SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
84
ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น กอนที่ผมจะลงรายละเอียด สาระสำคัญคือ ผมไดรับการยืนยันจากทาน
เลขาธิการ กพ. ซึ่งทานเองพยายามผลักดันในเรื่องนี้มาหลายปแลวดวยกัน สามเลขาธิการ กพ. จนกระทั่งปจจุบัน
ทานปรีชา วัชรภัย เปนเลขาธิการ กพ. และทานเปนสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ คิดวาทาน confirm กับพวกเราที่สำนักงาน
กพ. วา เนื่องจากประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทานมีชัย ฤชุพันธุ ทานเปนประธานของคณะกรรมการกฤษฎีกา
ดูแลเรื่อง พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนฉบับใหม ทานอานตั้งแตมาตราแรกถึงมาตราสุดทาย และคุยกับพวกเราวาเบื้องหลัง
การถายทำเปนอะไร อยางไร เราก็มั่นใจ ทานเลขาธิการ กพ. ก็ยืนยันมั่นใจวา ภายในตุลาคมนี้ พรบ. ขาราชการพลเรือน
ฉบับใหมคงจะผานการพิจารณาและรับรองโดย สนช.
เมื่อรับรองออกมาประกาศเปนระเบียบขาราชการพลเรือนแลว จะมีการปรับเขาสูระบบใหม จะใชเวลาไมเกิน 1 ป
หมายความวาตั้งแตตุลาคม 2550 ปงบประมาณใหม 2551 เราตองปรับเขาสูระบบใหมใหเสร็จภายในเวลา 1 ป
แตดวยสำนักงาน กพ. ไดออกไปชี้แจง อธิบาย ผมคิดวาตอนนี้ขาราชการ 100% รูแลววามีการเปลี่ยนแปลงและรูวา
จะยกเลิกระบบซี ซีที่เปนตัวเลข 1-11 จะยกเลิก และรูวาแบงออกเปน 4 แทงอยางที่วา 4 กลุมงาน ผมไมคิดวาเขาไมทราบวา
4 กลุมงานมีอะไรบาง แตสิ่งที่เขาสนใจคือ ถาเขาสูระบบใหม 4 แทงแลว ที่เขาเปนอยูปจจุบันเขาจะไปเขาแทงไหน อันนี้
เขาสนใจมากๆ เลย คิดวาจะอธิบายใหทานฟง
สิ่งหนึ่งที่ผมไดยืนยันตลอดเวลาที่เราไปชี้แจง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น โดยหลักเมื่อเปลี่ยนแปลงแลว
ไมดีกวาเดิมคงไมเปลี่ยน เรายืนยันวาดีกวาเดิม หรืออยางนอยที่สุดก็เสมอตัว แตผมยืนยันกับขาราชการวาสิ่งที่ทานจะ
ไมไดเสมอตัวคือระบบเงินเดือนตองมีการปรับปรุงใหม เพราะถาเปนแบบเกาไปไมรอด ยืนยันวาเงินเดือนตองเปนอัตราใหม
เปนโครงสรางใหม แตขณะเดียวกันใน พรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับนี้ โดยความตั้งใจจะให พรบ. ออกมาพรอมกับ
เรื่องเงินเดือน แตเงินเดือนไมไดอยูในการพิจารณาของสำนักงาน กพ. เปนเรื่องของคณะกรรมการเงินเดือนแหงชาติ ซึ่งมี
กระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ สำนักงาน กพ. สำนักงาน กพร. และมีอีกหลายสวนราชการเขาเปนคณะกรรมการ
เงินเดือนแหงชาติ เราจะกำหนดเองคงลำบาก แตอยางไรก็ตาม คณะกรรมการเงินเดือนแหงชาติตองรับขอเสนอจากสำนักงาน
กพ. ที่มีการยกราง พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนควบคูกันไป แตตัวเลขที่ผมจะใหทานดูในชวงทายของรายการเปนตัวเลข
ที่เราคิดไวเมื่อประมาณ 4 ปที่แลว ตอนนี้ก็ยืนยันวา 4 ปที่แลวกับ 4 ปที่ผานมา ปจจุบันถายังใชตัวเลขเดิมก็ถอยหลังเขาคลอง
ตองมีการปรับ คิดวาแนวโนม พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนออกแนนอน แตเงินเดือนอาจจะยังติดคางอยูที่วาคณะกรรมการ
เงินเดือนแหงชาติยังตกลงกันไมไดวาเปนอยางไร แตคงไมนอยกวาตัวเลขที่ผมจะเสนอใหทานดู ซึ่งไดทำไวเมื่อประมาณ 4 ป
ที่แลว
ในการนำเสนอของผม ผมจะขอแบงออกเปน 3 จุดดวยกัน
จุดแรก ผมอยากจะชี้ใหเห็นวา ขาราชการทั้งหลายพูดกันตลอดเวลาวาทำไมตองเปลี่ยน เพราะผมกำลังจะไดซี
เพิ่มอยูแลว ผมรออยูนี่ จอคิวจะเปนซี 7 ซี 8 แลวถาเปลี่ยน ผมก็อดเพิ่มซี จุดแรกจะชี้ใหเห็นวา ทำไมเรามีความจำเปนตองมี
การปฏิรูป พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือน
สวนที่ 2 จะชี้ใหเห็นวาตัวขาราชการเองก็มีความสำคัญในการที่จะชวยกันพัฒนาประเทศชาติ และพรบ. นี้จะมอง
ที่ตัวขาราชการในมิติใหมที่เพิ่มขึ้นจากเดิม
สวนที่ 3 จะเปนเรื่องของการเปลี่ยนแปลงที่เราเสนอไว คิดวานาจะประสบความสำเร็จ พอที่จะทำใหทาน
มองเห็นภาพไดชัดเจนวาเปนอยางไร
แตผมยังเชื่อ เพราะประสบการณที่ผานมา สิ่งที่สำนักงาน กพ. ทำ เปน pattern ที่มีการเปลี่ยนแปลง แตเมื่อสวน
ราชการอื่น ยกตัวอยางขาราชการครู เปนคณะกรรมการขาราชการครู หรือพนักงานทองถิ่น พอเห็นการเปลี่ยนแปลงใน
ระบบขาราชการพลเรือน เขาเรียนรูจากเราแลวเขานำไปปรับใช แตการปรับใช คนที่เอาไปยอมจะตอยอดและดีกวา พอคนอื่น
เอาไปปรับใชยอมดีกวา ทุกคนก็หวนกลับมาวาแลวทำไมสำนักงาน กพ. ถึงแยกวาคนอื่น ทานลองนึก ลำบากมากเลย หลายคน
บอกวา ขาราชการครู ผูอำนวยการโรงเรียน เปนซี 9 อยูกับทานนายอำเภอซึ่งเปนซี 8 นี่คือปญหาที่เกิดขึ้น ในขณะเดียวกัน
เราพยายามจะปรับใหนายอำเภอเปนซี 9 บาง ก็มีเงื่อนไขที่เขามาติด 2 เรื่องดวยกัน
เรื่องที่ 1 ผมคิดวาเปนนโยบายของประเทศเรา เพราะรัฐบาลไหนเขามาก็พยายามยึดตรงนี้ ไว เงื่อนไขแรกคือกำลัง
คนขาราชการพลเรือนทั้งหมดตองไมเพิ่ม ตองมีแนวโนมลดลง เมื่อตนปที่แลวเราพูดถึงรัฐบาลเกา ตอนนั้นรองนายกฯ ทานวิษณุ
85
ดูแลเรื่องของขาราชการพลเรือน พอมีใครเสนอปรับอะไรอยางไรมา ทานมีตัวเลขของทาน สี่แสนกวา ถาตัวเลขนี้ขยับขึ้นมา
หนึ่งคน ทานไมเอา ถาบอกวาลดลง โอเคเลย ไมตองพูดกัน นี่คือประเด็นแรก เปนเงื่อนไข
เหตุผลทำไมตองกำหนดเงื่อนไขนี้ โชคดีในชวง 10 ปที่ผานมานี้ จำนวนขาราชการของเราลดลง ซึ่งจำนวนที่ลดลง
ทำใหการใชจายงบประมาณสำหรับเปนเงินเดือนขาราชการ เปนรายจายประจำลดลงไปดวย เขาตั้งเกณฑไว จากการศึกษา
หลายๆ ประเทศดวยกัน เขาบอกวางบประมาณรายจายของประเทศที่เปนงบประจำไมควรเกิน 45% เปน maximum
แตตอนนี้เกิน maximum ซึ่งอยูประมาณ 50% กวา เขาถึงไดพยายามจะลด และวิธีลดอันหนึ่ง ใหใชจายงบประมาณ
คุมคามากขึ้น เปนวิธีการหนึ่งแตยาก วิธีที่ 2 ทำงายๆ คือ มองจากอัตรากำลังคนที่มีอยูในระบบราชการเทียบกับประเทศอื่น
บางประเทศมากกวาเรา แตโดยอัตราสวนของเรายังสูงอยู เขาถึงตองการจะลดลง เมื่อลดลงมาแลว งบประมาณรายจายประจำ
จะลดตาม อันนี้เปนเหตุผลหนึ่งที่วาเขาจะกำหนดไว เปาหมายอยากใหอยูประมาณ 40-42% เพื่อใหงบประมาณรายจายประจำ
ไมเกิน 50% นี่คือเงื่อนไขที่รัฐบาลหลายสมัยยึดมาโดยตลอด ถาทานจำได สมัยทานนายกฯ เปรม ทานบอกวาในแตละป
หามใหสวนราชการบรรจุหรือเพิ่มอัตราขาราชการเกิน 2% คุมยากมากเลย ตั้งไว 2% จะมีขอยกเวนอยางนั้นอยางนี้ แลวหวน
กลับไปดู เพิ่มทุกป ไมใช 2% แต 8-9% ทุกป นี่คือความยากลำบากมากๆ เปนความยากลำบากที่ระบบราชการเจอ
ดวยเหตุผลนี้ เขาจึงบอกวาตั้งเงื่อนไข 2 ประเด็น
1) จำนวนตองไมเพิ่ม ลดลงชอบมาก
2) งบประมาณรายจายประจำสำหรับเปนเงินเดือนขาราชการตองไมเพิ่ม ถาลดลงโอเค
นี่คือ 2 เงื่อนไขที่ทำใหเรายากลำบาก อันนี้เปนเหตุผลหนึ่งที่ทำใหคณะกรรมการเงินเดือนแหงชาติพิจารณา
เรื่องเงินเดือนใหมไมออกสักทีหนึ่ง
ในประเด็นแรก ผมขออนุญาตเริ่มตนตรงนี้ ผมคิดวาเปนบทบาทที่สำคัญของภาคราชการ และบทบาทของสำนักงาน
กพ. คือทำใหตัวขาราชการมีสมรรถนะสูงขึ้น มีความรับผิดชอบสูงขึ้น มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัยกับตนเองในการทำงานใหกับ
ระบบราชการ ใหกับประเทศชาติสูงขึ้นดวย เรามองดู 4 เสาหลักที่สำคัญในการพัฒนาประเทศชาติของเรา
เสาหลักแรกคือภาคประชาชน ถาเรามองดูในภาพรวมจะเห็นวาในชวง 4-5 ปที่ผานมานี้ ภาคประชาชนเริ่มมีบทบาท
สำคัญมากขึ้น อาจจะเปนเพราะรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากขึ้น มีการตรวจสอบ
มีการกำกับดูแลการทำงานของภาครัฐ ภาคเอกชนมากขึ้น ก็แลวแต แตสิ่งที่ยังเปนปญหาของภาคประชาชนคือยังไมเปน
civil society หมายความวา ภาคประชาชนยังไมรวมกลุมกันเทาที่ควร เขตไหนหรือกลุมไหนรวมกลุมกันแลวก็ยังขาด
public mind ยังไมมีจิตใจที่เปนวาผลประโยชนสวนรวมสำคัญกวาผลประโยชนสวนตัว หลักของ civil society คือ การเมือง
ภาคประชาชนที่รวมกลุมกันเพื่อดูแลสังคม ชุมชนที่เห็นประโยชนของสวนรวมดีกวาสวนนอยหรือสวนบุคคล อันนี้ยังไมเกิด
แตคิดวานาจะเกิดได ตองใชเวลาอีกสักพักหนึ่ง ผมยกตัวอยาง การเมืองของเรา รางรัฐธรรมนูญมา ถายังไมมีภาคการเมือง
ที่เปน civil society ทานไมตองหวง ผมคิดวาคงมีการฉีกรัฐธรรมนูญตอไปเรื่อยๆ ถาขาด public mind นี่คือภาคประชาชน
ภาคที่ 2 คือภาคเอกชน ภาคธุรกิจ การพัฒนาประเทศชาติมา 20 กวาป ผมคิดวาหัวหอกที่สำคัญที่ทำใหประเทศชาติ
ของเราไลตามกระแส Globalization คือภาคเอกชนแนนอน เขาไปอยางรวดเร็วมากเลย แตสิ่งที่มีปญหามากของภาคเอกชน
คือจุดมุงหมายของเขาคือ profit making ตองเปลี่ยนแลว เปนเรื่องของ public accountability ใหมากขึ้น สรุปงายๆ
คือ ทานทำธุรกิจกับคนที่ไมมีเงินไมมีทาง และจะทำไดอยางไร ถาผมเปนธุรกิจ ผมจะไปขายใหกับใคร ผมก็ตองทำใหคนๆ
นั้นมีเงินซื้อผม นี่คือความรับผิดชอบตอสังคมที่เขาเรียกวา social responsibility อันนี้ที่เขาเรียกวา good corporate
governance การมีธรรมาภิบาลในองคกร คือบริหารจัดการอยางไรก็แลวแต ใหมีคุณธรรม จริยธรรม ความถูกตองตามกฎหมาย
พูดงายๆ วาธุรกิจเอกชนตองไมมี 2 บัญชี ทำไดอยางไร แตอันนั้นไมสำคัญเทากับวาหนวยงานไหน องคกรไหน เอกชนไหน
ถามี public mind สูงมาก ผมคิดวาจะเปนหลักที่สำคัญที่จะชวยค้ำจุนสรางประเทศชาติของเรา
ผมขออนุญาตไปเรื่องหลักของการบริหารสมัยใหม เขาบอกวา ไมใชเรื่องการบริหารที่เอาผลเปาหมายเปนหลัก
ไมใชเอา objective หรือผลลัพธ ผลสัมฤทธิ์ เปนหลัก เปาหมายของเขาคือทำอยางไรใหหนวยงานของเรามีคุณคากับ
สังคมมากขึ้น การสราง organizational values ใหกับสังคม ผมคิดวาเปนปจจัยที่สำคัญ เพราะหนวยงานไหนที่มี
organizational values กับ public อยูยืนและยั่งยืนดวย เพราะถือไดวาตัวเองเปนสวนหนึ่งของสังคม ถาสังคมลมสลาย เขาลม
ดวย นี่คือการผูกมัดซึ่งกันและกัน แตภาคเอกชนที่ผานมา สังคมลมสลายไมเปนไร บริษัทอยาลมก็แลวกัน นี่คือปญหา
86
ที่จะตองแกไข
เสาหลักที่ 3 คือภาคการเมืองระดับชาติกับระดับทองถิ่น มี 2 ประเด็นเทานั้นสำหรับผม อันที่หนึ่ง การเมืองของเรา
ไมไดคำนึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศชาติ อาจจะเปนเพราะมี classic word ของ Professor ดานรัฐศาสตร เขาบอกวา
”การเมืองคือเรื่องของการแบงผลประโยชนซึ่งกันและกัน” “Who gets what and how” เทานั้นเอง แต Professor ที่พูดคำนี้
ลืมไปวาบนพื้นฐานของ National interest แตรัฐธรรมนูญบานเรา การเมืองบานเรา รัฐธรรมนูญบอกวาผูแทนราษฎร ตองเปน
ผูแทนของคนไทยทั้งประเทศ แตไมเคยมีใครพูดถึงเลย ทานเห็นไหมเวลาเขาพูด ผมเปนผูแทนของจังหวัดนั้นๆ และคิดอะไร
สารพัดอยางก็เพื่อผลประโยชนของจังหวัดของตัว ของพื้นที่ เทานั้นเอง แตการเมืองของชาติเราจะประสบผลสำเร็จไดตองมี
ผูแทนราษฎรของประเทศไทย
ประเด็นที่ 2 เขาเห็นผลประโยชนของสวนตน ของกลุมของเขา ของพื้นที่ของเขา ของคนที่เลือกตั้งเขาสำคัญกวา
ผลประโยชนรวมของประเทศชาติ ทานลองดู ผมยกตัวอยางงายๆ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกากับนายกรัฐมนตรีอังกฤษ
คะแนนเสียงลดลงมากเลย แตเขาคำนึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติ ผมเชื่อเลยใครมาทำแทนเขาก็ทำเชนเดียวกัน
ยกตัวอยางที่บอกวาตอตานประธานาธิบดีบุช เพราะสงทหารไปอิรัก ถาเปนผม ผมก็ทำ เพราะดีกวาใหมาตีบานเราโดยที่เรา
ไมไดตั้งตัว ถาจะตีกัน เอาทหารไปตีกันดีไหม แตเขาฉลาดกวา ไปตีนอกบาน อยามาตีในบานเรา นี่คือความพยายามของเขาที่
คำนึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติแมวาคะแนนเสียงเขาจะลด เขาก็ยอม เราจะทำไดอยางไร ของเราไมยอม นี่คือการเมือง
ของเรา
สามตัวที่ผมพยายามบอกทานวา ภาคการเมืองประชาชน ภาคธุรกิจ ภาคการเมืองระดับชาติของเราขาด public mind
ภาคราชการคือเสาหลักที่ 4 ตองการทำใหราชการเปนราชการที่มีความเขมแข็ง และเขาพูดวาการที่จะทำใหเขมแข็ง คือคำนึง
ถึงผลประโยชนหรือผลสัมฤทธิ์ของงานที่จะใหประชาชนและชุมชนมากขึ้น ไมใชวายึดแตระเบียบ
ประเด็นที่ 2 ราชการจะตองมีจิตมุงบริการกับประชาชนมากขึ้น และปรับระบบวิธีการทำงานบางอยางเพื่อใหเขมแข็ง
เพื่อเปนการวัดตรวจสอบประเมินสารพัดอยาง แตสิ่งหนึ่งที่ขาดไปเหมือนกันคือ ไมเคยมีใครบอกเลยวาขาราชการจะตองมี
public mind เหมือนกัน แตบอกตลอดเวลาวาใหมี service mind
สิ่งที่ผมบอกทาน คือ ทั้ง 4 เสาขาดตัวเดียว คือ public mind ทำไมผมพูดอยางนี้ เพราะถาลองไปดูกลุมประเทศจีน
เกาหลี ญี่ปุนในภูมิภาคเรา เขานับถือลัทธิ Confucianism หรือขงจื๊อก็แลวแต พวกนี้เขาสอนใหมี public mind สูงมาก public
accountability สูงมากเลย เหนือกวาชีวิตตนเองดวยซ้ำไป เราจึงไดเห็น แตในภูมิภาคเรา ไมใชเรื่องของ public mind เลย
เปนเรื่องของระบบอุปถัมภ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน เห็นไดชัดเลยวาตรงขามกับเขา ของเขา public mind ของเราไมมี public
mind เปน self interest ซึ่งตางกันมากเลย ถาเราจะใชระบอบประชาธิปไตย ตองพยายามปรับใหมี public mind สูงขึ้น อันนี้คือ
หลักของเรา
ระบบราชการก็เชนเดียวกันตองทำใหเขมแข็ง แตทั้งหมดจะมี public mind ตองมีสวนรวมของภาคประชาชนสูงมากๆ
ระบบใหม พรบ. ใหม รัฐธรรมนูญใหมก็แลวแตตองทำใหประชาชนเขามามีสวนรวมใหมากที่สุด ทำใหตรงนี้เขมแข็ง และเปดให
ทุกสวนรับการมีสวนรวมของภาคประชาชนใหมากขึ้น แตจะรับไดตอเมื่อภาคประชาชนตองเปน civil society นี่คือหลักของเรา
แตทั้งหมดนี้ขยับไปหมดเลย แลวราชการไมขยับหรือ ไมได ตองขยับ ถึงไดมีการปฏิรูประบบราชการ พอปฏิรูปแลว
พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนตองปรับตาม ถึงแมวาจะชาหนอยก็ตามตองมีการปรับเกิดขึ้นเพื่อสังคมของเรา เพื่อบริหาร
กิจการบานเมืองที่ดี เพื่อความมีเสถียรภาพตอยอดการพัฒนา เพราะที่ผานมา เราออกวิ่งแลวเราลม เรามาตองตั้งตนใหม
ทุกทีเลย ไมไปไหนสักที จะทำอยางไรใหตอยอดไปไดเรื่อยๆ ตัวนี้คือสวนที่สำคัญ
ประเทศชาติมีความสามารถสูงในการแขงขันในเวทีโลกยุคโลกาภิวัตน ใน 10 กวาปที่ผานมานี้ เราบอกวาตองวิ่งตาม
กระแสโลกาภิวัตน แลวเราวิ่งตามทันไหม ไมเคยทัน หางไปเรื่อยๆ ตอนนี้มี 2 กระแสดวยกันที่ตานโลกาภิวัตน ในประเทศ
ของเราก็มีเศรษฐกิจพอเพียง แนนอนที่สุด เราจะไปวิ่งแขงกับคนที่วิ่งเร็วกวาเรา ไมมีทาง เราตองวิ่งแขงกับตัวของเราเองวา
เรามีความสามารถแคไหนเอาแคนั้น แตไมไดหยุดนิ่ง ยังวิ่งไปเรื่อยๆ ทานคงจะนึกภาพออก ผมเปรียบเทียบใหทานดู นี่คือ
หลักเศรษฐกิจพอเพียง แตทุกคนเขาใจวาเศรษฐกิจพอเพียงคือหยุดวิ่งเลย อันนั้นไมใช แตวิ่งตาม speed ของเรา ไมตองไป
แขงกับใคร
สวนกระแสที่ 2 ไมใชกระแสในประเทศ กระแสตางประเทศที่ไปทั่วโลกเลย ในชวง 5-6 ปที่ผานมา มีการตอตาน
87
เรื่องของ globalization สูงมากๆ เลย และแนวโนมจะสูงมากๆ กระแสตัวนี้เขาเรียกวาชาตินิยม Nationalism เราดูไดจาก FTA
ตัวอยางเห็นไดชัด ทุกประเทศที่ดอยกวาจะพยายามตอตานเรื่องนี้ แตผูนำหลายประเทศยังวิ่งตามกระแสโลกาภิวัตนวาจะเปน
ประโยชนอยางนั้นอยางนี้ อันนี้ผมคิดวาเปนประเด็นที่สำคัญ เมื่อ 3 ปที่แลว ผมมีหนังสืออยูเลมหนึ่ง เขียนโดยตางชาติ
เปนคนที่มีชื่อเสียงมากเลย พูดถึงการลมสลายของยุคโลกาภิวัตน และมันเริ่มมาเรื่อยๆ ทานไปดูอินเดีย นั่นเปนอันหนึ่ง
เห็นไดชัดเลยที่ไมเคยยอมใหโลกาภิวัตนเขาไปในประเทศของเขาคือประเทศจีน ทานไปดู 30-40 กวาปที่เขาปฏิรูป ปฏิวัติมานี้
เขาเดินอยางมั่นคงมาโดยตลอด ชาบางเร็วบางไมเปนไร แตเขาไมเคยใหกระแสโลกาภิวัตนทำใหประเทศชาติของเขาหยุดเดิน
จนลมแบบบานเราเลย ชวงนี้เราเห็นไดชัดวาเขามีการพัฒนาที่ยั่งยืนและตอยอดโดยตลอด นั่นคือเรื่องที่จะชี้ความสำคัญวาทำไม
ตองมีการปฏิรูประบบราชการเมื่อป 2545 แตเสียดายที่ปฏิรูปไมครบ เพราะไปปฏิรูปเฉพาะโครงสราง แตเรื่องอื่นไมได
ปฏิรูปเลย ระบบขาราชการก็ไมไดปฏิรูป เพราะปฏิรูปไมทัน ปฏิรูปสารพัดเรื่อง แตเรื่องของคนยังไมไดปฏิรูป หลังจากนั้น
เกือบ 5 ปถึงจะมี พรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับใหมออกมา
จุดเนนของการปฏิรูประบบราชการ เขาตองการใหระบบราชการเปลี่ยนจากวิธีคิดเดิม วิธีการทำงานแบบเดิม จากหนึ่ง
มาสอง มาสาม พอเราจะเริ่มทำอะไร ตองนับ 1, 2, 3 ทุกทีเลย พูดงายๆ ตอไปนี้เปลี่ยนเปน 3, 2, 1 ไดไหม 3, 2, 1 คืออะไร
อันที่ 3 นั้นคือประชาชน เขาตองการอะไร ในชุมชนเขาตองการอะไร เพราะในแตละชุมชนมีความตองการไมเหมือนกัน
เราจะใชวิธีการเดียวกัน เปาหมายแบบเดียวกันทั่วประเทศเหมือนกันหมดคงไมใช ตองดูวาชุมชนสังคมตรงนั้นตรงนี้
ตองการอะไร แลวเรามาดูอันที่ 2 เราควรจะทำผลงานอะไรใหเกิดขึ้นตอบสนองความตองการของชุมชนสังคมนั้น แลวมาดู
อันที่ 1 วา กระบวนการทำ วิธีการทั้งหลายควรจะทำอะไร อยางไร อันนี้ผมคิดวาเปนสิ่งที่ถูกตอง
แตที่เปนอยูปจจุบัน เราเนนที่กฎระเบียบวิธีการ ผลผลิตก็ไดออกมา ผลงานไดออกมา ประชาชนไดบางไมไดบาง
ยกตัวอยาง ที่หนาทำเนียบ สำนักงาน กพ. อยูหนาทำเนียบ ผมเห็นกลุมชน ที่เดือดรอน เอานมมาเทราดหนาสำนักงาน
กพ. ก็มี เอาสับปะรดมาทิ้งทั้งโขยงก็มี ตอนนี้เห็นวาจะเอามังคุดกับเงาะมา เพราะออกเยอะมาก เมื่อวานนี้ผมไปที่จังหวัดตราด
กับจันทบุรี ทานรองผูวาราชการจังหวัดทานบอกวา ก็ไมเคยเห็นปนี้เปนอยางไร เพราะมังคุดบางทีออกมาลูกหนึ่งหรือสองลูก
ตอชอหนึ่ง แตปนี้ออกเปนชอองุนเลย ปหนึ่งสองหมื่นกวาตัน ราคาเทาไร แตปนี้สี่หมื่นกวาตัน เขาบอกวาปลอยทิ้งไวเฉยๆ
ยังไมขาดทุนเทากับเรียกคนมาเก็บ นี่คือปญหา เวลาประชุม ผูแทนชาวสวนมาตอวาทานผูวาฯ ไมชวยอะไรเลย บอกเดี๋ยวผม
จะยกมังคุดกับเงาะมาทิ้งหนาศาลากลาง ทานผูวาฯ บอกลองสิ อัดกันแหลกเลย ไมยอม ทำมาโดยตลอดแตธรรมชาติ
เอื้ออำนวยมากจากสองหมื่นกวาตันเปนสี่หมื่นกวาตัน ไมมีตลาดไปไหนเลย นี่คือปญหาของเรา แลวบอกวาเวลามาประทวง
ผูบริหารของใครก็ไมทราบที่รับผิดชอบเรื่อองนี้บอกวาผมไดทำงานตามระเบียบขั้นตอนทุกประการแลว แตชาวบานประทวงอยู
ขางหนา นี่คือเราทำงานแบบ 1, 2, 3 พอเราจะเปลี่ยนเปน 3, 2, 1 การมีสวนรวมของภาคประชาชนตองสูงมากๆ เลย กระบวน
ทัศนในการปฏิบัติราชการตองมีการปรับใหม วิธีคิดตองคิดใหมแลว ผูบริหารเองตองมีสมรรถนะใหมและมีวิธีคิดใหม... พรบ.
ระเบียบขาราชการพลเรือนพยายามเปลี่ยนจาก 1, 2, 3 มาเปน 3,2, 1 ใหได แตไมใชวาเปลี่ยนทันที คงไมงายขนาดนั้น ตองใช
เวลาพอสมควร นี่คือประเด็นที่ผมคิดวาเปนจุดเริ่มตน
การบริหารงานในระบบราชการของเรากับองคกรที่เปนแบบบูรณาการ เพิ่งผานไปหยกๆ แตยังไมลมสลาย เพราะเริ่ม
มาตั้งแตปการปฏิรูประบบราชการ พ.ศ. 2545 แลวใชระบบที่เรียกวา CEO เขามา ขับเคลื่อนการทำงานของจังหวัดของสวน
ราชการตางๆ พอเราเปลี่ยนรัฐบาลใหมก็บอกวายกเลิก CEO แตยกเลิกเฉพาะชื่อ แตระบบการทำงานยังมีอยูเหมือนเดิม
กระบวนการเปนอยางนี้ นั่นคือประเด็นที่ 2 ที่ผมจะพูด
ประเด็นแรกที่พูดไปแลวคือความสำคัญวาทำไมเราตองปฏิรูป ประเด็นที่ 2 คือเมื่อปฏิรูปแลว วิธีการของเขา
เปนอยางไร แลว พรบ. ขาราชการพลเรือนจะไปมีสวนตรงนี้ไดอยางไร ผมถามขาราชการหลายคนทั้งในสวนกลาง
และสวนภูมิภาค ตั้งแตปฏิรูปเขาบอกใหสวนราชการทั้งหลายทำวิสัยทัศนและพันธกิจ จุฬาฯ หรือมหาวิทยาลัยทั้งหลายคงมี
เหมือนกัน และผมถามเพื่อนผมหลายคนวาทำไมตองทำวิสัยทัศนและพันธกิจ สวนใหญจะตอบวาเมื่อปฏิรูปแลวตอง
ทำวิสัยทัศนและพันธกิจ คือไมเขาใจวาทำไม การทำวิสัยทัศนและพันธกิจนั้น เราไปดูนิยามของมัน พันธกิจคือภารกิจที่หนวย
งานตองทำ และวิสัยทัศนคือภาพในอนาคตที่ทานอยากจะเห็นในระยะเวลาหนึ่งใหบรรลุผลสำเร็จนั้นคืออะไร ตัวนี้ถูกกำหนดขึ้น
โดยความคาดหวังของ stakeholder ของผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งที่ผานมานั้นเรารูทันทีวาหนวยงานของเราไมสามารถตอบ
สนองไดดีเทาที่ควรตามที่เราคาดหวังไว อันนี้เปนเรื่องของ organizational performance gap แลวเรากำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน
ขึ้นมาเพื่อจะปดตรงนี้ เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนใหดีขึ้นคือตัวที่ 3 ที่ผมบอก
88
กำหนดวิสัยทัศนและพันธกิจแลวก็นาจะมีตอ คือ กำหนดคานิยม share value ในการทำงานของขาราชการยุคใหม
ทั้งหมดเลย ตองเปลี่ยนวิธีคิดใหม พฤติกรรมใหม เปลี่ยนคานิยมในการเปนขาราชการใหม แตยังเปลี่ยนไมทัน พอเขา
ทำวิสัยทัศน พันธกิจแลว เขาโดดมาทำยุทธศาสตรกอน พอมีวิสัยทัศนและพันธกิจก็มีประเด็นยุทธศาสตรจะตองทำอะไรบาง
และมียุทธศาสตรอะไรบางที่จะขับเคลื่อนไปอยางที่วา อันนี้ยังไมเทาไร มาจัดโครงสราง โครงสรางควรจะจัดตามยุทธศาสตร
แตของเราพอปฏิรูป 2545 เอาปฏิรูปกอนเลย ปรับโครงสราง พอปรับโครงสรางเสร็จ หันกลับไปดูวาควรจะทำวิสัยทัศน
และพันธกิจอะไรแลวมียุทธศาสตรนี้ออกมา มีหลายที่พอกำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรแลว โครงสรางไมรับกัน
อยางนั้นไมเทาไรคานิยมก็ยังไมเปลี่ยนตาม พูดงายๆ วาตอนนี้วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรเอาติดไวขางฝา ถามวามีไหม
มี ติดไวขางฝามีเต็มเลย แตวิธีทำงานยังทำเหมือนเดิม ไปตามโครงสราง
เสร็จแลวสำนักงาน กพร. มีโครงสราง มีกระบวนการทำงาน กำหนดตัวชี้วัดสารพัดอยาง และติดตาม มีการประเมินผล
บังคับใหสวนราชการทั้งหลายทำเยอะแยะมาก กำหนดตัวชี้วัดและขามตัวนี้ไป อันนี้เปนความรับผิดชอบสวนหนึ่งของสำนักงาน
กพ. ที่จริงในการปฏิรูปที่จะปรับโครงสรางกับกระบวนการทำงาน ตรงนี้มาคูกันโดยตลอด แตทวารัฐบาลใจเร็วมาก อันนี้งายดี
ปรับโครงสราง ซัดตูมเลย 2 ตุลาคม 2545 โครงสรางตองออก จาก 12 กระทรวงเปน 20 กระทรวง งายดี มีปญหาไมเปนไร
ขอใหมีโครงสรางออกมากอน แตตรงนี้ผมคิดวารัฐบาลไหนก็ไมกลาฟนตูมลงไป เปลี่ยนจากซีเปนระบบใหมทันควันคงไมมีใคร
กลาทำ ถึงไดเวนไวกอน เพราะพวกนี้ไมรองและไมดิ้นดวย แตลองฟนตรงนี้ มโหฬารเลย ทั้งรองทั้งดิ้นและตอสูอุตลุดเลย
เผลอๆ ลมสลายทั้งประเทศชาติ เขาเลยตองเวนวางไว ใหคอยๆ กลืนไปเรื่อยๆ
การปฏิรูปที่เกิดขึ้น 4-5 ปมาแลว สิ่งที่ตามมาคือระบบและวิธีการบริหารงานบุคคลยุคใหมตองเปลี่ยน
ในพรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับใหมก็จะปรับตรงนี้
ใน พรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับใหม เขาจะพูดทุกเรื่อง ตั้งแตเรื่องการสรรหา การบรรจุแตงตั้ง การเลื่อนตำแหนง
วินัย เงินเดือน การลงโทษทางวินัย การเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณ รวมทั้งการออกจากราชการ อยูในนั้นทั้งหมด
ครบกระบวนการของการบริหารงานบุคคล
แตผมคิดวาเรื่องนั้นทานคงไมสนใจเทาไร ทานคงอยากจะดูวาสาระที่เปลี่ยนแลวมีผลกับทานทันทีเมื่อมี พรบ.
ฉบับใหมออกมา คือ หลักในการออกแบบ จะมีอยู 4 หลักเปนพื้นฐานที่ค้ำจุน 3 เสาหลัก
หลักแรก คือหลักของคุณธรรม Merit Principle ยังมีอยู เพื่อปองกันขาราชการไมถูก bias ไมมีการเลือกปฏิบัติ
ในหลายๆ เรื่องดวยกัน
หลักที่ 2 คือ หลักสมรรถนะ Competency หลักนี้ตองทำความเขาใจกันเยอะมาก ผมยก ตัวอยางงายๆ แลวเดี๋ยวเรา
ยอนกลับไปดูวาในขาราชการพลเรือนเราสรางหลักสมรรถนะอยางไร เวลาทานจะไปซื้อรถ คนขายบอกรถคันนี้ เครื่องเปน
อยางนั้น อุปกรณเปนอยางนี้ สมรรถนะสูงมาก 100 กวาแรงมา สารพัดอยางเลย ทานจะรูไดอยางไรวาที่เขาพูดนั้นจริงหรือเปลา
นั่นคือคุณสมบัติของรถคันนั้น แตทานจะรูสมรรถนะจริง ทานตองลองขับดูแลวจะรูวาจริงอยางที่วาไหม มีสมรรถนะแคไหน
อยางไร หลักเชนเดียวกัน ที่ผานมาเราทำเหมือนรถยนต คนๆ หนึ่งจะรับราชการตองดูวามีคุณสมบัติอะไรมาบาง
จบอะไรมาบาง ทำงานที่ไหนมาบาง มีความรูอะไรมาบางก็ทดสอบตรงนั้น แตยังไมไดปฏิบัติราชการ เรายังไมรูเขาคิดอะไร
อยางไร เขามีสมรรถนะแคไหน จนกวาไดลงมือทดลองปฏิบัติราชการ 6 เดือน แตผมยังไมเห็นผูบังคับบัญชาคนไหนใชเวลา
6 เดือนตรวจสอบวาเขามีสมรรถนะจริงหรือไม เพราะเทาที่ผมเช็คดู เลขาธิการ กพ. เช็คดู ขาราชการใหมที่บรรจุเขารับราชการ
ใหทดลอง 6 เดือน ยังไมมีที่ไหนบอกวาไมผาน 6 เดือน ผานหมด แสดงวาไมไดตรวจสอบเรื่องสมรรถนะเลย เราทำอยางไร
ระบบใหมตองกำหนดใหชัดลงไปเลยวาจะรับขาราชการเขาทำงานไดตองคำนึงถึงสมรรถนะ แลวประเมินสมรรถนะเปนหลัก
จะเลื่อนตำแหนง เลื่อนชั้นโยกยายไปไหน เอาสมรรถนะเปนหลัก ไมใชเอาคุณวุฒิหรือคุณสมบัติเฉพาะตัวเปนหลัก เราตอง
กำหนดตัวนี้ใหได ตัวนี้ยากมาก เดี๋ยวเลาใหทานฟง
พอมีสมรรถนะแลว หลักที่ 3 ตาม เพราะมีคนบอกวามีสมรรถนะสูงมากเลย แต performance ต่ำ เพราะหลายคน
คิดวามีสมรรถนะสูงแลว performance ตองสูงตาม โดยเฉพาะตัวเขา competency ของเขาสูงมาก ศักยภาพที่ทำงาน
หรือ performance สูงมากเลย แตเวลาเขาอยูที่ทำงาน สมรรถนะสูงจริง แตเมื่อทำงานแลวกลับมี performance ต่ำ เพราะมี
ปจจัยอื่นเขามาบังคับอยูเยอะมาก ตัวของเขาเอง competency เขาบังคับตัวของเขาเอง แต performance เขาบังคับตัวเขาเอง
ไมได เขาใช competency ของเขาได แต performance อาจจะไมออก ยกตัวอยาง classic เพราะเขาจะบอกหัวหนาไมเอาไหน
89
นี่คือตัวอยาง อันที่ 2 กฎระเบียบไมเอื้ออำนวยเลย บอกใหทำ 3, 2, 1 ผมอยากจะทำ 3, 2, 1 แตเขาบอกวาลองทำสิ ครึ่งหนึ่ง
อยูในตาราง เพราะทานอาจจะทำผิดกฎผิดระเบียบ ยังไปกันไมทัน ยังปรับไมทัน แตกำลังเดินทางไปเรื่อยๆ มีการปรับเขาสู
ระบบใหมอยางที่วา ตองทำใหคนทำงานมีความคิดริเริ่ม flexible พอสมควร ตอง empower ใหคนทำงานมากขึ้น ถาทำเชนนี้ได
ตองทำใหคนทำงานเปน knowledge worker เปนคนที่มีความรู ความสามารถ สามารถคิดเอง แกปญหาเองได ไมใชวาจะทำ
อะไรตองถามหัวหนา เรื่องนี้วาอยางไรตองถามหัวหนา เหมือนโจกเขาเลาใหฟง สมภารใหเด็กวัดไปดู ใตถุนวัด แมวออกลูก
กี่ตัว เด็กวัดวิ่งลงไปดู วิ่งขึ้นมา 3 ตัวครับ ถามตอมันสีอะไรบางวะ เห็นไหม อยางนี้ไมไหว เพราะขาราชการสวนมาก
เปนอยางนี้ตลอด ทำอยางไรลงไปไดขอมูลหมดเลย ถามแลวตอบไดหมดเลยเรื่องนั้นเรื่องนี้ นี่คือ knowledge worker
เราจะทำไดอยางไร เรื่องของหลัก competency performance ตรงนี้แหละที่ตาง
เมื่อเปนเชนนี้ การบริหารงานบุคคลตามหลัก merit สมรรถนะ competency และเรื่องอื่นๆ ขอใหเปนความรับผิดชอบ
ของหัวหนาของเขา คนในกระทรวงนั้น คนในกรมนั้นก็ปลัดกระทรวง อธิบดีรับผิดชอบไป แตที่ผานมาเปนอยางไร
ผมไดพยายามแลวแตสำนักงาน กพ. ไมใหตำแหนงคุณ พูดงายๆ วางานตรงนี้ไปโยนไวที่สำนักงาน กพ. ไปอยูที่สวนกลาง
หมดเลย ผมขอตำแหนงใหคุณแลว ผมประเมินแลว คุณนาจะได 2 ขั้นแตเงินไมพอ เพราะกระทรวงการคลังใหมาแคโควตาเทานี้
ทีนี้คุณรับไปเลย ถาลูกนองบน ทานโยนใหใครไมไดแลว โยนเขาหาตัวเองรับผิดชอบ นี่คือการกระจายความรับผิดชอบดาน
บริหารงานบุคคล ที่จริงกระจายความรับผิดชอบคือเอางานนี้ที่เคยเปนของคุณอยูสมัยดึกดำบรรพเอามาไวที่สำนักงาน กพ.
เอาคืนไป เพราะพวกคุณไดหนาหมดเลย สำนักงาน กพ. ถูกดาลูกเดียวเปนประจำ เดี๋ยวนี้ยังบอกเลยวาผมกำลังประเมินซี 7
ขึ้นเปนซี 8 สงผลงานไปแลว ตองสงไปที่สำนักงาน กพ. แลวผมสงไปตั้งเดือนกวาแลวไปไหน ไปถามเพื่อนผม เขาบอกอาจารย
สมโภชนทุกกระทรวงเลยมาอยูที่ผม ทั้งหองเอกสารวิชาการสงมาเพียบเลย อนุมัติไดโอเคเลยแตหาคนอานผลงานยาก ตอไปนี้
คิดวาคุณวาของคุณเองก็แลวกัน นั่นคือผมยกตัวอยางงายๆ ในพรบ.ฉบับใหมตองคิดอยางนี้
หัวใจของเรื่องที่ทานสนใจ โครงสรางเดิมเราเปนสามเหลี่ยมทรงสูง ตั้งแตซี1 ถึงซี 11 ทั้งสามเหลี่ยมนี้มีบัญชีเงินเดือน
ฉบับเดียวซึ่งเปนปญหามากๆ เลย จำแนกเปน 11 ระดับและมีบัญชีเงินเดือนเดียวเทานั้นเอง พอเราจะปรับบัญชี
ตองยกทั้งโขยง พอยกทั้งโขยง คนที่อนุมัติเห็นเงินก็ใจแปวเลย ถึงวา 10 กวาปนี้ไมเคยอนุมัติใหเลย พูดงายๆ วาใครที่
เอาตัวรอดได เขาก็เอาไปกอนเลย เชน อัยการ เพราะคนเขาไมเทาไร พันกวาคน ขอปรับเงินเดือน เห็นนิดเดียวใหเลย
แตพอขาราชการพลเรือนจะทำตามบาง อยากใหเหมือนกัน แตเห็นเงินแลวหงายหลังเลย รอไปกอนดีไหม นี่คือปญหาที่เกิดขึ้น
สำนักงาน กพ. รูปญหานี้ก็พยายาม ทรงสูงนี้ยุงยากมากก็รื้อเลย รื้อออกมาเรียงหนากระดาน เปน 4 ดาน
ระดับสูง เปนระดับคนนอย ยกมากลุมผูบริหาร ซึ่งมีอยู 2 ระดับ ระดับตนกับระดับสูง บางคนบอกทำไม
ไมมีระดับกลาง ไมจำเปน เปนปญหาทางปฏิบัติที่เขาแกไขกันมา ระดับตนเทียบงายๆ คือรองอธิบดี รองผูวาราชการจังหวัด
ที่เปนระดับ 9 ปจจุบัน ถาเขาสูระบบใหม รองอธิบดี รองผูวาราชการจังหวัด จะมาลงผูบริหารระดับตนโดยอัตโนมัติเลย
เขาสูตรงนี้ไดเลย เพราะรองรับตรงนี้อยู สวนระดับสูงก็อธิบดี ปลัดกระทรวง ผูวาราชการจังหวัด พูดงายๆ วาเอากลุม10
กับ 11 มาไวดวยกัน เปนระดับสูง ถามวาทำไมไมมีระดับกลาง เพราะระดับสูง ถาเอาไปอยูดวยกัน ทานโยกยายกันงาย ที่ผาน
มายายยากมากเลย จะเอาปลัดกระทรวงมีอยู 19 คน พออยากจะยาย ไมรูจะเอาไปไวไหน เพราะไปลง 10 ไมได ตัวเลขเปน
อยางนี้ แตมีบางหนวยงานทำ เชน กระทรวงการตางประเทศ ปลัดกระทรวงไปเปนเอกอัครราชทูต เปนซี 10 แตเงินเดือนซี 11
ของกรมการปกครอง ผูวาราชการจังหวัดซี 10 มาเปนรองอธิบดีซี 9 แตเงินเดือนก็ซี 10 เหมือนเดิม เพียงแตลดซี เมื่อทำเชนนี้
คลองตัวขึ้น เรานาจะเอาคละกันเสียเลยเพื่อสับเปลี่ยนโยกยายหมุนเวียนกันงายขึ้น เพราะระบบราชการบอกวาผูบริหารระดับสูง
ตองสับเปลี่ยนโยกยายทุก 4 ป ปลัดกระทรวงมีอยู 10 กวาคน ทานลองนึกซิวาจะยายไปไหน นี่คือปญหาที่ขัดของกันอยู
ของกระทรวงสาธารณสุขก็มีซี 11 หลายคน แตมีซี 11 ที่อยูระดับสูงคนเดียวคือทานปลัดกระทรวง แลวซี 11 คนอื่นไปอยูแถวนี้
เดี๋ยวอธิบายใหทานฟง
ที่ต่ำมาจากรองอธิบดี รองผูวาราชการจังหวัด เปนระดับ 9 เหมือนกัน แตไมใชนักบริหาร เปนผูอำนวยการ ผูอำนวย
การสำนัก ผูอำนวยการกอง ที่ตำแหนงเรียกผูอำนวยการ ผอ.ทั้งหลายลงมากลุมอำนวยการทั้งหมด แบงออกเปน 2 ระดับ
กลุมอำนวยการที่เทียบเทาระดับ 8 ปจจุบัน ก็มีผูอำนวยการกองบางกอง บางสวนราชการเปนผูอำนวยการกองเทียบเทาระดับ
8 อยู มาลงตรงนี้ หรือผูอำนวยการกลุมงานที่เปนระดับ 8 ก็มาลงตรงนี้ ผูอำนวยการกลุมงานอยูในระดับตน สวนระดับสูงจะเปน
ผูอำนวยการสำนักที่เปนระดับ 9 ที่เปนหัวหนากลุม ถาเปนหัวหนากลุมระดับ 9 ทานก็ไปอยูในกลุมผูอำนวยการระดับสูง
90
พูดงายๆ วาถาเอาซีปจจุบันมาเทียบ ตรงนี้จะเปนระดับ 8 ตรงนี้จะเปนระดับ 9 แตไมใชระดับ 9 ที่เปนผูบริหาร แตเปนผู
อำนวยการ
ยังมีอีก 2 สวน คือ โครงสรางมหึมาเลย มาลงตรงนี้หมด สวนที่ใหญมากที่สุดคือกลุมวิชาการ หรือ knowledge worker
กลุมสีเหลืองจะเปนกลุมที่ตองการคุณสมบัติของคนที่ตองจบปริญญาตรี เพราะตัวตำแหนงบอกวาตำแหนงนี้ตองการคนที่เขา
มาทำงานที่จบปริญญาตรีขึ้นไป มาลงตรงนี้ และคนที่ไมจบปริญญาตรีและเขารับราชการก็มาลงตรงสีมวง คือกลุมทั่วไป
ทีนี้เสนแบงตรงนี้ ตำแหนงไมตองการคนจบปริญญาตรี แตสีเหลืองกลุมวิชาการตำแหนงตองการคนจบปริญญาตรี
ขึ้นไป พอผมบอกตำแหนง ก็มีคนถามวาตอนนี้ผมอยูกลุมทั่วไปแตผมจบปริญญาโท ถาเขาสูระบบใหม ผมจะมาลง
ตรงนี้ไหม ไมใช ทานอยูตำแหนงไหนลงตำแหนงนั้น แลวผมจบปริญญาโทมาลงตำแหนงนี้ ผมก็ถามวาตอนที่คุณมาสอบแขง
คุณเอาวุฒิไหนมาสอบแขง วุฒิต่ำกวาปริญญาตรี พูดงายๆ วาคุณมีคุณวุฒิสูงแตเอาคุณวุฒิที่ต่ำกวามาแขงกับเขา แลวคุณไปลง
ตรงนี้ พอคุณมาลงตรงนี้ คุณจะเอาวุฒิใหญมาทำใหทานเลื่อนขยับไมได นี่คือปญหาของเรา
พอเปนเชนนี้ ระบบเกาเราใชเรื่องคุณวุฒิเปนตัวหลัก เราจะยายสายงานไดตองจบปริญญาตรี ตอไปนี้ที่ผานมา
คนที่ไมเคยจบปริญญาตรี พอทำงานราชการอยูฝายนี้ก็เรียกหาปริญญาตรีเปนแถว พอไดปริญญาตรีแจงหนวยงานขอยาย
ทานลองนึกดูวาที่ไหนที่เขาจะรับไดหมด ทานจะไปเบียดเขาไดอยางไร ไปไลจี้เขาไดอยางไร ที่นั่งเขาจองกันอยูแลว
ทานจบปริญญาตรีจริงมีโอกาสที่จะยาย แตที่ผานมา โอกาสจะยายก็คือสนิทกับผูบริหาร มีสัมพันธที่ดีสารพัดอยาง ทีนี้เปลี่ยน
มายึดหลักสมรรถนะมากขึ้น
เมื่อจบปริญญาตรี แลวตำแหนงรับราชการตองการคนจบปริญญาตรี สาขาอะไรก็แลวแตขึ้นอยูกับสายงาน เขามาอยู
เปนผูปฏิบัติการ ระดับตน หรือเปนเจาหนาที่ระดับตนเลย ถาปจจุบันเทียบเทากับระดับ 3 พอทานอยูไปๆ อายุราชการสูงขึ้น
มีประสบการณสูงขึ้น เขาจะ test ทาน มีโอกาสจะเลื่อนระดับสูงขึ้นมาเปนผูชำนาญการ เขาจะประเมินสมรรถนะ เพราะใน
แตละระดับ เขาจะเขียนวาแตละระดับตองการสมรรถนะอะไร มีเงื่อนไขอะไร เขาจะประเมินทานตามเงื่อนไขและหลักตรงนั้น
ขึ้นสูตรงนี้ ถาเทียบกับปจจุบัน เริ่มจากระดับ 3 ไตขึ้นไปถึงตรงนี้เทียบไดถึงระดับ 11 จะชี้ใหเห็นวาถาเปนแบบเดิม เขามาเปน
ระดับ 3 อยากเปนซี 11 ทานตองกระโดดไปกระโดดมา แตถาทานอยากเปนซี 11 โดยไมตองกระโดด ก็ไตขึ้นไป ดวยสมรรถนะ
ของทานจะเปนตัวกำกับ ทานแขงกับตัวทานเอง ไมตองไปแขงกับใครเลย
แตถาทุกคนเกงหมด ขึ้นไปอยูหมด รัฐบาลก็เจง จายเงินเดือนมหาศาล จึงตองมีกรอบอัตรากำลัง มีหลายคนบอกวา
เขาสูระบบใหมนี้ ผมสนิทกับทานอธิบดีและมอบงานดานบริหารงานบุคคลใหอธิบดี สบายแลวผมไดขยับแน เพราะผมสนิทกับ
ทานอธิบดี ทานอธิบดีคงหงายหลังเหมือนกัน เพราะทานจะสงใครขึ้นไปขางบน ทานตองดูวามีเงินจายเขาหรือเปลา ทานจะเพิ่ม
ขึ้นไป เขาบอกเพิ่มได แตจำนวนคนตองไมเพิ่ม เงินก็ตองไมเพิ่ม ตองลดใหได นี่คือเงื่อนไขที่บังคับไว พอขยับขึ้นไป
เปนผูชำนาญการ ผูชำนาญการพิเศษ ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ
กลุมทั่วไปที่ไมไดจบปริญญาตรี และตำแหนงไมตองการคนจบปริญญาตรี เมื่อเขามาก็เปนผูปฏิบัติงานเหมือนกัน
มีความชำนาญมากขึ้นก็ขยับขึ้นไปเปนผูชำนาญการ ปรับขึ้นไประดับอาวุโส และมีทักษะพิเศษ ถาเทียบกับระบบซีในปจจุบัน
ตรงนี้เขามาตั้งแตระดับ 1 เลยก็สามารถขยับขึ้นไดถึงระดับ 9 ซึ่งปจจุบันติดแคระดับ 6 เทานั้นเอง ทีนี้เราขยับถึงระดับ 9 ถาเขา
ยังมีวุฒิต่ำกวาปริญญาตรี แตมีสมรรถนะสูงก็ขยับขึ้นไปไดถึงเทียบเทาทักษะพิเศษตรงนี้เลย มีความรู มีความสามารถ
เปนกรณีพิเศษสามารถขยับขึ้นไดถึงตรงนี้ และถามวายายกันไดไหม ยายได
ประเภทผูบริหาร ระดับตน ระดับสูง เงินเดือนตรงนี้กำหนดไวสำหรับระดับสูง ระดับตน แยกเฉพาะของมันเลย
เปนบลอคๆ
ระดับทั่วไป ระดับอำนวยการ ระดับวิชาการ ระดับผูบริหาร 4 บลอคอยางที่วาเมื่อกี้นี้ ทานยายได เวลาทานเขามา
ทานไมไดจบปริญญาตรี อยูไปเขาสนับสนุนใหทานเรียนหนังสือ ทานจบปริญญาตรี ทานบอกวาผมอยากจะยาย ทานสามารถ
ยายมาอยูวิชาการได อาจจะเริ่มตรงไหนไมวาอะไร พอทานอยูตรงนี้แลว ทานมีความรู ความสามารถ มีโอกาสที่จะมา
เปนผูอำนวยการไดไมยาก สามารถยายไดถามีความสามารถถึงอยางที่วา ยายขยับขึ้นขางบน
การยายขึ้นอยูกับคุณวุฒิการศึกษาที่เขามาเกี่ยวของ minimum ตองจบปริญญาตรี อันที่ 2 อายุราชการตองเปน
ตัวกำหนด มีเพื่อนผม ตอนนี้ออกจากราชการไปแลว ลาออก ทนไมไหวเพราะกำลังถูกเช็คบิล เพราะตอนปฏิรูป ลูกนองคนหนึ่ง
เปนซี 4 ไมถึงปเปนซี 5 ใหรักษางานซี 6 พอปที่ 2 เปนซี 6 ใหรักษางานซี 7 พอปที่ 3 เปนซี 7 เขาถึงตองกำหนดอายุงานไว
91
แตเขาเลี่ยงบาลี อายุงานนับจากรักษาการ ที่จริงทำไมได อันนี้ชี้ใหเห็นวาทำไมถึงตองมีการกำหนดไว อยางอธิบดี รองอธิบดี
คนที่จะเปนอธิบดีไดตองเปนรองอธิบดีอยางนอย 1 ป ไมใชวามา 6 เดือนแลวขึ้นเปนอธิบดี
ทีนี้ฝายวิชาการ เขาบอกวาอายุงานถึงเพราะจบปริญญาตรีอยูแลว มีบรรลุผลสัมฤทธิ์ของการทำงานตาม kpi
3 ปติดตอกัน อันนี้เปนตัวกำกับไว แสดงใหเห็นวาในยุคใหม ใน พรบ. ฉบับใหม ทุกคนที่อยูตรงนี้จะมี kpi เฉพาะตัวบุคคล
เพราะที่ผานมาจะมี kpi เฉพาะผูบริหารเทานั้น เปน performance agreement แตเมื่อผูบริหารรับมาแลว ตองถายทอด kpi
ของผูบริหารลงไปถึงผูปฏิบัติงานแตละคนเปน kpi เฉพาะตัวบุคคลแลวประเมินตรงนั้น จะประเมินทั้งสมรรถนะกับ performance
ซึ่ง performance ตัวนี้จะเปน kpi ที่กำหนดวาแตละคนในแตละปตั้งใจและตกลงกันวาจะทำเรื่องอะไร งานสัมฤทธิ์แคไหน
มี kpi เฉพาะตลอด จะไปรับลูกซึ่งกันและกัน
การเลื่อนระดับ จากระดับหนึ่งมาอีกระดับหนึ่ง เกณฑการเลื่อนระดับมีเกณฑกวางๆ แตเมื่อมอบไปใหสวนราชการแลว
ทานอาจจะมีอะไรเพิ่มได แตทานจะตัดทอนไมได พูดงายๆวาเปนเกณฑกลางตั้งเอาไว แตมีเกณฑอื่นทานจะเสริมเขามา
ทานทำได ระดับหนาที่ความรับผิดชอบหลักของผูปฏิบัติงานถึงเกณฑที่กำหนดไวสำหรับในตำแหนงเปาหมายที่สูงขึ้น พอไปถึง
อธิบดีดูแล ทานบอกผมไมเอาเกณฑนี้ไดไหม เพราะดูแลวลูกนองไมถึงเกณฑ ตัดเกณฑนี้ออกไดไหม ไมได ทานตองคงเอาไว
นี่คือเกณฑที่ตั้งเปนกลาง
ระดับความรูที่จำเปนของงานในตำแหนงเปาหมาย จะขยับขึ้นมา ทานตองมีความรูเหมาะสมที่จะขึ้นไป
ระดับทักษะที่จำเปนของตำแหนง นี่คือทักษะที่จำเปนของตำแหนงนั้นๆ ทานอาจจะมีทักษะอื่นก็ได แตนี่คือทักษะ
กลางที่ตั้งไว
1) ทานขึ้นไปแลว ทานตองใชคอมพิวเตอรเปน อันนี้ที่บังคับผมใหรีบใชคอมพิวเตอรดวย ผมบอกไดเลยวาผมเริ่มใช
เปนเมื่อประมาณ 7-8 ปมาแลว และคนที่สอนผมตอนนี้ไมคอยคุยกับผมเทาไรคือลูกผม เพราะสอนไมจำ สอนบางเรื่องเราไมได
ใชก็ลืมแลว เราตองรีบใช คนรุนใหมตองใชคอมพิวเตอรเปน ใน พรบ. ฉบับใหมกับระบบใหมทั้งหลายใชคอมพิวเตอรไมเปน
เขาไมใหขึ้น พยายามสนับสนุนใหใชคอมพิวเตอร
2) ตองใชภาษาอังกฤษเปน ขาราชการในภูมิภาคบนกันเปนแถว ผมบอกไมยาก ถาใครสง E-mail มาถึง พออานออก
วาถึงใคร ก็พอใชไดแลว ไมใชอานไมออกสักตัว พูดงายๆ วาสามารถทำงานไดในระดับนั้น
3) การคำนวณ ตองคิดเลขเปนบาง เพราะตองเกี่ยวกับการใชจายเงิน
4) การจัดเก็บ การบริหารขอมูล การทำงานของตนเอง ก็ตองมี
นั่นคือมาตรฐานกลาง แตที่ผมเห็นหลายสวนราชการพยายามเอาไปใชและเพิ่มทักษะอีกหลายอัน เปนความจำเปน
ของแตละกลุมงาน ของแตละสายงาน หรือของแตละสวนราชการ
ตัวที่เปนปญหาหลักๆ คือระดับสมรรถนะที่จำเปนของแตละตำแหนงเปาหมาย เขาจะกำหนดไววาตรงนี้สมรรถนะ
ควรจะเปนอยางไร ตรงนี้จะเปนอยางไร ทั้ง 4 กลุมเขาจะกำหนดไวหมด ตัวอยางที่สำนักงาน กพ. ทำมาแลวประมาณ 3 ป
เพราะเราตองการทดลองใหแนใจวาใชได เราก็ใชกับพวกเรากอนที่สำนักงาน กพ.
อยางของผมในฐานะที่เปนผูทรงคุณวุฒิ เปนที่ปรึกษาระบบราชการ ประสบการณในงานที่เกี่ยวของกับเปาหมาย
ผมยกตัวอยางใหทานดู ทานจะเห็นภาพชัดเจนขึ้นวาระบบเกาที่เปนอยูสวมเขาระบบใหมไมยากเลยและอธิบายไดดวย
ตอนที่ผมเขามา ผมจบปริญญาเอก ผมอยูอเมริกามา 10 กวาป ผมมารับราชการตอนอายุ 29 เปนหนวยงานใหมของสำนักงาน
กพ. เพิ่งตั้งพอดีเลย เรียกวาสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน ทานเลขาธิการ กพ. ตอนนั้น คือพันเอกจินดา ณ สงขลา
ทานบอกวา คุณสมโภชนจบปริญญาเอกเพิ่งกลับมา เพราะไปเปนนักเรียนในความดูแลของ กพ. แตไมไดทุนของ กพ. เขาบอก
ใหมารายงานตัว พอรายงานตัว เจาหนาที่จับตัวไวเลย บอกวาคุณจบปริญญาเอกมา คุณไมไดรับทุนหลวง แตเขามีตำแหนง
รับพอดีเลย สนใจไหม ผมก็ไมรูสมัครสอบเขาไป เขามาเปนซี 4 สมัยนั้นจบปริญญาเอกเปนซี 4 เขาบังคับใหเปน 2 ปถึงขยับ
เปนซี 5 ตอนนั้นทานอาจารยนรนิติ ทานเปนคณบดีที่คณะรัฐศาสตร ธรรมศาสตร ทานบอก สมโภชน ไปทำทำไมที่ กพ.
เปนซี 4 ปริญญาเอก มาสอนหนังสือที่คณะรัฐศาสตร ผมใหคุณซี 5 เลย กพ. ควาหมับ มัดไวเลย ตั้งแตนั้นมาไมไดไปไหนเลย
อยูมาโดยตลอด เปนซี 4 ไลขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเปนผูชำนาญการ เปนผูชำนาญการพิเศษ จนกระทั่งเปนซี 8 วิชาการ
เขาบอกวาใหคนอื่นมาลงบางดีไหม เผื่อวาตอไปขางหนาจะใชประโยชนอะไรผมไดอีก ก็ยายผม ขยับมาอยูประเภทอำนวยการ
ระดับตน เปนผูอำนวยการกลุมงาน ที่จริงเปนผูอำนวยการกอง สงไปอยูเมืองนอกเลย ไปเปนผูดูแลนักเรียนที่ประเทศอังกฤษ
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)

More Related Content

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)

  • 1.
  • 2. 84 ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น กอนที่ผมจะลงรายละเอียด สาระสำคัญคือ ผมไดรับการยืนยันจากทาน เลขาธิการ กพ. ซึ่งทานเองพยายามผลักดันในเรื่องนี้มาหลายปแลวดวยกัน สามเลขาธิการ กพ. จนกระทั่งปจจุบัน ทานปรีชา วัชรภัย เปนเลขาธิการ กพ. และทานเปนสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ คิดวาทาน confirm กับพวกเราที่สำนักงาน กพ. วา เนื่องจากประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทานมีชัย ฤชุพันธุ ทานเปนประธานของคณะกรรมการกฤษฎีกา ดูแลเรื่อง พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนฉบับใหม ทานอานตั้งแตมาตราแรกถึงมาตราสุดทาย และคุยกับพวกเราวาเบื้องหลัง การถายทำเปนอะไร อยางไร เราก็มั่นใจ ทานเลขาธิการ กพ. ก็ยืนยันมั่นใจวา ภายในตุลาคมนี้ พรบ. ขาราชการพลเรือน ฉบับใหมคงจะผานการพิจารณาและรับรองโดย สนช. เมื่อรับรองออกมาประกาศเปนระเบียบขาราชการพลเรือนแลว จะมีการปรับเขาสูระบบใหม จะใชเวลาไมเกิน 1 ป หมายความวาตั้งแตตุลาคม 2550 ปงบประมาณใหม 2551 เราตองปรับเขาสูระบบใหมใหเสร็จภายในเวลา 1 ป แตดวยสำนักงาน กพ. ไดออกไปชี้แจง อธิบาย ผมคิดวาตอนนี้ขาราชการ 100% รูแลววามีการเปลี่ยนแปลงและรูวา จะยกเลิกระบบซี ซีที่เปนตัวเลข 1-11 จะยกเลิก และรูวาแบงออกเปน 4 แทงอยางที่วา 4 กลุมงาน ผมไมคิดวาเขาไมทราบวา 4 กลุมงานมีอะไรบาง แตสิ่งที่เขาสนใจคือ ถาเขาสูระบบใหม 4 แทงแลว ที่เขาเปนอยูปจจุบันเขาจะไปเขาแทงไหน อันนี้ เขาสนใจมากๆ เลย คิดวาจะอธิบายใหทานฟง สิ่งหนึ่งที่ผมไดยืนยันตลอดเวลาที่เราไปชี้แจง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น โดยหลักเมื่อเปลี่ยนแปลงแลว ไมดีกวาเดิมคงไมเปลี่ยน เรายืนยันวาดีกวาเดิม หรืออยางนอยที่สุดก็เสมอตัว แตผมยืนยันกับขาราชการวาสิ่งที่ทานจะ ไมไดเสมอตัวคือระบบเงินเดือนตองมีการปรับปรุงใหม เพราะถาเปนแบบเกาไปไมรอด ยืนยันวาเงินเดือนตองเปนอัตราใหม เปนโครงสรางใหม แตขณะเดียวกันใน พรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับนี้ โดยความตั้งใจจะให พรบ. ออกมาพรอมกับ เรื่องเงินเดือน แตเงินเดือนไมไดอยูในการพิจารณาของสำนักงาน กพ. เปนเรื่องของคณะกรรมการเงินเดือนแหงชาติ ซึ่งมี กระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ สำนักงาน กพ. สำนักงาน กพร. และมีอีกหลายสวนราชการเขาเปนคณะกรรมการ เงินเดือนแหงชาติ เราจะกำหนดเองคงลำบาก แตอยางไรก็ตาม คณะกรรมการเงินเดือนแหงชาติตองรับขอเสนอจากสำนักงาน กพ. ที่มีการยกราง พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนควบคูกันไป แตตัวเลขที่ผมจะใหทานดูในชวงทายของรายการเปนตัวเลข ที่เราคิดไวเมื่อประมาณ 4 ปที่แลว ตอนนี้ก็ยืนยันวา 4 ปที่แลวกับ 4 ปที่ผานมา ปจจุบันถายังใชตัวเลขเดิมก็ถอยหลังเขาคลอง ตองมีการปรับ คิดวาแนวโนม พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนออกแนนอน แตเงินเดือนอาจจะยังติดคางอยูที่วาคณะกรรมการ เงินเดือนแหงชาติยังตกลงกันไมไดวาเปนอยางไร แตคงไมนอยกวาตัวเลขที่ผมจะเสนอใหทานดู ซึ่งไดทำไวเมื่อประมาณ 4 ป ที่แลว ในการนำเสนอของผม ผมจะขอแบงออกเปน 3 จุดดวยกัน จุดแรก ผมอยากจะชี้ใหเห็นวา ขาราชการทั้งหลายพูดกันตลอดเวลาวาทำไมตองเปลี่ยน เพราะผมกำลังจะไดซี เพิ่มอยูแลว ผมรออยูนี่ จอคิวจะเปนซี 7 ซี 8 แลวถาเปลี่ยน ผมก็อดเพิ่มซี จุดแรกจะชี้ใหเห็นวา ทำไมเรามีความจำเปนตองมี การปฏิรูป พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือน สวนที่ 2 จะชี้ใหเห็นวาตัวขาราชการเองก็มีความสำคัญในการที่จะชวยกันพัฒนาประเทศชาติ และพรบ. นี้จะมอง ที่ตัวขาราชการในมิติใหมที่เพิ่มขึ้นจากเดิม สวนที่ 3 จะเปนเรื่องของการเปลี่ยนแปลงที่เราเสนอไว คิดวานาจะประสบความสำเร็จ พอที่จะทำใหทาน มองเห็นภาพไดชัดเจนวาเปนอยางไร แตผมยังเชื่อ เพราะประสบการณที่ผานมา สิ่งที่สำนักงาน กพ. ทำ เปน pattern ที่มีการเปลี่ยนแปลง แตเมื่อสวน ราชการอื่น ยกตัวอยางขาราชการครู เปนคณะกรรมการขาราชการครู หรือพนักงานทองถิ่น พอเห็นการเปลี่ยนแปลงใน ระบบขาราชการพลเรือน เขาเรียนรูจากเราแลวเขานำไปปรับใช แตการปรับใช คนที่เอาไปยอมจะตอยอดและดีกวา พอคนอื่น เอาไปปรับใชยอมดีกวา ทุกคนก็หวนกลับมาวาแลวทำไมสำนักงาน กพ. ถึงแยกวาคนอื่น ทานลองนึก ลำบากมากเลย หลายคน บอกวา ขาราชการครู ผูอำนวยการโรงเรียน เปนซี 9 อยูกับทานนายอำเภอซึ่งเปนซี 8 นี่คือปญหาที่เกิดขึ้น ในขณะเดียวกัน เราพยายามจะปรับใหนายอำเภอเปนซี 9 บาง ก็มีเงื่อนไขที่เขามาติด 2 เรื่องดวยกัน เรื่องที่ 1 ผมคิดวาเปนนโยบายของประเทศเรา เพราะรัฐบาลไหนเขามาก็พยายามยึดตรงนี้ ไว เงื่อนไขแรกคือกำลัง คนขาราชการพลเรือนทั้งหมดตองไมเพิ่ม ตองมีแนวโนมลดลง เมื่อตนปที่แลวเราพูดถึงรัฐบาลเกา ตอนนั้นรองนายกฯ ทานวิษณุ
  • 3. 85 ดูแลเรื่องของขาราชการพลเรือน พอมีใครเสนอปรับอะไรอยางไรมา ทานมีตัวเลขของทาน สี่แสนกวา ถาตัวเลขนี้ขยับขึ้นมา หนึ่งคน ทานไมเอา ถาบอกวาลดลง โอเคเลย ไมตองพูดกัน นี่คือประเด็นแรก เปนเงื่อนไข เหตุผลทำไมตองกำหนดเงื่อนไขนี้ โชคดีในชวง 10 ปที่ผานมานี้ จำนวนขาราชการของเราลดลง ซึ่งจำนวนที่ลดลง ทำใหการใชจายงบประมาณสำหรับเปนเงินเดือนขาราชการ เปนรายจายประจำลดลงไปดวย เขาตั้งเกณฑไว จากการศึกษา หลายๆ ประเทศดวยกัน เขาบอกวางบประมาณรายจายของประเทศที่เปนงบประจำไมควรเกิน 45% เปน maximum แตตอนนี้เกิน maximum ซึ่งอยูประมาณ 50% กวา เขาถึงไดพยายามจะลด และวิธีลดอันหนึ่ง ใหใชจายงบประมาณ คุมคามากขึ้น เปนวิธีการหนึ่งแตยาก วิธีที่ 2 ทำงายๆ คือ มองจากอัตรากำลังคนที่มีอยูในระบบราชการเทียบกับประเทศอื่น บางประเทศมากกวาเรา แตโดยอัตราสวนของเรายังสูงอยู เขาถึงตองการจะลดลง เมื่อลดลงมาแลว งบประมาณรายจายประจำ จะลดตาม อันนี้เปนเหตุผลหนึ่งที่วาเขาจะกำหนดไว เปาหมายอยากใหอยูประมาณ 40-42% เพื่อใหงบประมาณรายจายประจำ ไมเกิน 50% นี่คือเงื่อนไขที่รัฐบาลหลายสมัยยึดมาโดยตลอด ถาทานจำได สมัยทานนายกฯ เปรม ทานบอกวาในแตละป หามใหสวนราชการบรรจุหรือเพิ่มอัตราขาราชการเกิน 2% คุมยากมากเลย ตั้งไว 2% จะมีขอยกเวนอยางนั้นอยางนี้ แลวหวน กลับไปดู เพิ่มทุกป ไมใช 2% แต 8-9% ทุกป นี่คือความยากลำบากมากๆ เปนความยากลำบากที่ระบบราชการเจอ ดวยเหตุผลนี้ เขาจึงบอกวาตั้งเงื่อนไข 2 ประเด็น 1) จำนวนตองไมเพิ่ม ลดลงชอบมาก 2) งบประมาณรายจายประจำสำหรับเปนเงินเดือนขาราชการตองไมเพิ่ม ถาลดลงโอเค นี่คือ 2 เงื่อนไขที่ทำใหเรายากลำบาก อันนี้เปนเหตุผลหนึ่งที่ทำใหคณะกรรมการเงินเดือนแหงชาติพิจารณา เรื่องเงินเดือนใหมไมออกสักทีหนึ่ง ในประเด็นแรก ผมขออนุญาตเริ่มตนตรงนี้ ผมคิดวาเปนบทบาทที่สำคัญของภาคราชการ และบทบาทของสำนักงาน กพ. คือทำใหตัวขาราชการมีสมรรถนะสูงขึ้น มีความรับผิดชอบสูงขึ้น มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัยกับตนเองในการทำงานใหกับ ระบบราชการ ใหกับประเทศชาติสูงขึ้นดวย เรามองดู 4 เสาหลักที่สำคัญในการพัฒนาประเทศชาติของเรา เสาหลักแรกคือภาคประชาชน ถาเรามองดูในภาพรวมจะเห็นวาในชวง 4-5 ปที่ผานมานี้ ภาคประชาชนเริ่มมีบทบาท สำคัญมากขึ้น อาจจะเปนเพราะรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมมากขึ้น มีการตรวจสอบ มีการกำกับดูแลการทำงานของภาครัฐ ภาคเอกชนมากขึ้น ก็แลวแต แตสิ่งที่ยังเปนปญหาของภาคประชาชนคือยังไมเปน civil society หมายความวา ภาคประชาชนยังไมรวมกลุมกันเทาที่ควร เขตไหนหรือกลุมไหนรวมกลุมกันแลวก็ยังขาด public mind ยังไมมีจิตใจที่เปนวาผลประโยชนสวนรวมสำคัญกวาผลประโยชนสวนตัว หลักของ civil society คือ การเมือง ภาคประชาชนที่รวมกลุมกันเพื่อดูแลสังคม ชุมชนที่เห็นประโยชนของสวนรวมดีกวาสวนนอยหรือสวนบุคคล อันนี้ยังไมเกิด แตคิดวานาจะเกิดได ตองใชเวลาอีกสักพักหนึ่ง ผมยกตัวอยาง การเมืองของเรา รางรัฐธรรมนูญมา ถายังไมมีภาคการเมือง ที่เปน civil society ทานไมตองหวง ผมคิดวาคงมีการฉีกรัฐธรรมนูญตอไปเรื่อยๆ ถาขาด public mind นี่คือภาคประชาชน ภาคที่ 2 คือภาคเอกชน ภาคธุรกิจ การพัฒนาประเทศชาติมา 20 กวาป ผมคิดวาหัวหอกที่สำคัญที่ทำใหประเทศชาติ ของเราไลตามกระแส Globalization คือภาคเอกชนแนนอน เขาไปอยางรวดเร็วมากเลย แตสิ่งที่มีปญหามากของภาคเอกชน คือจุดมุงหมายของเขาคือ profit making ตองเปลี่ยนแลว เปนเรื่องของ public accountability ใหมากขึ้น สรุปงายๆ คือ ทานทำธุรกิจกับคนที่ไมมีเงินไมมีทาง และจะทำไดอยางไร ถาผมเปนธุรกิจ ผมจะไปขายใหกับใคร ผมก็ตองทำใหคนๆ นั้นมีเงินซื้อผม นี่คือความรับผิดชอบตอสังคมที่เขาเรียกวา social responsibility อันนี้ที่เขาเรียกวา good corporate governance การมีธรรมาภิบาลในองคกร คือบริหารจัดการอยางไรก็แลวแต ใหมีคุณธรรม จริยธรรม ความถูกตองตามกฎหมาย พูดงายๆ วาธุรกิจเอกชนตองไมมี 2 บัญชี ทำไดอยางไร แตอันนั้นไมสำคัญเทากับวาหนวยงานไหน องคกรไหน เอกชนไหน ถามี public mind สูงมาก ผมคิดวาจะเปนหลักที่สำคัญที่จะชวยค้ำจุนสรางประเทศชาติของเรา ผมขออนุญาตไปเรื่องหลักของการบริหารสมัยใหม เขาบอกวา ไมใชเรื่องการบริหารที่เอาผลเปาหมายเปนหลัก ไมใชเอา objective หรือผลลัพธ ผลสัมฤทธิ์ เปนหลัก เปาหมายของเขาคือทำอยางไรใหหนวยงานของเรามีคุณคากับ สังคมมากขึ้น การสราง organizational values ใหกับสังคม ผมคิดวาเปนปจจัยที่สำคัญ เพราะหนวยงานไหนที่มี organizational values กับ public อยูยืนและยั่งยืนดวย เพราะถือไดวาตัวเองเปนสวนหนึ่งของสังคม ถาสังคมลมสลาย เขาลม ดวย นี่คือการผูกมัดซึ่งกันและกัน แตภาคเอกชนที่ผานมา สังคมลมสลายไมเปนไร บริษัทอยาลมก็แลวกัน นี่คือปญหา
  • 4. 86 ที่จะตองแกไข เสาหลักที่ 3 คือภาคการเมืองระดับชาติกับระดับทองถิ่น มี 2 ประเด็นเทานั้นสำหรับผม อันที่หนึ่ง การเมืองของเรา ไมไดคำนึงถึงผลประโยชนรวมของประเทศชาติ อาจจะเปนเพราะมี classic word ของ Professor ดานรัฐศาสตร เขาบอกวา ”การเมืองคือเรื่องของการแบงผลประโยชนซึ่งกันและกัน” “Who gets what and how” เทานั้นเอง แต Professor ที่พูดคำนี้ ลืมไปวาบนพื้นฐานของ National interest แตรัฐธรรมนูญบานเรา การเมืองบานเรา รัฐธรรมนูญบอกวาผูแทนราษฎร ตองเปน ผูแทนของคนไทยทั้งประเทศ แตไมเคยมีใครพูดถึงเลย ทานเห็นไหมเวลาเขาพูด ผมเปนผูแทนของจังหวัดนั้นๆ และคิดอะไร สารพัดอยางก็เพื่อผลประโยชนของจังหวัดของตัว ของพื้นที่ เทานั้นเอง แตการเมืองของชาติเราจะประสบผลสำเร็จไดตองมี ผูแทนราษฎรของประเทศไทย ประเด็นที่ 2 เขาเห็นผลประโยชนของสวนตน ของกลุมของเขา ของพื้นที่ของเขา ของคนที่เลือกตั้งเขาสำคัญกวา ผลประโยชนรวมของประเทศชาติ ทานลองดู ผมยกตัวอยางงายๆ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกากับนายกรัฐมนตรีอังกฤษ คะแนนเสียงลดลงมากเลย แตเขาคำนึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติ ผมเชื่อเลยใครมาทำแทนเขาก็ทำเชนเดียวกัน ยกตัวอยางที่บอกวาตอตานประธานาธิบดีบุช เพราะสงทหารไปอิรัก ถาเปนผม ผมก็ทำ เพราะดีกวาใหมาตีบานเราโดยที่เรา ไมไดตั้งตัว ถาจะตีกัน เอาทหารไปตีกันดีไหม แตเขาฉลาดกวา ไปตีนอกบาน อยามาตีในบานเรา นี่คือความพยายามของเขาที่ คำนึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติแมวาคะแนนเสียงเขาจะลด เขาก็ยอม เราจะทำไดอยางไร ของเราไมยอม นี่คือการเมือง ของเรา สามตัวที่ผมพยายามบอกทานวา ภาคการเมืองประชาชน ภาคธุรกิจ ภาคการเมืองระดับชาติของเราขาด public mind ภาคราชการคือเสาหลักที่ 4 ตองการทำใหราชการเปนราชการที่มีความเขมแข็ง และเขาพูดวาการที่จะทำใหเขมแข็ง คือคำนึง ถึงผลประโยชนหรือผลสัมฤทธิ์ของงานที่จะใหประชาชนและชุมชนมากขึ้น ไมใชวายึดแตระเบียบ ประเด็นที่ 2 ราชการจะตองมีจิตมุงบริการกับประชาชนมากขึ้น และปรับระบบวิธีการทำงานบางอยางเพื่อใหเขมแข็ง เพื่อเปนการวัดตรวจสอบประเมินสารพัดอยาง แตสิ่งหนึ่งที่ขาดไปเหมือนกันคือ ไมเคยมีใครบอกเลยวาขาราชการจะตองมี public mind เหมือนกัน แตบอกตลอดเวลาวาใหมี service mind สิ่งที่ผมบอกทาน คือ ทั้ง 4 เสาขาดตัวเดียว คือ public mind ทำไมผมพูดอยางนี้ เพราะถาลองไปดูกลุมประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุนในภูมิภาคเรา เขานับถือลัทธิ Confucianism หรือขงจื๊อก็แลวแต พวกนี้เขาสอนใหมี public mind สูงมาก public accountability สูงมากเลย เหนือกวาชีวิตตนเองดวยซ้ำไป เราจึงไดเห็น แตในภูมิภาคเรา ไมใชเรื่องของ public mind เลย เปนเรื่องของระบบอุปถัมภ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน เห็นไดชัดเลยวาตรงขามกับเขา ของเขา public mind ของเราไมมี public mind เปน self interest ซึ่งตางกันมากเลย ถาเราจะใชระบอบประชาธิปไตย ตองพยายามปรับใหมี public mind สูงขึ้น อันนี้คือ หลักของเรา ระบบราชการก็เชนเดียวกันตองทำใหเขมแข็ง แตทั้งหมดจะมี public mind ตองมีสวนรวมของภาคประชาชนสูงมากๆ ระบบใหม พรบ. ใหม รัฐธรรมนูญใหมก็แลวแตตองทำใหประชาชนเขามามีสวนรวมใหมากที่สุด ทำใหตรงนี้เขมแข็ง และเปดให ทุกสวนรับการมีสวนรวมของภาคประชาชนใหมากขึ้น แตจะรับไดตอเมื่อภาคประชาชนตองเปน civil society นี่คือหลักของเรา แตทั้งหมดนี้ขยับไปหมดเลย แลวราชการไมขยับหรือ ไมได ตองขยับ ถึงไดมีการปฏิรูประบบราชการ พอปฏิรูปแลว พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนตองปรับตาม ถึงแมวาจะชาหนอยก็ตามตองมีการปรับเกิดขึ้นเพื่อสังคมของเรา เพื่อบริหาร กิจการบานเมืองที่ดี เพื่อความมีเสถียรภาพตอยอดการพัฒนา เพราะที่ผานมา เราออกวิ่งแลวเราลม เรามาตองตั้งตนใหม ทุกทีเลย ไมไปไหนสักที จะทำอยางไรใหตอยอดไปไดเรื่อยๆ ตัวนี้คือสวนที่สำคัญ ประเทศชาติมีความสามารถสูงในการแขงขันในเวทีโลกยุคโลกาภิวัตน ใน 10 กวาปที่ผานมานี้ เราบอกวาตองวิ่งตาม กระแสโลกาภิวัตน แลวเราวิ่งตามทันไหม ไมเคยทัน หางไปเรื่อยๆ ตอนนี้มี 2 กระแสดวยกันที่ตานโลกาภิวัตน ในประเทศ ของเราก็มีเศรษฐกิจพอเพียง แนนอนที่สุด เราจะไปวิ่งแขงกับคนที่วิ่งเร็วกวาเรา ไมมีทาง เราตองวิ่งแขงกับตัวของเราเองวา เรามีความสามารถแคไหนเอาแคนั้น แตไมไดหยุดนิ่ง ยังวิ่งไปเรื่อยๆ ทานคงจะนึกภาพออก ผมเปรียบเทียบใหทานดู นี่คือ หลักเศรษฐกิจพอเพียง แตทุกคนเขาใจวาเศรษฐกิจพอเพียงคือหยุดวิ่งเลย อันนั้นไมใช แตวิ่งตาม speed ของเรา ไมตองไป แขงกับใคร สวนกระแสที่ 2 ไมใชกระแสในประเทศ กระแสตางประเทศที่ไปทั่วโลกเลย ในชวง 5-6 ปที่ผานมา มีการตอตาน
  • 5. 87 เรื่องของ globalization สูงมากๆ เลย และแนวโนมจะสูงมากๆ กระแสตัวนี้เขาเรียกวาชาตินิยม Nationalism เราดูไดจาก FTA ตัวอยางเห็นไดชัด ทุกประเทศที่ดอยกวาจะพยายามตอตานเรื่องนี้ แตผูนำหลายประเทศยังวิ่งตามกระแสโลกาภิวัตนวาจะเปน ประโยชนอยางนั้นอยางนี้ อันนี้ผมคิดวาเปนประเด็นที่สำคัญ เมื่อ 3 ปที่แลว ผมมีหนังสืออยูเลมหนึ่ง เขียนโดยตางชาติ เปนคนที่มีชื่อเสียงมากเลย พูดถึงการลมสลายของยุคโลกาภิวัตน และมันเริ่มมาเรื่อยๆ ทานไปดูอินเดีย นั่นเปนอันหนึ่ง เห็นไดชัดเลยที่ไมเคยยอมใหโลกาภิวัตนเขาไปในประเทศของเขาคือประเทศจีน ทานไปดู 30-40 กวาปที่เขาปฏิรูป ปฏิวัติมานี้ เขาเดินอยางมั่นคงมาโดยตลอด ชาบางเร็วบางไมเปนไร แตเขาไมเคยใหกระแสโลกาภิวัตนทำใหประเทศชาติของเขาหยุดเดิน จนลมแบบบานเราเลย ชวงนี้เราเห็นไดชัดวาเขามีการพัฒนาที่ยั่งยืนและตอยอดโดยตลอด นั่นคือเรื่องที่จะชี้ความสำคัญวาทำไม ตองมีการปฏิรูประบบราชการเมื่อป 2545 แตเสียดายที่ปฏิรูปไมครบ เพราะไปปฏิรูปเฉพาะโครงสราง แตเรื่องอื่นไมได ปฏิรูปเลย ระบบขาราชการก็ไมไดปฏิรูป เพราะปฏิรูปไมทัน ปฏิรูปสารพัดเรื่อง แตเรื่องของคนยังไมไดปฏิรูป หลังจากนั้น เกือบ 5 ปถึงจะมี พรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับใหมออกมา จุดเนนของการปฏิรูประบบราชการ เขาตองการใหระบบราชการเปลี่ยนจากวิธีคิดเดิม วิธีการทำงานแบบเดิม จากหนึ่ง มาสอง มาสาม พอเราจะเริ่มทำอะไร ตองนับ 1, 2, 3 ทุกทีเลย พูดงายๆ ตอไปนี้เปลี่ยนเปน 3, 2, 1 ไดไหม 3, 2, 1 คืออะไร อันที่ 3 นั้นคือประชาชน เขาตองการอะไร ในชุมชนเขาตองการอะไร เพราะในแตละชุมชนมีความตองการไมเหมือนกัน เราจะใชวิธีการเดียวกัน เปาหมายแบบเดียวกันทั่วประเทศเหมือนกันหมดคงไมใช ตองดูวาชุมชนสังคมตรงนั้นตรงนี้ ตองการอะไร แลวเรามาดูอันที่ 2 เราควรจะทำผลงานอะไรใหเกิดขึ้นตอบสนองความตองการของชุมชนสังคมนั้น แลวมาดู อันที่ 1 วา กระบวนการทำ วิธีการทั้งหลายควรจะทำอะไร อยางไร อันนี้ผมคิดวาเปนสิ่งที่ถูกตอง แตที่เปนอยูปจจุบัน เราเนนที่กฎระเบียบวิธีการ ผลผลิตก็ไดออกมา ผลงานไดออกมา ประชาชนไดบางไมไดบาง ยกตัวอยาง ที่หนาทำเนียบ สำนักงาน กพ. อยูหนาทำเนียบ ผมเห็นกลุมชน ที่เดือดรอน เอานมมาเทราดหนาสำนักงาน กพ. ก็มี เอาสับปะรดมาทิ้งทั้งโขยงก็มี ตอนนี้เห็นวาจะเอามังคุดกับเงาะมา เพราะออกเยอะมาก เมื่อวานนี้ผมไปที่จังหวัดตราด กับจันทบุรี ทานรองผูวาราชการจังหวัดทานบอกวา ก็ไมเคยเห็นปนี้เปนอยางไร เพราะมังคุดบางทีออกมาลูกหนึ่งหรือสองลูก ตอชอหนึ่ง แตปนี้ออกเปนชอองุนเลย ปหนึ่งสองหมื่นกวาตัน ราคาเทาไร แตปนี้สี่หมื่นกวาตัน เขาบอกวาปลอยทิ้งไวเฉยๆ ยังไมขาดทุนเทากับเรียกคนมาเก็บ นี่คือปญหา เวลาประชุม ผูแทนชาวสวนมาตอวาทานผูวาฯ ไมชวยอะไรเลย บอกเดี๋ยวผม จะยกมังคุดกับเงาะมาทิ้งหนาศาลากลาง ทานผูวาฯ บอกลองสิ อัดกันแหลกเลย ไมยอม ทำมาโดยตลอดแตธรรมชาติ เอื้ออำนวยมากจากสองหมื่นกวาตันเปนสี่หมื่นกวาตัน ไมมีตลาดไปไหนเลย นี่คือปญหาของเรา แลวบอกวาเวลามาประทวง ผูบริหารของใครก็ไมทราบที่รับผิดชอบเรื่อองนี้บอกวาผมไดทำงานตามระเบียบขั้นตอนทุกประการแลว แตชาวบานประทวงอยู ขางหนา นี่คือเราทำงานแบบ 1, 2, 3 พอเราจะเปลี่ยนเปน 3, 2, 1 การมีสวนรวมของภาคประชาชนตองสูงมากๆ เลย กระบวน ทัศนในการปฏิบัติราชการตองมีการปรับใหม วิธีคิดตองคิดใหมแลว ผูบริหารเองตองมีสมรรถนะใหมและมีวิธีคิดใหม... พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือนพยายามเปลี่ยนจาก 1, 2, 3 มาเปน 3,2, 1 ใหได แตไมใชวาเปลี่ยนทันที คงไมงายขนาดนั้น ตองใช เวลาพอสมควร นี่คือประเด็นที่ผมคิดวาเปนจุดเริ่มตน การบริหารงานในระบบราชการของเรากับองคกรที่เปนแบบบูรณาการ เพิ่งผานไปหยกๆ แตยังไมลมสลาย เพราะเริ่ม มาตั้งแตปการปฏิรูประบบราชการ พ.ศ. 2545 แลวใชระบบที่เรียกวา CEO เขามา ขับเคลื่อนการทำงานของจังหวัดของสวน ราชการตางๆ พอเราเปลี่ยนรัฐบาลใหมก็บอกวายกเลิก CEO แตยกเลิกเฉพาะชื่อ แตระบบการทำงานยังมีอยูเหมือนเดิม กระบวนการเปนอยางนี้ นั่นคือประเด็นที่ 2 ที่ผมจะพูด ประเด็นแรกที่พูดไปแลวคือความสำคัญวาทำไมเราตองปฏิรูป ประเด็นที่ 2 คือเมื่อปฏิรูปแลว วิธีการของเขา เปนอยางไร แลว พรบ. ขาราชการพลเรือนจะไปมีสวนตรงนี้ไดอยางไร ผมถามขาราชการหลายคนทั้งในสวนกลาง และสวนภูมิภาค ตั้งแตปฏิรูปเขาบอกใหสวนราชการทั้งหลายทำวิสัยทัศนและพันธกิจ จุฬาฯ หรือมหาวิทยาลัยทั้งหลายคงมี เหมือนกัน และผมถามเพื่อนผมหลายคนวาทำไมตองทำวิสัยทัศนและพันธกิจ สวนใหญจะตอบวาเมื่อปฏิรูปแลวตอง ทำวิสัยทัศนและพันธกิจ คือไมเขาใจวาทำไม การทำวิสัยทัศนและพันธกิจนั้น เราไปดูนิยามของมัน พันธกิจคือภารกิจที่หนวย งานตองทำ และวิสัยทัศนคือภาพในอนาคตที่ทานอยากจะเห็นในระยะเวลาหนึ่งใหบรรลุผลสำเร็จนั้นคืออะไร ตัวนี้ถูกกำหนดขึ้น โดยความคาดหวังของ stakeholder ของผูมีสวนเกี่ยวของ ซึ่งที่ผานมานั้นเรารูทันทีวาหนวยงานของเราไมสามารถตอบ สนองไดดีเทาที่ควรตามที่เราคาดหวังไว อันนี้เปนเรื่องของ organizational performance gap แลวเรากำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน ขึ้นมาเพื่อจะปดตรงนี้ เพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนใหดีขึ้นคือตัวที่ 3 ที่ผมบอก
  • 6. 88 กำหนดวิสัยทัศนและพันธกิจแลวก็นาจะมีตอ คือ กำหนดคานิยม share value ในการทำงานของขาราชการยุคใหม ทั้งหมดเลย ตองเปลี่ยนวิธีคิดใหม พฤติกรรมใหม เปลี่ยนคานิยมในการเปนขาราชการใหม แตยังเปลี่ยนไมทัน พอเขา ทำวิสัยทัศน พันธกิจแลว เขาโดดมาทำยุทธศาสตรกอน พอมีวิสัยทัศนและพันธกิจก็มีประเด็นยุทธศาสตรจะตองทำอะไรบาง และมียุทธศาสตรอะไรบางที่จะขับเคลื่อนไปอยางที่วา อันนี้ยังไมเทาไร มาจัดโครงสราง โครงสรางควรจะจัดตามยุทธศาสตร แตของเราพอปฏิรูป 2545 เอาปฏิรูปกอนเลย ปรับโครงสราง พอปรับโครงสรางเสร็จ หันกลับไปดูวาควรจะทำวิสัยทัศน และพันธกิจอะไรแลวมียุทธศาสตรนี้ออกมา มีหลายที่พอกำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรแลว โครงสรางไมรับกัน อยางนั้นไมเทาไรคานิยมก็ยังไมเปลี่ยนตาม พูดงายๆ วาตอนนี้วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรเอาติดไวขางฝา ถามวามีไหม มี ติดไวขางฝามีเต็มเลย แตวิธีทำงานยังทำเหมือนเดิม ไปตามโครงสราง เสร็จแลวสำนักงาน กพร. มีโครงสราง มีกระบวนการทำงาน กำหนดตัวชี้วัดสารพัดอยาง และติดตาม มีการประเมินผล บังคับใหสวนราชการทั้งหลายทำเยอะแยะมาก กำหนดตัวชี้วัดและขามตัวนี้ไป อันนี้เปนความรับผิดชอบสวนหนึ่งของสำนักงาน กพ. ที่จริงในการปฏิรูปที่จะปรับโครงสรางกับกระบวนการทำงาน ตรงนี้มาคูกันโดยตลอด แตทวารัฐบาลใจเร็วมาก อันนี้งายดี ปรับโครงสราง ซัดตูมเลย 2 ตุลาคม 2545 โครงสรางตองออก จาก 12 กระทรวงเปน 20 กระทรวง งายดี มีปญหาไมเปนไร ขอใหมีโครงสรางออกมากอน แตตรงนี้ผมคิดวารัฐบาลไหนก็ไมกลาฟนตูมลงไป เปลี่ยนจากซีเปนระบบใหมทันควันคงไมมีใคร กลาทำ ถึงไดเวนไวกอน เพราะพวกนี้ไมรองและไมดิ้นดวย แตลองฟนตรงนี้ มโหฬารเลย ทั้งรองทั้งดิ้นและตอสูอุตลุดเลย เผลอๆ ลมสลายทั้งประเทศชาติ เขาเลยตองเวนวางไว ใหคอยๆ กลืนไปเรื่อยๆ การปฏิรูปที่เกิดขึ้น 4-5 ปมาแลว สิ่งที่ตามมาคือระบบและวิธีการบริหารงานบุคคลยุคใหมตองเปลี่ยน ในพรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับใหมก็จะปรับตรงนี้ ใน พรบ. ขาราชการพลเรือนฉบับใหม เขาจะพูดทุกเรื่อง ตั้งแตเรื่องการสรรหา การบรรจุแตงตั้ง การเลื่อนตำแหนง วินัย เงินเดือน การลงโทษทางวินัย การเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณ รวมทั้งการออกจากราชการ อยูในนั้นทั้งหมด ครบกระบวนการของการบริหารงานบุคคล แตผมคิดวาเรื่องนั้นทานคงไมสนใจเทาไร ทานคงอยากจะดูวาสาระที่เปลี่ยนแลวมีผลกับทานทันทีเมื่อมี พรบ. ฉบับใหมออกมา คือ หลักในการออกแบบ จะมีอยู 4 หลักเปนพื้นฐานที่ค้ำจุน 3 เสาหลัก หลักแรก คือหลักของคุณธรรม Merit Principle ยังมีอยู เพื่อปองกันขาราชการไมถูก bias ไมมีการเลือกปฏิบัติ ในหลายๆ เรื่องดวยกัน หลักที่ 2 คือ หลักสมรรถนะ Competency หลักนี้ตองทำความเขาใจกันเยอะมาก ผมยก ตัวอยางงายๆ แลวเดี๋ยวเรา ยอนกลับไปดูวาในขาราชการพลเรือนเราสรางหลักสมรรถนะอยางไร เวลาทานจะไปซื้อรถ คนขายบอกรถคันนี้ เครื่องเปน อยางนั้น อุปกรณเปนอยางนี้ สมรรถนะสูงมาก 100 กวาแรงมา สารพัดอยางเลย ทานจะรูไดอยางไรวาที่เขาพูดนั้นจริงหรือเปลา นั่นคือคุณสมบัติของรถคันนั้น แตทานจะรูสมรรถนะจริง ทานตองลองขับดูแลวจะรูวาจริงอยางที่วาไหม มีสมรรถนะแคไหน อยางไร หลักเชนเดียวกัน ที่ผานมาเราทำเหมือนรถยนต คนๆ หนึ่งจะรับราชการตองดูวามีคุณสมบัติอะไรมาบาง จบอะไรมาบาง ทำงานที่ไหนมาบาง มีความรูอะไรมาบางก็ทดสอบตรงนั้น แตยังไมไดปฏิบัติราชการ เรายังไมรูเขาคิดอะไร อยางไร เขามีสมรรถนะแคไหน จนกวาไดลงมือทดลองปฏิบัติราชการ 6 เดือน แตผมยังไมเห็นผูบังคับบัญชาคนไหนใชเวลา 6 เดือนตรวจสอบวาเขามีสมรรถนะจริงหรือไม เพราะเทาที่ผมเช็คดู เลขาธิการ กพ. เช็คดู ขาราชการใหมที่บรรจุเขารับราชการ ใหทดลอง 6 เดือน ยังไมมีที่ไหนบอกวาไมผาน 6 เดือน ผานหมด แสดงวาไมไดตรวจสอบเรื่องสมรรถนะเลย เราทำอยางไร ระบบใหมตองกำหนดใหชัดลงไปเลยวาจะรับขาราชการเขาทำงานไดตองคำนึงถึงสมรรถนะ แลวประเมินสมรรถนะเปนหลัก จะเลื่อนตำแหนง เลื่อนชั้นโยกยายไปไหน เอาสมรรถนะเปนหลัก ไมใชเอาคุณวุฒิหรือคุณสมบัติเฉพาะตัวเปนหลัก เราตอง กำหนดตัวนี้ใหได ตัวนี้ยากมาก เดี๋ยวเลาใหทานฟง พอมีสมรรถนะแลว หลักที่ 3 ตาม เพราะมีคนบอกวามีสมรรถนะสูงมากเลย แต performance ต่ำ เพราะหลายคน คิดวามีสมรรถนะสูงแลว performance ตองสูงตาม โดยเฉพาะตัวเขา competency ของเขาสูงมาก ศักยภาพที่ทำงาน หรือ performance สูงมากเลย แตเวลาเขาอยูที่ทำงาน สมรรถนะสูงจริง แตเมื่อทำงานแลวกลับมี performance ต่ำ เพราะมี ปจจัยอื่นเขามาบังคับอยูเยอะมาก ตัวของเขาเอง competency เขาบังคับตัวของเขาเอง แต performance เขาบังคับตัวเขาเอง ไมได เขาใช competency ของเขาได แต performance อาจจะไมออก ยกตัวอยาง classic เพราะเขาจะบอกหัวหนาไมเอาไหน
  • 7. 89 นี่คือตัวอยาง อันที่ 2 กฎระเบียบไมเอื้ออำนวยเลย บอกใหทำ 3, 2, 1 ผมอยากจะทำ 3, 2, 1 แตเขาบอกวาลองทำสิ ครึ่งหนึ่ง อยูในตาราง เพราะทานอาจจะทำผิดกฎผิดระเบียบ ยังไปกันไมทัน ยังปรับไมทัน แตกำลังเดินทางไปเรื่อยๆ มีการปรับเขาสู ระบบใหมอยางที่วา ตองทำใหคนทำงานมีความคิดริเริ่ม flexible พอสมควร ตอง empower ใหคนทำงานมากขึ้น ถาทำเชนนี้ได ตองทำใหคนทำงานเปน knowledge worker เปนคนที่มีความรู ความสามารถ สามารถคิดเอง แกปญหาเองได ไมใชวาจะทำ อะไรตองถามหัวหนา เรื่องนี้วาอยางไรตองถามหัวหนา เหมือนโจกเขาเลาใหฟง สมภารใหเด็กวัดไปดู ใตถุนวัด แมวออกลูก กี่ตัว เด็กวัดวิ่งลงไปดู วิ่งขึ้นมา 3 ตัวครับ ถามตอมันสีอะไรบางวะ เห็นไหม อยางนี้ไมไหว เพราะขาราชการสวนมาก เปนอยางนี้ตลอด ทำอยางไรลงไปไดขอมูลหมดเลย ถามแลวตอบไดหมดเลยเรื่องนั้นเรื่องนี้ นี่คือ knowledge worker เราจะทำไดอยางไร เรื่องของหลัก competency performance ตรงนี้แหละที่ตาง เมื่อเปนเชนนี้ การบริหารงานบุคคลตามหลัก merit สมรรถนะ competency และเรื่องอื่นๆ ขอใหเปนความรับผิดชอบ ของหัวหนาของเขา คนในกระทรวงนั้น คนในกรมนั้นก็ปลัดกระทรวง อธิบดีรับผิดชอบไป แตที่ผานมาเปนอยางไร ผมไดพยายามแลวแตสำนักงาน กพ. ไมใหตำแหนงคุณ พูดงายๆ วางานตรงนี้ไปโยนไวที่สำนักงาน กพ. ไปอยูที่สวนกลาง หมดเลย ผมขอตำแหนงใหคุณแลว ผมประเมินแลว คุณนาจะได 2 ขั้นแตเงินไมพอ เพราะกระทรวงการคลังใหมาแคโควตาเทานี้ ทีนี้คุณรับไปเลย ถาลูกนองบน ทานโยนใหใครไมไดแลว โยนเขาหาตัวเองรับผิดชอบ นี่คือการกระจายความรับผิดชอบดาน บริหารงานบุคคล ที่จริงกระจายความรับผิดชอบคือเอางานนี้ที่เคยเปนของคุณอยูสมัยดึกดำบรรพเอามาไวที่สำนักงาน กพ. เอาคืนไป เพราะพวกคุณไดหนาหมดเลย สำนักงาน กพ. ถูกดาลูกเดียวเปนประจำ เดี๋ยวนี้ยังบอกเลยวาผมกำลังประเมินซี 7 ขึ้นเปนซี 8 สงผลงานไปแลว ตองสงไปที่สำนักงาน กพ. แลวผมสงไปตั้งเดือนกวาแลวไปไหน ไปถามเพื่อนผม เขาบอกอาจารย สมโภชนทุกกระทรวงเลยมาอยูที่ผม ทั้งหองเอกสารวิชาการสงมาเพียบเลย อนุมัติไดโอเคเลยแตหาคนอานผลงานยาก ตอไปนี้ คิดวาคุณวาของคุณเองก็แลวกัน นั่นคือผมยกตัวอยางงายๆ ในพรบ.ฉบับใหมตองคิดอยางนี้ หัวใจของเรื่องที่ทานสนใจ โครงสรางเดิมเราเปนสามเหลี่ยมทรงสูง ตั้งแตซี1 ถึงซี 11 ทั้งสามเหลี่ยมนี้มีบัญชีเงินเดือน ฉบับเดียวซึ่งเปนปญหามากๆ เลย จำแนกเปน 11 ระดับและมีบัญชีเงินเดือนเดียวเทานั้นเอง พอเราจะปรับบัญชี ตองยกทั้งโขยง พอยกทั้งโขยง คนที่อนุมัติเห็นเงินก็ใจแปวเลย ถึงวา 10 กวาปนี้ไมเคยอนุมัติใหเลย พูดงายๆ วาใครที่ เอาตัวรอดได เขาก็เอาไปกอนเลย เชน อัยการ เพราะคนเขาไมเทาไร พันกวาคน ขอปรับเงินเดือน เห็นนิดเดียวใหเลย แตพอขาราชการพลเรือนจะทำตามบาง อยากใหเหมือนกัน แตเห็นเงินแลวหงายหลังเลย รอไปกอนดีไหม นี่คือปญหาที่เกิดขึ้น สำนักงาน กพ. รูปญหานี้ก็พยายาม ทรงสูงนี้ยุงยากมากก็รื้อเลย รื้อออกมาเรียงหนากระดาน เปน 4 ดาน ระดับสูง เปนระดับคนนอย ยกมากลุมผูบริหาร ซึ่งมีอยู 2 ระดับ ระดับตนกับระดับสูง บางคนบอกทำไม ไมมีระดับกลาง ไมจำเปน เปนปญหาทางปฏิบัติที่เขาแกไขกันมา ระดับตนเทียบงายๆ คือรองอธิบดี รองผูวาราชการจังหวัด ที่เปนระดับ 9 ปจจุบัน ถาเขาสูระบบใหม รองอธิบดี รองผูวาราชการจังหวัด จะมาลงผูบริหารระดับตนโดยอัตโนมัติเลย เขาสูตรงนี้ไดเลย เพราะรองรับตรงนี้อยู สวนระดับสูงก็อธิบดี ปลัดกระทรวง ผูวาราชการจังหวัด พูดงายๆ วาเอากลุม10 กับ 11 มาไวดวยกัน เปนระดับสูง ถามวาทำไมไมมีระดับกลาง เพราะระดับสูง ถาเอาไปอยูดวยกัน ทานโยกยายกันงาย ที่ผาน มายายยากมากเลย จะเอาปลัดกระทรวงมีอยู 19 คน พออยากจะยาย ไมรูจะเอาไปไวไหน เพราะไปลง 10 ไมได ตัวเลขเปน อยางนี้ แตมีบางหนวยงานทำ เชน กระทรวงการตางประเทศ ปลัดกระทรวงไปเปนเอกอัครราชทูต เปนซี 10 แตเงินเดือนซี 11 ของกรมการปกครอง ผูวาราชการจังหวัดซี 10 มาเปนรองอธิบดีซี 9 แตเงินเดือนก็ซี 10 เหมือนเดิม เพียงแตลดซี เมื่อทำเชนนี้ คลองตัวขึ้น เรานาจะเอาคละกันเสียเลยเพื่อสับเปลี่ยนโยกยายหมุนเวียนกันงายขึ้น เพราะระบบราชการบอกวาผูบริหารระดับสูง ตองสับเปลี่ยนโยกยายทุก 4 ป ปลัดกระทรวงมีอยู 10 กวาคน ทานลองนึกซิวาจะยายไปไหน นี่คือปญหาที่ขัดของกันอยู ของกระทรวงสาธารณสุขก็มีซี 11 หลายคน แตมีซี 11 ที่อยูระดับสูงคนเดียวคือทานปลัดกระทรวง แลวซี 11 คนอื่นไปอยูแถวนี้ เดี๋ยวอธิบายใหทานฟง ที่ต่ำมาจากรองอธิบดี รองผูวาราชการจังหวัด เปนระดับ 9 เหมือนกัน แตไมใชนักบริหาร เปนผูอำนวยการ ผูอำนวย การสำนัก ผูอำนวยการกอง ที่ตำแหนงเรียกผูอำนวยการ ผอ.ทั้งหลายลงมากลุมอำนวยการทั้งหมด แบงออกเปน 2 ระดับ กลุมอำนวยการที่เทียบเทาระดับ 8 ปจจุบัน ก็มีผูอำนวยการกองบางกอง บางสวนราชการเปนผูอำนวยการกองเทียบเทาระดับ 8 อยู มาลงตรงนี้ หรือผูอำนวยการกลุมงานที่เปนระดับ 8 ก็มาลงตรงนี้ ผูอำนวยการกลุมงานอยูในระดับตน สวนระดับสูงจะเปน ผูอำนวยการสำนักที่เปนระดับ 9 ที่เปนหัวหนากลุม ถาเปนหัวหนากลุมระดับ 9 ทานก็ไปอยูในกลุมผูอำนวยการระดับสูง
  • 8. 90 พูดงายๆ วาถาเอาซีปจจุบันมาเทียบ ตรงนี้จะเปนระดับ 8 ตรงนี้จะเปนระดับ 9 แตไมใชระดับ 9 ที่เปนผูบริหาร แตเปนผู อำนวยการ ยังมีอีก 2 สวน คือ โครงสรางมหึมาเลย มาลงตรงนี้หมด สวนที่ใหญมากที่สุดคือกลุมวิชาการ หรือ knowledge worker กลุมสีเหลืองจะเปนกลุมที่ตองการคุณสมบัติของคนที่ตองจบปริญญาตรี เพราะตัวตำแหนงบอกวาตำแหนงนี้ตองการคนที่เขา มาทำงานที่จบปริญญาตรีขึ้นไป มาลงตรงนี้ และคนที่ไมจบปริญญาตรีและเขารับราชการก็มาลงตรงสีมวง คือกลุมทั่วไป ทีนี้เสนแบงตรงนี้ ตำแหนงไมตองการคนจบปริญญาตรี แตสีเหลืองกลุมวิชาการตำแหนงตองการคนจบปริญญาตรี ขึ้นไป พอผมบอกตำแหนง ก็มีคนถามวาตอนนี้ผมอยูกลุมทั่วไปแตผมจบปริญญาโท ถาเขาสูระบบใหม ผมจะมาลง ตรงนี้ไหม ไมใช ทานอยูตำแหนงไหนลงตำแหนงนั้น แลวผมจบปริญญาโทมาลงตำแหนงนี้ ผมก็ถามวาตอนที่คุณมาสอบแขง คุณเอาวุฒิไหนมาสอบแขง วุฒิต่ำกวาปริญญาตรี พูดงายๆ วาคุณมีคุณวุฒิสูงแตเอาคุณวุฒิที่ต่ำกวามาแขงกับเขา แลวคุณไปลง ตรงนี้ พอคุณมาลงตรงนี้ คุณจะเอาวุฒิใหญมาทำใหทานเลื่อนขยับไมได นี่คือปญหาของเรา พอเปนเชนนี้ ระบบเกาเราใชเรื่องคุณวุฒิเปนตัวหลัก เราจะยายสายงานไดตองจบปริญญาตรี ตอไปนี้ที่ผานมา คนที่ไมเคยจบปริญญาตรี พอทำงานราชการอยูฝายนี้ก็เรียกหาปริญญาตรีเปนแถว พอไดปริญญาตรีแจงหนวยงานขอยาย ทานลองนึกดูวาที่ไหนที่เขาจะรับไดหมด ทานจะไปเบียดเขาไดอยางไร ไปไลจี้เขาไดอยางไร ที่นั่งเขาจองกันอยูแลว ทานจบปริญญาตรีจริงมีโอกาสที่จะยาย แตที่ผานมา โอกาสจะยายก็คือสนิทกับผูบริหาร มีสัมพันธที่ดีสารพัดอยาง ทีนี้เปลี่ยน มายึดหลักสมรรถนะมากขึ้น เมื่อจบปริญญาตรี แลวตำแหนงรับราชการตองการคนจบปริญญาตรี สาขาอะไรก็แลวแตขึ้นอยูกับสายงาน เขามาอยู เปนผูปฏิบัติการ ระดับตน หรือเปนเจาหนาที่ระดับตนเลย ถาปจจุบันเทียบเทากับระดับ 3 พอทานอยูไปๆ อายุราชการสูงขึ้น มีประสบการณสูงขึ้น เขาจะ test ทาน มีโอกาสจะเลื่อนระดับสูงขึ้นมาเปนผูชำนาญการ เขาจะประเมินสมรรถนะ เพราะใน แตละระดับ เขาจะเขียนวาแตละระดับตองการสมรรถนะอะไร มีเงื่อนไขอะไร เขาจะประเมินทานตามเงื่อนไขและหลักตรงนั้น ขึ้นสูตรงนี้ ถาเทียบกับปจจุบัน เริ่มจากระดับ 3 ไตขึ้นไปถึงตรงนี้เทียบไดถึงระดับ 11 จะชี้ใหเห็นวาถาเปนแบบเดิม เขามาเปน ระดับ 3 อยากเปนซี 11 ทานตองกระโดดไปกระโดดมา แตถาทานอยากเปนซี 11 โดยไมตองกระโดด ก็ไตขึ้นไป ดวยสมรรถนะ ของทานจะเปนตัวกำกับ ทานแขงกับตัวทานเอง ไมตองไปแขงกับใครเลย แตถาทุกคนเกงหมด ขึ้นไปอยูหมด รัฐบาลก็เจง จายเงินเดือนมหาศาล จึงตองมีกรอบอัตรากำลัง มีหลายคนบอกวา เขาสูระบบใหมนี้ ผมสนิทกับทานอธิบดีและมอบงานดานบริหารงานบุคคลใหอธิบดี สบายแลวผมไดขยับแน เพราะผมสนิทกับ ทานอธิบดี ทานอธิบดีคงหงายหลังเหมือนกัน เพราะทานจะสงใครขึ้นไปขางบน ทานตองดูวามีเงินจายเขาหรือเปลา ทานจะเพิ่ม ขึ้นไป เขาบอกเพิ่มได แตจำนวนคนตองไมเพิ่ม เงินก็ตองไมเพิ่ม ตองลดใหได นี่คือเงื่อนไขที่บังคับไว พอขยับขึ้นไป เปนผูชำนาญการ ผูชำนาญการพิเศษ ผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ กลุมทั่วไปที่ไมไดจบปริญญาตรี และตำแหนงไมตองการคนจบปริญญาตรี เมื่อเขามาก็เปนผูปฏิบัติงานเหมือนกัน มีความชำนาญมากขึ้นก็ขยับขึ้นไปเปนผูชำนาญการ ปรับขึ้นไประดับอาวุโส และมีทักษะพิเศษ ถาเทียบกับระบบซีในปจจุบัน ตรงนี้เขามาตั้งแตระดับ 1 เลยก็สามารถขยับขึ้นไดถึงระดับ 9 ซึ่งปจจุบันติดแคระดับ 6 เทานั้นเอง ทีนี้เราขยับถึงระดับ 9 ถาเขา ยังมีวุฒิต่ำกวาปริญญาตรี แตมีสมรรถนะสูงก็ขยับขึ้นไปไดถึงเทียบเทาทักษะพิเศษตรงนี้เลย มีความรู มีความสามารถ เปนกรณีพิเศษสามารถขยับขึ้นไดถึงตรงนี้ และถามวายายกันไดไหม ยายได ประเภทผูบริหาร ระดับตน ระดับสูง เงินเดือนตรงนี้กำหนดไวสำหรับระดับสูง ระดับตน แยกเฉพาะของมันเลย เปนบลอคๆ ระดับทั่วไป ระดับอำนวยการ ระดับวิชาการ ระดับผูบริหาร 4 บลอคอยางที่วาเมื่อกี้นี้ ทานยายได เวลาทานเขามา ทานไมไดจบปริญญาตรี อยูไปเขาสนับสนุนใหทานเรียนหนังสือ ทานจบปริญญาตรี ทานบอกวาผมอยากจะยาย ทานสามารถ ยายมาอยูวิชาการได อาจจะเริ่มตรงไหนไมวาอะไร พอทานอยูตรงนี้แลว ทานมีความรู ความสามารถ มีโอกาสที่จะมา เปนผูอำนวยการไดไมยาก สามารถยายไดถามีความสามารถถึงอยางที่วา ยายขยับขึ้นขางบน การยายขึ้นอยูกับคุณวุฒิการศึกษาที่เขามาเกี่ยวของ minimum ตองจบปริญญาตรี อันที่ 2 อายุราชการตองเปน ตัวกำหนด มีเพื่อนผม ตอนนี้ออกจากราชการไปแลว ลาออก ทนไมไหวเพราะกำลังถูกเช็คบิล เพราะตอนปฏิรูป ลูกนองคนหนึ่ง เปนซี 4 ไมถึงปเปนซี 5 ใหรักษางานซี 6 พอปที่ 2 เปนซี 6 ใหรักษางานซี 7 พอปที่ 3 เปนซี 7 เขาถึงตองกำหนดอายุงานไว
  • 9. 91 แตเขาเลี่ยงบาลี อายุงานนับจากรักษาการ ที่จริงทำไมได อันนี้ชี้ใหเห็นวาทำไมถึงตองมีการกำหนดไว อยางอธิบดี รองอธิบดี คนที่จะเปนอธิบดีไดตองเปนรองอธิบดีอยางนอย 1 ป ไมใชวามา 6 เดือนแลวขึ้นเปนอธิบดี ทีนี้ฝายวิชาการ เขาบอกวาอายุงานถึงเพราะจบปริญญาตรีอยูแลว มีบรรลุผลสัมฤทธิ์ของการทำงานตาม kpi 3 ปติดตอกัน อันนี้เปนตัวกำกับไว แสดงใหเห็นวาในยุคใหม ใน พรบ. ฉบับใหม ทุกคนที่อยูตรงนี้จะมี kpi เฉพาะตัวบุคคล เพราะที่ผานมาจะมี kpi เฉพาะผูบริหารเทานั้น เปน performance agreement แตเมื่อผูบริหารรับมาแลว ตองถายทอด kpi ของผูบริหารลงไปถึงผูปฏิบัติงานแตละคนเปน kpi เฉพาะตัวบุคคลแลวประเมินตรงนั้น จะประเมินทั้งสมรรถนะกับ performance ซึ่ง performance ตัวนี้จะเปน kpi ที่กำหนดวาแตละคนในแตละปตั้งใจและตกลงกันวาจะทำเรื่องอะไร งานสัมฤทธิ์แคไหน มี kpi เฉพาะตลอด จะไปรับลูกซึ่งกันและกัน การเลื่อนระดับ จากระดับหนึ่งมาอีกระดับหนึ่ง เกณฑการเลื่อนระดับมีเกณฑกวางๆ แตเมื่อมอบไปใหสวนราชการแลว ทานอาจจะมีอะไรเพิ่มได แตทานจะตัดทอนไมได พูดงายๆวาเปนเกณฑกลางตั้งเอาไว แตมีเกณฑอื่นทานจะเสริมเขามา ทานทำได ระดับหนาที่ความรับผิดชอบหลักของผูปฏิบัติงานถึงเกณฑที่กำหนดไวสำหรับในตำแหนงเปาหมายที่สูงขึ้น พอไปถึง อธิบดีดูแล ทานบอกผมไมเอาเกณฑนี้ไดไหม เพราะดูแลวลูกนองไมถึงเกณฑ ตัดเกณฑนี้ออกไดไหม ไมได ทานตองคงเอาไว นี่คือเกณฑที่ตั้งเปนกลาง ระดับความรูที่จำเปนของงานในตำแหนงเปาหมาย จะขยับขึ้นมา ทานตองมีความรูเหมาะสมที่จะขึ้นไป ระดับทักษะที่จำเปนของตำแหนง นี่คือทักษะที่จำเปนของตำแหนงนั้นๆ ทานอาจจะมีทักษะอื่นก็ได แตนี่คือทักษะ กลางที่ตั้งไว 1) ทานขึ้นไปแลว ทานตองใชคอมพิวเตอรเปน อันนี้ที่บังคับผมใหรีบใชคอมพิวเตอรดวย ผมบอกไดเลยวาผมเริ่มใช เปนเมื่อประมาณ 7-8 ปมาแลว และคนที่สอนผมตอนนี้ไมคอยคุยกับผมเทาไรคือลูกผม เพราะสอนไมจำ สอนบางเรื่องเราไมได ใชก็ลืมแลว เราตองรีบใช คนรุนใหมตองใชคอมพิวเตอรเปน ใน พรบ. ฉบับใหมกับระบบใหมทั้งหลายใชคอมพิวเตอรไมเปน เขาไมใหขึ้น พยายามสนับสนุนใหใชคอมพิวเตอร 2) ตองใชภาษาอังกฤษเปน ขาราชการในภูมิภาคบนกันเปนแถว ผมบอกไมยาก ถาใครสง E-mail มาถึง พออานออก วาถึงใคร ก็พอใชไดแลว ไมใชอานไมออกสักตัว พูดงายๆ วาสามารถทำงานไดในระดับนั้น 3) การคำนวณ ตองคิดเลขเปนบาง เพราะตองเกี่ยวกับการใชจายเงิน 4) การจัดเก็บ การบริหารขอมูล การทำงานของตนเอง ก็ตองมี นั่นคือมาตรฐานกลาง แตที่ผมเห็นหลายสวนราชการพยายามเอาไปใชและเพิ่มทักษะอีกหลายอัน เปนความจำเปน ของแตละกลุมงาน ของแตละสายงาน หรือของแตละสวนราชการ ตัวที่เปนปญหาหลักๆ คือระดับสมรรถนะที่จำเปนของแตละตำแหนงเปาหมาย เขาจะกำหนดไววาตรงนี้สมรรถนะ ควรจะเปนอยางไร ตรงนี้จะเปนอยางไร ทั้ง 4 กลุมเขาจะกำหนดไวหมด ตัวอยางที่สำนักงาน กพ. ทำมาแลวประมาณ 3 ป เพราะเราตองการทดลองใหแนใจวาใชได เราก็ใชกับพวกเรากอนที่สำนักงาน กพ. อยางของผมในฐานะที่เปนผูทรงคุณวุฒิ เปนที่ปรึกษาระบบราชการ ประสบการณในงานที่เกี่ยวของกับเปาหมาย ผมยกตัวอยางใหทานดู ทานจะเห็นภาพชัดเจนขึ้นวาระบบเกาที่เปนอยูสวมเขาระบบใหมไมยากเลยและอธิบายไดดวย ตอนที่ผมเขามา ผมจบปริญญาเอก ผมอยูอเมริกามา 10 กวาป ผมมารับราชการตอนอายุ 29 เปนหนวยงานใหมของสำนักงาน กพ. เพิ่งตั้งพอดีเลย เรียกวาสถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน ทานเลขาธิการ กพ. ตอนนั้น คือพันเอกจินดา ณ สงขลา ทานบอกวา คุณสมโภชนจบปริญญาเอกเพิ่งกลับมา เพราะไปเปนนักเรียนในความดูแลของ กพ. แตไมไดทุนของ กพ. เขาบอก ใหมารายงานตัว พอรายงานตัว เจาหนาที่จับตัวไวเลย บอกวาคุณจบปริญญาเอกมา คุณไมไดรับทุนหลวง แตเขามีตำแหนง รับพอดีเลย สนใจไหม ผมก็ไมรูสมัครสอบเขาไป เขามาเปนซี 4 สมัยนั้นจบปริญญาเอกเปนซี 4 เขาบังคับใหเปน 2 ปถึงขยับ เปนซี 5 ตอนนั้นทานอาจารยนรนิติ ทานเปนคณบดีที่คณะรัฐศาสตร ธรรมศาสตร ทานบอก สมโภชน ไปทำทำไมที่ กพ. เปนซี 4 ปริญญาเอก มาสอนหนังสือที่คณะรัฐศาสตร ผมใหคุณซี 5 เลย กพ. ควาหมับ มัดไวเลย ตั้งแตนั้นมาไมไดไปไหนเลย อยูมาโดยตลอด เปนซี 4 ไลขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งเปนผูชำนาญการ เปนผูชำนาญการพิเศษ จนกระทั่งเปนซี 8 วิชาการ เขาบอกวาใหคนอื่นมาลงบางดีไหม เผื่อวาตอไปขางหนาจะใชประโยชนอะไรผมไดอีก ก็ยายผม ขยับมาอยูประเภทอำนวยการ ระดับตน เปนผูอำนวยการกลุมงาน ที่จริงเปนผูอำนวยการกอง สงไปอยูเมืองนอกเลย ไปเปนผูดูแลนักเรียนที่ประเทศอังกฤษ