสอนกุลบุตรไดเปนกิจสําคัญที่สุดของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเปนสมองตนความคิดของชาติ เปนสถานเลี้ยง"คนดี"ของชาติ ๒. ผลของการเสาะวิชชานี้ ตองเอามาวางเปนแบบแผนสําหรับความประพฤติของชาติทั้งในทางธรรมะและ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเปนหลักตัวอยางการเปนเครื่องวัด เปนที่เก็บรวบรวม และจําหนายเผยแผ ความคิดของชาติของเราเอง และชวยทําการติดตอกับคณะที่มีหนาที่คลายกันของนานาชาติ
  • 5. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๔ -- ๓. มหาวิทยาลัยมีกิจสอนกุลบุตร ศิลปวิทยาศาสตร เพื่อทําใหผูมาเรียนมีความรูกวางขวางเห็นเหตุใกล ไกลและใชความคิดที่ไดบังเกิดขึ้นดวยการเรียนเปนผลประโยชนแกคณะ นอกจากนั้น มหาวิทยาลัย อาจจะตั้งโรงเรียนฝกฝนวิชชาชีพยบางชนิดที่ตองมีพื้นศิลปวิทยาศาสตร ๔. มหาวิทยาลัยมีกิจสอบไลกุลบุตร เพื่อวัดความรูความสามารถและรับรองเปนพยานโดยการใหปริญญาแก ผูที่สมควร ตามที่ไดกลาวมาแลวนี้ กิจการของมหาวิทยาลัยมีหัวขอ ๔ ประการนี้ ในประเทศสยามมิไดรวมอยู ในคณะ "มหาวิทยาลัย" แทจริง"มหาวิทยาลัย"ทําแคการสอนเทานั้นฉนั้นเมื่อมีดําริจะมีมหาวิทยาลัยขึ้น จริงๆ จึ่งตองนับวาเปนของใหม และเปนของใหมที่ยังไมเคยทํา กอนจะทําจึ่งควรรูตนทุนเสียกอน ความมุงหมายของการสํารวจจึ่งเปนการที่จะหาวิธีตอบปญหาที่ไดกลาวมาในขั้นตนแลว ดังที่ได พรรณามาแลว การสอนเปนสวนหนึ่งของกิจการมหาวิทยาลัยเทานั้น สวนเสาะหาวิชชาและทดลองเปนสวน ใหญการนี้จึ่งไมเปนกิจของกระทรวงธรรมการกระทรวงเดียว เปนกิจของรัฐบาล เพราะเปนปญหาที่จะวาง รัฏฐาภิปาลโนบาย เมื่อวางลงไปแลว จึ่งควรมอบกระทรวงใดหรือคณะใดคณะหนึ่งเปนผูดําเนิรการใหตอง กับรัฏฐาภิปาลนโบาย ดวยเหตุนี้การสํารวจจึ่งตองตั้งฐานกวาง แนวการสํารวจ แนวการจะแบงไดเปนสี่แผนก แผนก ๑ ปญหาทั่วไป เชน ก. การทํามาหากินของราษฎรเปนอยางไร การอุดมศึกษาและวิชชาชีพยศึกษาโดยฉะเพาะจะให ประโยชนแกราษฎรอยางไรไดบาง และควรรวมกําลังทําในวิชชาใดเพื่อจะไดผลแกหมูมากหรือ หมูสําคัญ ข. การศึกษาชั้นต่ํา ๆ กวา คือ ปฐมและมัธยมศึกษา มีเพียงใดและสวนไหนจะเปนพื้นแกการร อุดมศึกษาไดบาง ค. คณะอุดมศึกษามีอยูแลว จะชวยหรือจะกีดแกการมีมหาวิทยาลัยอยางใด จะมีการแกไขรวบรวม แบงหนาที่กันอยางไร แผนก ๒ ปญหาเศรษฐกิจแหงอุดมศึกษา ก. รายไดของประเทศสยามทั้งประเทศ จะมีพอที่จะทําการอุดมศึกษาชนิดใด ข. รายจายของประเทศสวนใดตกเปนประโยชนแกอุดมศึกษา ค. รัฐบาลใชเงินคาศึกษาเทาใด และในรายจายนี้ตกเปนประโยชนแกอุดมศึกษาเทาใด
  • 6. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๕ -- ง. รายไดของรัฐบาลชนิดใด จํานวนเทาใดอาจมาใชเปนอุดหนุนศึกษาได แผนก ๓ การอุดมศึกษาที่มีอยูเดี๋ยวนี้ ก. คณะอุดมศึกษาที่มีอยูในประเทศเดี๋ยวนี้เปนอยางไรบาง มีโปลิซีอยางไร คาใชจายสมกับผลที่ได หรือไม ข. การเปรียบเทียบผลประโยชนและเงินที่เสียไป คิดเฉลี่ยจํานวนผูเรียน ค. บุคคลชนิดใดเปนผูมาเรียนอุดมศึกษา และเมื่อเรียนเสร็จแลวไดเพิ่มราคาทางการเมือง, ทางเศรฐษ กิจ, ทางจรรยา, ทางราชการ, ทางสุขาภิบาลอยางไรบาง ง. วิธีสงนักเรียนไปตางประเทศ มีสวนและมีผลผิดกับผูที่ไดรับอุดมศึกษาในประเทศสยามอยางไรบาง แผนก ๔ การมหาวิทยาลัย ก. "มหาวิทยาลัย" ที่มีอยูเดี๋ยวนี้ มีเงินและทรัพยสมบัติเทาใด ไดรับความอุดหนุนจากรัฐบาลในทาง ใด จากสาธารณชนในทางใด ผลที่ไดสมกับเงินที่เสียไปหรือไมไดเติมความรูความชํานาญใหแก รัฐบาลอยางไรบาง เปนสิ่งจําเปนเพียงใด ข. "มหาวิทยาลัย" เดี๋ยวนี้เพียงพอแกความจําเปนของชาติหรือไม ค. "มหาวิทยาลัย" เดี๋ยวนี้เพียงพอแกความจําเปนของตําแหนงประเทศสยามในหมูนานาประเทศ หรือไม วิธีดําเนิรการ เมื่อพิจารณาแนวการสํารวจก็เห็นไดวา การที่จะไมเปนกิจการภายในของกระทรวงธรรมการ เพราะ แผนก ๑ จะตองเกี่ยวไปถึง การปกครอง-มหาดไทย การทํามาหากินของราษฎร-กระทรวงเกษตรกับ พาณิชย การศึกษา-กระทรวงธรรมการ แผนก ๒ การเงินและเศรฐกิจจะเกี่ยวกับกระทรวงพระคลังฯ เปนอันมาก แผนก ๓ จะเกี่ยวถึงโรงเรียนอุดมและอาชีพยศึกษาตาง ๆ จะเกี่ยวถึงทุกกระทรวงที่ปกครองโรงเรียน ชนิดนี้ แผนก ๔ เทานั้น ซึ่งจะเกี่ยวดวยกระทรวงธรรมการโดยฉะเพาะ เพราะ "มหาวิทยาลัย" บังเอินตก ไปอยูในใตความปกครองกระทรวงนั้น ดวยเหตุนี้การสํารวจนี้ เมื่อจะดําริขึ้นแลว ตองดําริเปนกิจการของรัฐบาลรวมกัน ควรตั้งกรรมการ ประกอบจากกระทรวงตางเพื่อดําเนิรรัฏฐปาลโนบายรวมมือกันสภาสํารวจนี้ควรตั้งเปนพิเศษ สภานี้ควรมีที่ปรึกษาเปนผูเชี่ยวชาญในการศึกษามาจากตางประเทศเพราะ
  • 7. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๖ -- ๑.เวลานี้ในประเทศสยามยังไมมีผูเชี่ยวชาญทางศึกษาผูที่มิไดทําการติดตออยูกับกระทรวงใดกระทรวง หนึ่งแลว ๒.ถาจะเลือกผูเชี่ยวชาญจากกระทรวงใดก็ตาม ยังจะเปนที่สงสัยไดวาผูนั้นจะเอาใจชวยกระทรวงของ ตน ๓.เพื่อตัด "vested interest" ๔.อาจหาผูเชี่ยวชาญที่ไดเคยทําสํารวจในเมืองอื่นมาแลว ๕.จะเปนที่เชื่อถือแกนานาประเทศ ๖.จะเปนคนกลางจริงและแลเห็นการเปนไปอยางกวางขวางไมมีปญหาทองที่เล็ก ๆ นอย ๆ มาเปน กังวล ๗.เมื่อเสร็จการแลวจะไดหมดหนาที่ไมตองดําริหางานอื่นใหทํา เปนขาดไปไมหมายพึ่งผูใดในประเทศ สยามยอมจะทําใหผูนั้นกลาพูดบางอยางโดยไมตองคิดเกรงใจหรือนึกถึงการภายหนา ระเบียบการสํารวจ ดวยเหตุนี้ในที่นี้จึ่งขอเสนอระเบียบการสํารวจเปนอยางนี้ ๑. กรรมการองคมนตรีฝายสยามหนึ่งหรือสามนาย เปนผูรับผิดชอบดําเนิรการ ๒. ผูเชี่ยวชาญตางประเทศหนึ่งหรือสองนาย เปนผูทําการสํารวจหรือเขียนรายงาน ๓. ผูชวยยืมมาชั่วคราวจากกระทรวงตางๆ มี มหาดไทย คลัง ธรรมการ เปนตน เปนผูติดตอกับ เจาหนาที่กระทรวง ๔. เสมียนพนักงานจางขึ้นชั่วคราว ฝายการทุนนั้นจะตองมีดังตอไปนี้ ๑.กรรมการไมมีเงินเดือน ๒.ผูเชี่ยวชาญไดเงินเดือนตามแตกรรมการจะตกลงกับบุคคลได ประมาณวาจะเปน คนละ ๒๐,๐๐๐ - ๓๐,๐๐๐ บาทตอป คาเดินทางของผูเชี่ยวชาญปละ ๒๐,๐๐๐ บาท ๓.คาเดินทางของเจาพนักงานปละ ๕,๐๐๐ บาท ๔.เงินเดือนเสมียนพนักงานปละ ๒,๔๐๐ บาท ๕.จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยหรือกระทรวงธรรมการควรหาที่ทางสํานักงานให วิธีหาผูเชี่ยวชาญ ควรเปน กิจของกรรมการจะจัด
  • 8. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๗ -- ในที่นี้ขอเสนอความที่ทราบมาวา ๑. แผนกเยเนราลเอดุเคชั่นของรอคคิเฟลเลอรมูลนิธิไดรับรองวา เมื่อรัฐบาลสยามจะขอเชื้อเชิญใหเขาเขามา ทําการสํารวจการศึกษาของประเทศสยามแลวเขารับจะหาผูเชี่ยวชาญให แตใหรัฐบาลสยามเปนผูให เงินเดือนและบางทีจะชวยในการพิมพประกาศรายงานนี้ใหเปนสมบัติความรูแกโลก เมื่อมีการสํารวจเปน ชิ้นเปนอันอยางนี้ บางทีจะเปนหนทางที่จะชักชวนใหแผนกเยเนราลเอดุเคชั่นนี้แนะนําใหคณะรอคคิเฟล เลอรมูลนิธิทําการรวมมือในการอุดมศึกษาบางแผนกได ๒. แผนกสํารวจแหงสันนิบาตชาติไดเคยทําการสํารวจการสาธารณสุขในประเทศอิหรานและฟงดูมีประสงคจะ แสดงความเอาใจใสกับประเทศสยาม และอาจรับอาสาหาผูสํารวจมาใหได กําหนดเวลา ที่จะตองการ แบงเปนสามภาค ภาค ๑ การตั้งกรรมการ และกรรมการหาจางผูเชี่ยวชาญ ๖ - ๘ เดือน ภาค ๒ ผูเชี่ยวชาญเที่ยวทําการสํารวจในกรุงและหัวเมือง ๑ ป ภาค ๓ เขียนและพิมพรายงาน ๑ ป การแบงภาคนี้ในเวลาทําจริงคงจะกําหนดลงไปไมไดเด็ดขาดอาจเขียนพลางสํารวจพลาง แตอยางไรเสียก็ดี ควรไดผลภายในสองปครึ่ง เรื่องรายงาน รายงานของผูเชี่ยวชาญควรใหพิจารณา ๔ ขอ ๑.รายงานพรรณาถึงการเปนไปของกิจการตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวของกับการอุดมศึกษา ในสมัยนี้ ๒.รายงานพรรณาถึงโอกาสตาง ๆ ในประเทศสยาม ซึ่งจะประกอบการอุดมศึกษา และในแผนก ใดบางของชีวิตราษฎรอุดมศึกษาจะนําประโยชนมาใหมากที่สุด ๓.รายงานดําริการวางโครงการอุดมศึกษาวาดวยหลัก ๓ ประการคือ ทุน เวลา และหลักสูตร หลักทุน ก. ภายในครอบงบประมาณที่โปรดใหอยูเดี๋ยวนี้ สําหรับอุดมศึกษาจะวางระดับหลักสูตรไดสูง เพียงใด และควรใชเวลานานเทาใดที่จะใหการถึงระดับหลักสูตรที่ไดตั้งขึ้นไว ข. สวนใดของรายจายทั้งหมดของรัฐบาลควรอุทิศใหแกการศึกษา และจากงบที่อุทิศใหแก การศึกษานี้ สวนใดควรจายเปนทุนสําหรับอุดมศึกษาจึ่งจะเพียงพอกับความตองการของประเทศ
  • 9. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๘ -- หลักเวลา ถาใหทุนนอย แตระดับหลักสูตรสูงก็จําเปนที่จะตองใหเวลานาน ถาแมทุนมากและระดับหลักสูตรต่ํา เวลาก็ยอมจะไมตองใหมาก หลักสูตร ก. ควรพิจารณาวาหลักสูตรอุดมศึกษาควรเปนอยางไรจึ่งจะไดสวนกับปฐมและมัธยมศึกษา ข. ระดับหลักสูตรอยางใดจึ่งจะใหผลเศรษฐกิจอันดีแกบานเมือง ค. ระดับหลักสูตรอยางใดจึ่งจะรับการยกยองไวใจจากตางประเทศได ง. รายงานวิธีจัดการมหาวิทยาลัย ถาแมเราตกลงเห็นวา ควรมีมหาวิทยาลัยแลว จะตองดําริวา ก. มหาวิทยาลัยนี้จะทําการสอนศิลปวิทยาศาสตรกวางขวาง หรือจะสอนวิชชาชีพยเทานั้น หรือจะสอนทั้ง สองอยาง ข. เมื่อจะสอนวิชชาชีพยแลว จะตองวางระเบียบเสียใหแนนอน วาจะมีการติดตอทดแทนกับโรงเรียนวิชชา ชีพยของกระทรวงตาง ๆ อยางไร เพื่อไมใหงานซ้ําหรือแบงกัน ค. การสอนที่มหาวิทยาลัยกับการสงนักเรียนไปเรียนตางประเทศตองวางระเบียบใหทดแทนกันเสีย เพื่อทั้งสอง วิธีจะไดไมแกงแยงกัน ง. จะตองทําการเขาใจแบงหนาที่และอาณาเขตต กิจการเสียกับโรงเรียน หรือสถานศึกษาชเลยศักดิ์ชั้น อุดมศึกษา จ. จะตองวางระเบียบปกครองของมหาวิทยาลัยที่ตั้งขึ้นนี้ใหลงกรอบราชการ และจัดการใหรัฐบาลรับรองยก ยองผูเรียนสําเร็จออกมาตามสมควร รวมใจความมีปญหาสําคัญที่จะตองตัดสินใหแจมแจง คือ ๑. ในกรอบงบประมาณที่โปรดใหแกคณะมหาวิทยาลัยเดี๋ยวนี้รวมทั้งงบประมาณของโรงเรียนที่อาจมา รวมเขาในมหาวิทยาลัยไดจะจัดการมหาวิทยาลัยชนิดใดขึ้นได จะมีระดับหลักสูตรสูงเพียงใด จะ ตองการเวลาเทาใดจึ่งจะจัดสําเร็จ ๒. ถาแมจะถือระดับหลักสูตรเปนเกณฑแลว จะตองเพิ่มเงินเทาใด และใหเวลาเทาใด จึงจะไดมหาวิทยาลัย ดังประสงค
  • 10. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๘๙ -- ผลของการสํารวจ ผลของการสํารวจนี้มีดังตอไปนี้ ๑. เราจะทราบการเปนไปของการอุดมศึกษาที่มีอยูเดี๋ยวนี้ ๒. เราจะทราบความตองการของชนิดของอุดมศึกษาของชาติ ๓. เราจะไดทราบวาการอุดมศึกษาจะเปนราคาเทาใดจึ่งจะสมกับตําแหนงเศรษฐกิจของประเทศ ๔. เราจะไดผูเชี่ยวชาญมาวางระเบียบ ๕. ถึงแมเมื่อพิจารณารายงานนี้แลว เห็นวาเราไมควรมีการอุดมศึกษาหรือมหาวิทยาลัย เราจะไดรูวาเหตุ ใดจึ่งไมควรมี ๖. ถึงแมเราจะไมสามารถทําตามคําแนะนําของสํารวจอันนี้ ความรูวาเมื่อปที่ไดทําการสํารวจนี้มีการ อุดมศึกษาอยางไรบาง จะเปนประโยชนสําหรับเมื่ออีกสิบปภายหนา เราจะทําสํารวจอีกทีหนึ่งก็จะแล เห็นไดวาสิ่งใดจําเริญขึ้นสิ่งใดซุดโทรมลง รวบรวมใจความวา ถาแมการสํารวจนี้ทําใหเราตอบปญหาไดวาเหตุใดจึ่งควรมี หรือไมควรมี มหาวิทยาลัยแลว ถาเรามาถึงซึ่งความเห็นวา มหาวิทยาลัยนี้เปนกิจของชาติ ไมใชกิจของกระทรวงใด กระทรวงหนึ่งโดยฉะเพาะ ก็นับวาไดผลพอที่จะเสียเงินเสียเวลาให เพราะการนี้จะลงมือทําการใหญโตซึ่ง จะตองเสียเงินมาก ถาทําดวยรูเหตุผลดีกวาทําเปนการทดลองในมาตราใหญโต เปนอุบายปกครองที่หนักแนน แม รัฐบาลไมเห็นดวยกับรายงานนี้ จะไมรับทําตามทั้งหมดหรือแตบางสวนรายงานนี้ก็เปนประโยชนในฐานเปนพ ยานวาเหตุใดรัฐบาลจึ่งไมทําตาม
  • 11. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๐ -- แนวพระราชดําริ “โครงสร้างการจัดการมหาวิทยาลัย”
  • 12. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๑ -- "รายงานความเห็นเรื่องโครงการมหาวิทยาลัย" ผูรายงานนี้มีความหวังวา รัฐบาลคงจะพิจารณาและรับดําริการทําสํารวจตามรายงานการสํารวจซึ่ง ไดเสนอขึ้นไปแลวกอนที่จะตัดสินวาประเทศสยามควรมีมหาวิทยาลัย. แตรัฐบาลจะถือวา "มหาวิทยาลัย" นั้นมีอยูแลวเปน "fait accompli" เสียแลว จะเลิกก็จะเสียรัสมี ในที่นี้จึงขอเสนอความเห็นวาจะ จัดการเปลี่ยนแปลงอยางใดไดบาง เพื่อให "มหาวิทยาลัย" นี้เปนมหาวิทยาลัยจริงๆ และใหมีกิจการ กวางขวางออกไปอีก. ในรายงานการสํารวจไดมีปรารพภถึง ๑. กิจการศึกษาทั่วไป ๒. กิจการอุดมศึกษา ๓. หนาที่มหาวิทยาลัย ในที่นี้จึ่งขอปรารพภตอไปวา ๑. มหาวิทยาลัยควรเปนคณะอิศระขึ้นแกพระองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโดยตรง หรือขึ้นแกคณะ อภิรัฐมนตรี เชนเดียวกับมหาวิทยาลัยออกซฟอรด และเคมบริดจก็ขึ้นกับเฮาสออฟ ลอรดมิได ขึ้นกับบอรดเอดดุเคชั่น ๒. เพื่อที่มหาวิทยาลัยจะประพฤติหนาที่ที่เขาใจกันวาเปนกิจของมหาวิทยาลัย รัฐบาลจะตองใหกรรมสิทธิ พิเศษแกมหาวิทยาลัย ก. ทําการคนควาหาความจริงในทางธรรมและในทางวิทยาศาสตร ไดโดยสดวกดวยความปกปก รักษาของรัฐบาล ข. นําความรูและความคิดที่สอดสองมาไดนี้แพรหลายสอนกุลบุตร ดวยความมุงหมายใหแผ ประโยชนแกบานเมืองและแกโลก ค. ทําการสอบไลและประสาทปริญญาแกผูสอบไลได
  • 13. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๒ -- ปริญญานี้ผิดกับยศหรือบรรดาศักดิ์ในฐานที่เปนเครื่องแสดงความรูความ สามารถ มิใชแสดงตําแหนง ราชการหรือพระราชนิยม ในประเทศสยามเราเขาใจกันวาสิทธิที่จะตั้งใครเปนอะไรนั้นอยูในพระเจาแผนดิน พระองคเดียว ซึ่งเปนความจริง ยศ บรรดาศักดิ์ อาจเรียกรองความยกยองจากพลเมืองสยามทุกคน ผูที่ยก ยองรัฐบาลและจากตางประเทศที่มีสัญญาที่ถอยทีถอยยกยองซึ่งกันแลกัน แมรัฐบาลหรือบุคคลใดไมยกยองยศ บรรดาศักดิ์ที่พระบาทสมเด็จพระเจาแผนดินสยามพระราชทานแลว ก็เทากับไมยกยองรัฐบาลของ พระองค ฝายปริญญานั้นมิถือหลักวิชชาเปนเกณฑ และคณะวิชชาตาง ๆ มักไดรับกรรมสิทธตั้งตัวเปนอิศระ ในปญหาความคิด ฉนั้นถาแมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะพระราชทานปริญญาแลว เมื่อภราดรนักปราชญ ของคณะใดจะไมยกยองดวยอางวาบกพรองในทางวิชชา ก็จะเปนที่เสียพระเกียรติยศ จึ่งควรมอบความรับผิดชอบพระราชทานแกคณะที่พรอมดวยคุณวุฒิที่ภราดรนักปราชญไดยกยองแลว กลาวคือคณะผูที่ไดรับปริญญาจากผูทรงอํานาจเต็มในกิจนี้ และถาพิจารณาไปแลว ก็เทากับรัฐบาลไดให ปริญญา เพราะรัฐบาลเปนผูใหสิทธิแกคณะมหาวิทยาลัยใหใหปริญญา จึ่งเปนการใหทางออมโดยที่ไมเปน ผูรับผิดชอบในเรื่องวิชชา ดวยเหตุที่กลาวมานี้แลว จึ่งขอวางโครงการลงไปวา รัฐบาลจะโปรดให กรรมสิทธิพิเศษแกสภากรรมการมหาวิทยาลัยใหเปนองคคณะมีสิทธิประกอบการคนควา การสอน การให ปริญญา การถือเอาหรือจําหนายหรือเปนเจาของทรัพย เปนโจทยจําเลยในศาลตาง ๆ ไดเหมือน บุคคล สภากรรมการนี้จะตั้งขึ้นดวยพระบรมราชโองการ มีสมาชิกตามหนาที่ และสมาชิกผูที่จะทรงโปรด ตั้งขึ้น มีสภานายกเปนประธาน สภานี้มีหนาที่รับผิดชอบในการดําเนิรการมหาวิทยาลัยแกพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวหรืออภิรัฐมนตรี และมีสิทธิ์ที่นายกของสภาจะทําการติดตอกระทรวงทบวงการตาง ๆ สภานี้จะมีอุป นายกเปนผูดําเนิรการประจําตําแหนง รับผิดชอบตอสภาปกครองมหาวิทยาลัยทั้งหมด การปกครองมหาวิทยาลัยจะแบงเปนสามแผนก ๑. คณะวิชชา อุปนายกเองเปนวิชชาธิการ ๒. คณะสภาเสเนต มีประธานของเสเนตเปนประธาน มีหนาที่ชวยอุปนายกจัดการปกครองภายใน ๓. คณะผลประโยชน มีเหรัญญิกของมหาวิทยาลัยเปนหัวหนา คณะวิชชาแบงเปนคณะวิชชาตาง ๆ เชนแพทย อักษรศาสตรและวิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร เปนตน มีคณะบดีเปนประธาน มีศาสตราจารยและผูชวยศาสตราจารยเปนแมกอง ศาสตราจารยนี้สภา กรรมการเปนผูตั้ง ดวยความรับรองแนะนําของคณะบดีและอุปนายก
  • 14. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๓ -- เสเนต เปนคณะที่เลือกขึ้น มีผูแทนจากคณะอาจารยคณะทรัพยสมบัติ คณะนักเรียน ลวนเปนผูที่ไดถูก เลือกมาทั้งนั้น มีหนาที่เสนอความเห็นแกสภา และมีสิทธิที่จะทํากฎขอบังคับปกครองภายใน เกี่ยวดวยการ เลือกนักเรียนเขา การปกครองการอยูกินของนักเรียน การไลนักเรียนออก การรางกฎปริญญา กฎขอบังคับที่เสเนตทําขึ้นนี้ตองไดรับอนุมัติจากอุปนายกจึ่งจะเปนกําลัง คณะผลประโยชนเปนคณะที่ สภาจะไดตั้งขึ้นสําหรับปกครองผลประโยชนของมหาวิทยาลัย ดูแลการจายเงินผลประโยชน การกอสราง รักษาทรัพยสมบัติ และติดตอกับกระทรวงธรรมการในเรื่องเงินทุนที่ไดโปรดอุดหนุนจากรัฐบาล เรื่องการเงิน มหาวิทยาลัยมีสิทธิที่จะมีทุนเปนเงินหรือทรัพยสมบัติที่ดิน มีรายไดสี่ประการ ๑. รายไดจากกองผลประโยชน ๒. รายไดจากนักเรียน ๓. รายไดจากเรี่ยไรหรือเงินอุทิศ ๔. รายไดเปนทุนที่ไดโปรดอุดหนุนจากรัฐบาล รายที่ ๑ กับ ๒ นั้น สภาจะใชไดโดยไมมีจํากัดความมุงหมาย รายที่ ๓ นั้นสุดแลวแตความจํากัดของผูอุทิศ รายที่ ๔ มีจํากัดตามกฎขอที่จะเปนหนาที่ของกระทรวงธรรมการผูรับเงินนี้มาจากกระทรวงพระคลัง มหาสมบัติจะวางลงใหสภาปฏิบัติ ทุนที่ไดโปรดอุดหนุนนี้จะแบงออกไดเปนสองชนิด ทุนชั่วครั้งคราวเปนกอนสําหรับกอสรางหรือขยายกิจการ ทุนประจําปสําหรับเปนเงินเดือนเจาหนาที่หรืองบประมาณใชจายในกองตาง ๆ กระทรวงพระคลังฯ มีสิทธิที่จะเขาไปตรวจการจําหนายทุนที่ไดโปรดอุดหนุนทุกเวลา และสภา จะตองเชิญเจาพนักงานใหตรวจรายไดรายจายทุนชนิดอื่นเปนครั้งเปนคราวเพื่อเพิ่มความ ไวใจ