SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
72
ก็มีปญหามากในแงของมหกรรมการสอบ เราก็ยอมใหสอบไดถึง 2 ครั้ง เขาบอกเครียด สอบครั้งเดียวก็เครียด สอบตุลาคม
ก็บอกวายังเรียนไมจบ ปที่แลวเปนปแรกที่สอบกุมภาพันธก็ไมทัน เพราะวาไมมีใครยอมขยับเวลา โรงเรียนเปดพฤษภาคม
มหาวิทยาลัยเปดมิถุนายน มีเชื่อมแคนี้ ที่จะทำอะไรเพื่อคัดเลือกเด็ก มันก็เลยตองติดที่เงื่อนเวลาดวย ทีนี้ทำไมจึงตองเปน
admission เหตุผลก็คือหนึ่งเราอยากเชื่อมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงตองเอา GPA ของทุกวิชา มี 8 กลุมวิชา เอาวิชาทั้งหลาย
มาดู แลวก็คิด 6 เทอม เราเรียก GPAX อันที่สองคือ GPA ที่เปนกลุมสาระก็คือกลุมวิชานั่นเอง ซึ่งมี 8 กลุมเหมือนกัน เราก็คิด
6 เทอม แตคิดเปนกลุม เชน ภาษาไทย 8 เทอม ภาษาอังกฤษ 8 เทอม เปนตน เราเรียกวา GPA กลุมสาระ เราเชื่อวาตรงนี้
เปนตัวสะทอนผลการเรียนของนักเรียนใน 6 เทอมที่ผานมา คือ ม.4 ม.5 ม.6 และหวังวาเด็กจะตั้งใจเรียน และก็เจอปญหา
secret first อันนี้ ก็เปนปญหาอีกอันหนึ่ง ที่เมื่อทำอะไรอยางหนึ่งก็จะกระทบอีกอยางหนึ่ง นั่นตัวที่หนึ่งที่ตองการจะเชื่อม
ตัวที่สอง เจตนาก็คือ indicator ที่ดีที่สุดก็คือ ผลการเรียนในอดีต อันนี้เปนงานวิจัยทั่วโลกที่ชัดเจน ถาตัว indicator
นั้นเชื่อได ตรงนี้เองที่บอกวาทำไมเราถึงเอาตัว GPA GPAX มาใช จะไดเชื่อมกับหลักสูตรเขาดวย อันที่สองก็คือเรื่องของการ
ลดจำนวนวิชาสอบลง ตอน entrance ประมาณ 20-30 วิชา เด็กๆ สอบทุกอยางที่ขวางหนา เพราะเขาไมมั่นใจวาเขาจะเขา
สาขาวิชาไหน เราก็นึกวาถาเด็กชัดเจน จะลดวิชาสอบลงไดหรือไม อันนั้นคือตัวที่ตั้งเปาไว ดูมันจะเหมือนกับไมจริง เพราะ
วิชาเฉพาะที่สอบตุลาคม 17 วิชาดวยกัน เด็กก็ยังตองสอบ 17 วิชาอยู และจะตองมาสอบ O-NET กับเราอีก 5 วิชา A-NET
อีก 5 วิชา รวมกันแลวก็ 27 วิชา ยังเยอะอีกเหมือนเดิม
ตัวที่สาม ที่ไมใชเปนเปาหมาย ก็คือการกวดวิชา เราไมคิดวาการเขามหาวิทยาลัยจะทำใหลดการกวดวิชาลง ดิฉัน
คิดวาเขากวดวิชากันตั้งแต ป.1 แลวจะบอกวาการเขามหาวิทยาลัยทำใหเพิ่มการกวดวิชาเยอะขึ้น ซึ่งไมจริงเลย ก็เปนเพราะการ
เรียนการสอนในโรงเรียนยังไมดีพอ ดิฉันจึงไดทำการสำรวจวา ทำไมตองกวดวิชาก็ไดคำตอบมา 3 ขอ คือ 1. พอแมใหกวดวิชา
2.ตามเพื่อนไปกวดวิชากัน 3. ........(เสียงหาย ประมาณ 10 วินาที)............................ คิดวาหากสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ไมแกไขเรื่องการสอน ก็จะโทษเราไมไดเพราะเราไมไดมีเจตนาจะใหกวดวิชา ซึ่งมีครั้งหนึ่งสมัยรัฐบาลคุณทักษิณ ดิฉันเคยบอก
ใหออกกฎหมายหามกวดวิชา ซึ่งก็โดนตอวามามากมาย เพราะเพียงอยากใหเด็กๆ ไดเรียนในโรงเรียนอยางมีความสุข
เหมือนๆ กัน และไดกลับไปเลนไปทำอะไรตางๆ ที่บานอยางมีความสุข ดังนั้น admission ในความหมายก็คือ เหมือน
admission คนเขาโรงพยาบาล ก็คือ คุณตองมีอะไรติดตัวมา เราถึงจะดูวาคุณควรจะไปไหนตอ เราหวังวาโรงเรียนจะชวย
แนะแนวเด็กใหไปในทิศทางที่ถูกตอง แตปรากฏวาแนะแนวก็กลายเปนไมรูเรื่องขึ้นมา ไมรูวา admission จะตองทำอะไรอยางไร
กลายเปนวาเด็กรูมากกวาคนแนะแนว ตรงนี้คือปญหาของครูแนะแนว เราหวังวาการแนะแนวจะชวยได หากแนะแนว
มาในทิศทางไหนบวกกับสิ่งที่ติดตัวเด็กมา เราก็จะชวย ตรงนี้คือกันชน เพราะฉะนั้นในป 2549 ซึ่งมี admission ที่ไม
สมบูรณแบบ ก็ตั้งเปาวาเปนปเริ่มตน คลายๆ entrance ใน ทปอ. นั้น ในชวงที่ตัดสินใจก็ตัดสินใจครั้งเดียว 3 ป เลย คือ
ป 2549-2551 ซึ่งใน 3 ปนั้น ก็จะใชองคประกอบ 3 – 4 องคประกอบ องคประกอบที่หนึ่งในการพิจารณาก็คือ GPAX เปน
10 % ตลอด GPAX ก็มาจากเกรดเฉลี่ยสะสม 6 เทอมของ ม.4-ม.6 อันที่สองคือ GPA กลุมสาระใหเลือก 3-5 กลุม จาก 8 กลุม
ทำนองเดียวกันก็คิดจาก 6 เทอม และใหสาขาวิชาบอก ตอนที่ออกแบบกันนั้น ดิฉันก็มีความหวัง ตัวอยางเชน ถาทางวิศวะ
จาก 5 กลุม ก็นาจะหยิบสาขาศิลปะ สังคม พละ สุขศึกษา คือตัวที่ complement กับเขา ไมใชตัวที่ตรงกับเขา ดิฉันหวังตรงนั้น
แตทุกคณะ ทุกสาขาในมหาวิทยาลัย กลับไปเลือกสิ่งที่ตรงกับตัวเอง วิศวะก็เลือกคณิต ภาษาก็เลือกภาษา เปนตน เราหวังวา
พวกที่จะเขาภาษานาจะไปเลือกอยางอื่น แตไมจริง เราก็ไมประสบผลสำเร็จในความหวังวา คุณนาจะไดดูอื่นๆ ของเด็ก
แลวคุณคอยมาใช A-NET ตอไปยังสิ่งที่คุณตองการ ดังนั้น A-NET คุณอยากจะสอบใหลึกล้ำอยางไรก็ระบุ
มา ในองคประกอบที่ 4 คือ คุณจะสอบ A-NET ก็ได คุณจะวิชาเฉพาะก็ได คุณจะสอบวิชาภาคปฏิบัติก็ได ทั้งนี้ไมเกิน 3 วิชา
สรุปองคประกอบ 4 องคประกอบ ก็คือ 1. GPAX 10 % ตลอด 2. GPA กลุมสาระ เมื่อป 2549 นั้น คิด 20 % และ
คิดวาจะเพิ่มในป 2550 แตกลับมีปญหาเรื่อง O-NET ก็เลยคงไวเหมือนป 2549 คือ 20 % สวนอีก 30 % มาจากโรงเรียน
สวน O-NET ให 0-35 % ในนั้น ซึ่งมี 5 วิชา แลวที่เหลือก็จะเปน A-NET หรือวิชาเฉพาะหรือวิชาภาคปฏิบัติ เบ็ดเสร็จรวม
100 % จริงๆ แลวดิฉันไมไดเสนอแบบนี้ แตไดเสนอเปนแบบขั้นบันได ซึ่งเปนเงื่อนไข เชน GPA เปนเงื่อนไขดีมั๊ย แลว
คุณคอยพิจารณาเฉพาะคะแนนสอบ เพราะในวันนี้ GPAXกับ GPA มันเปนหนวยเดียวกัน อันที่สอง O-NET คือคะแนน
สอบ สวน A-NET เปนวิชาเฉพาะตางๆ อีกพวกหนึ่ง ดังนั้น ถาคุณนำคะแนนจากทั้ง 3 พวก มารวมกัน แปลงเปนเปอรเซ็นต
และมาบวกรวมกัน มันก็จะเปน intermediate มันไมลึกล้ำ มันนาจะมีอะไรที่ดีกวานั้น แตทุกวันนี้ใชวิธีแปลงเปนเปอรเซ็นต
73
แลวนำมาบวกเลขรวมกัน ใหได 100 เปอรเซ็นต และการเขามหาวิทยาลัยก็แบงเปน 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 คือ การสอบตางๆ
ใหเสร็จภายในตนมีนาคม หลังจากนั้น พอเด็กรูคะแนน เด็กจะตองสอบเขามหาวิทยาลัย จะมีขั้นตอนการเขามหาวิทยาลัย
ซึ่ง สกอ. ทำให โดยมีใหเลือกอยู 4 ลำดับ ถาเด็กไมเขาก็ไมตองมาสมัคร เหลานี้ก็คือที่มา และเราก็หวังวาภายใน 2-3 ปแรก
เราจะไดเห็นภาพของ admission ที่ชัดเจน และตั้งเปาวาในป 2552 นาจะมี admission ที่สมบูรณแบบ คนก็ถามอยูเสมอวา
มันหมายถึงอะไร หมายถึงการพิจารณาเอา O-NET ไป integrate กับ GPA เราหวังวา GPA กับ GPAX จะไดรับการ
เปรียบเทียบปรับเปนตัวที่ถูกตองมากขึ้น ดวยตัวเปรียบเทียบตัว O-NET ที่เชื่อถือได เราหวังตรงนี้ ดังนั้น เมื่อเด็กยื่น transcript
เราก็สงGPAXกับ GPA ที่ปรับแลวใหกับมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยก็ไปพิจารณาดูวาจะเอา GPA ที่ปรับแลวประมาณ
เทาไหร แลวจะมีการสอบเพิ่มเติมก็สอบให ถาสอบประเภท aptitude test ซึ่งไมเกี่ยวกับเนื้อหา content free เราก็สอบ
ใหทุกเดือน เพราะฉะนั้นชวงเดือนกุมภาพันธ จึงเปนเดือนที่สอบ O-NET เทานั้น เพื่อเอาไปปรับเทียบกับ GPA ดิฉันไมเห็น
ดวยกับการนำ GPA ดิบๆ มาบวกเขาดวยกัน เพราะเชื่อถือไมได เมื่อปที่แลวลม เพราะวา O-NET เชื่อถือไมได แตหวังวา
ปหนาคือ ป 2550 นาจะดีขึ้น โดยสิ่งที่จะทำของ O-NET คือ 1.สอบขอสอบปรนัยเทานั้น ไมมีอัตนัย 2.ใชวิธีระบาย
แบบนี้ จริงๆ แลว ปญหาเมื่อปที่แลวคือ เรื่องอัตนัย เพราะคนที่เขามาเรียนวัดผลจะไมคอยเขาใจ รัฐมนตรีวาการกระทรวง
ศึกษาธิการคนเกายังบอกเลยวา ก็ผมเปนคนเขาไปตรวจก็ได บอกวาไมใชทาน ถึงเปนศาสตราจารยก็ไมมีความหมาย
เพราะการตรวจขอสอบอัตนัยคุณจะตองฝกฝนคนตรวจ จนกระทั่งเขาตรวจขอสอบ paper เดียวกัน 2 คน ไดคะแนนใกลเคียงกัน
มากที่สุด จำเปนตองฝกฝน ไมใชเพียงคนมีความรูเทานั้นที่จะมาตรวจได คุณตองตรวจไดและตรวจเปน ก็ยกตัวอยางใหทานดูวา
คนที่ออกขอสอบตองบอกไดวา 3 คะแนน นั้น จะเขียนอะไรจึงจะได 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน และ โดยเฉพาะ 0 คะแนน
จะหมายถึงอะไร ไมตอบหรือตอบผิด ความหมายใด ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจก็ทำแบบนี้ เพราะฉะนั้นดิฉันคิดวาเราคงตอง
เตรียมความพรอมในการตรวจขอสอบอัตนัย ถาไมตองการใหเกิดปญหา และศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการ ไดใหขาวกับหนังสือพิมพเดลินิวส วา ป 2550 จะออกขอสอบอัตนัย 10 % ขอนี้ดิฉันขอยืนยันวา
ไมมี ซึ่งก็ไดเคลียรกับทานแลว ทานก็บอกวาไมเปนไร แตปหนาตองมี และการสอบเขาสาขาใดก็ตาม ดิฉันเห็นดวยวาตองมี
ขอสอบคิดวิเคราะห ดังนั้น ขอสอบของเราถึงแมเปนแบบปรนัยก็สามารถคิดวิเคราะหได ดังนั้น การคิดวิเคราะหจึงไมไดติดกับ
รูปแบบ ไมจำเปนวาขอสอบอัตนัยจะคิดวิเคราะหไดเทานั้น อยางไรก็ตาม ในปหนาเปนการสอบปรนัย ดวยดินสอ 2B และไมมี
อัตนัย โดยเรากำหนดสอบ O-NET ในวันที่ 24-25 กุมภาพันธ 2550 สอบ 5 วิชา
ปที่ผานมา ปญหาการสอบมีเยอะมาก เชน เด็กมาสอบสาย ขาดสอบ หรือมาทันแตรีบเรงเดินทางจนไมมีสมาธิสอบ
เปนตน หรือบางคนบอกวา การนำวิชาคณิตศาสตรมาสอบเปนวิชาแรกในวันแรก สำหรับปตอไป เราจึงคิดวาจะลองสลับ
เอาวิชาเบาๆ เชน วิชาสังคมศาสตรมาเปนวิชาแรกแทนวิชาคณิตศาสตร สำหรับปญหาเด็กมาสาย มาไมทัน ขาดสอบ
สาเหตุเกิดจากการยอมใหเด็กไปสอบที่ไหนก็ได จึงทำใหจำนวนตัวเลขผูสอบที่มาไมรูวาขาดสอบมาจากสนามไหนบาง
สำหรับปนี้ ดิฉันคิดวาจะทำ mapping สนามสอบใหม คือ ปกติเด็กไปเรียนบริเวณไหน ก็จะจัดสถานที่สอบบริเวณนั้น เพราะเด็ก
เดินทางมาเรียนได ก็ตองเดินทางมาสอบบริเวณเดียวกันไดสะดวก อะไรก็ไดที่สะดวกกับเด็กที่สุด ทั้งนี้ ประมาณตนกุมภาพันธ
จะประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์สอบ สนามสอบ หองสอบ อาคารสอบ และเลขที่นั่งสอบ โดยเราจะเอื้ออำนวยขอมูล เชน สนามสอบที่
กรุงเทพฯ เราอาจจะบอกสายรถเมลที่จะเดินทางถึงสนามสอบไดเร็ว สวนตางจังหวัดอาจจะบอกไดเพียงสถานที่ตั้งสนามสอบ
เปนตน
สำหรับป 2549-2551 เปนปของ Admission เริ่มตน อยางที่ไดเรียนใหทราบ แลวเราพลาดในป 2549 จึงตองขยับมา
ในป 2550 ดังนั้น ในป 2550 นี้ ถาเดือนกุมภาพันธสอบแลวไมมีปญหา ความจริงแลว สทศ. จะรับทำเฉพาะ O-NET เทานั้น
โดย A-NET จะให สกอ. ทำ เมื่อกอนมีหลายคนถามวา ดิฉันเขามาเปนผูอำนวยการ สทศ. ทำไม ในเมื่อชื่อเสียงมันติดลบ
ตองขอบอกวา ดิฉันเองมีสวนรวมกับศูนยทดสอบทางการศึกษาในหลายๆ แหง และดิฉันเกือบจะไดเปนผูอำนวยการศูนย
ทดสอบจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยคนแรก
หนึ่ง. แหงนี้ ดิฉันก็ไดมีสวนรวมตั้งแตเริ่มมีพระราชกฤษฎีกา ถามันตั้งโดยเจตนาที่ดี เราก็นาจะทำใหมันดี
และวันนี้เมื่อเกิดปญหาขึ้น ดิฉันจึงตองเขาไปชวย ความจริงดิฉันเปนกรรมการคัดเลือกผูอำนวยการ
สทศ. ดวย แตดิฉันไดขอถอนตัวและสมัครเปนผูอำนวยการ สทศ. แทน มีคนเขามาชวยดิฉันมากมาย
74
โดย สกอ. เขายินดีจะรับ O-NET ไปทำ สวนที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ทปอ.)
บอกวายินดีใหความชวยเหลือ สำหรับการสอบ O-NET นั้น ขอใหสอบครั้งเดียวยืนตาม สทศ. โดยหลักการ
สทศ. จะจัดสอบใหนักเรียนชั้น ม. 6 หรือเทียบเทา เพียงครั้งเดียวโดยเปนการสอบผลสัมฤทธิ์ และ
เด็กไมตองเสียคาสอบ คือสอบใหฟรีในครั้งแรก นักเรียน กศน. ก็สอบใหฟรีดวยเชนกัน แตมีเด็กจำนวน
หนึ่งที่อยากจะสอบเพื่อรับความรูใหมก็สามารถเขาสอบได แตมีคาสอบวิชาละ 100 บาท ทีนี้ก็ตองไปผูกกับ
การสอบครั้งที่สองของ ทปอ. วา ทปอ.จะเอาคะแนนใหมหรือไม เขาบอกวาจะขอยืนตาม สทศ. คือใหสอบได
ครั้งเดียว แตหากเด็กตองการสอบ 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 จะไมนำมาเปนคะแนนสอบเขามหาวิทยาลัย ถามวาแลวจะ
สอบครั้งที่ 2 ไปเพื่ออะไร เพราะการเขามหาวิทยาลัยจะคิดจากคะแนนการสอบในครั้งแรกเทานั้น
เมื่อปที่แลว นาเห็นใจเด็กๆ มาก และตอนนี้ดิฉันก็ไดเขียนคำแถลงการณใหศาลปกครอง และ ทปอ.
ประมาณ 7 ครั้งแลว ทปอ. ก็ถูกฟอง
สอง. ในป 2550 จะใชเปอรเซ็นเหมือนป 2549 และคาดวาในป 2551 อาจจะใชเปอรเซ็นของGPAX GPA
มากขึ้น ถาหาก GPA GPAX และ O-NET เชื่อถือได ตรงนี้เราตองใชเวลาพิสูจน ดิฉันคิดวาไมมีวิธีการ
ประชาสัมพันธใดที่ดีเทากับพฤติกรรม ดังนั้น ถาในปหนาทุกอยางไมมีปญหา ขอสอบเชื่อถือได ดิฉันจะให
เขาทำ incrating กับ GPA ที่ผานมา เพื่อดูวาเชื่อถือไดจริงหรือไม ซึ่งอาจจะมีโรงเรียนที่เกินจริงก็อาจจะถูก
ลดลง สวนโรงเรียนที่โหดก็อาจจะถูกขึ้น ดังนั้น เทคนิคทางวัดผลสามารถทำได ภายใตขอมูลที่เชื่อถือได
ในป 2552 เราคิดตุกตาไวหลายแบบ คือตอนนี้สำรวจไวผิดประเภทวาเขามหาวิทยาลัยเขาทำอยางไร มันก็
ตองสรุปลงดวย 1.เด็กตองกรอกใบสมัคร 2. ตองใชผลการเรียนในอดีต 3. มีคะแนนสอบเพิ่มขึ้นในวิชาที่คิดวา
จำเปน สวนของเราก็อิงตรงนี้เหมือนกัน และเด็กก็สงใบสมัครไป
แบบแรก การสอบนั้นตองมีศูนยทดสอบอิสระทำให ซึ่งหมายถึง สทศ. แตตอนนี้ตองมีองคกรที่เปน Admission กลาง
เกิดขึ้นอีกองคกรหนึ่ง ซึ่งสามารถจะเคลียรขอมูลใหทุกมหาวิทยาลัยได โดยแนวโนมจะมีลักษณะเหมือนการรับตรง แตเด็กไม
ตองวิ่งพลานสมัครและสอบ ดังนั้น ตรงกลางก็จะเปนที่รวมการสมัครและกระจายออกไป มหาวิทยาลัยก็จะตองมี Admission
กลางใหกับตัวเอง กระจายไปที่คณะ เพื่อประสานกับสวนกลาง
แบบที่สอง มีการสอบลวงหนาให และสงคะแนนให ตรงนี้เด็กไมจำเปนตองมายื่นคะแนน O-NET เอง เนื่องจากผูตรวจ
ขอสอบเปนชุดเดียวกัน ดังนั้น คะแนน O-NET จึงสงตอไปยัง A-NET ไดเลย ดังนั้น สวนกลางนี้ นอกจากจัดทำใบสมัคร
ถาไมจัดสอบเอง ก็ใหหนวยงานอื่นจัดสอบให และเคลียรเรื่องใหโดยเฉพาะเรื่องที่นั่งวางตางๆ ในการสอบรอบแรก
จะตองเคลียรใหเต็มทุกที่ ที่ใดวางก็ใหเคลียรรอบสอง สาม สี่ เปนตน ตองจัดที่นั่งสอบใหเต็ม ดังนั้น ภายในเดือนพฤษภาคม
ที่นั่งจะตองเต็ม ตอจากนั้น จะสอบสัมภาษณหรือตรวจรางกายก็แลวแตความเหมาะสม อยางนี้ คงจะไมมีมหกรรมการสอบ
O-NET หรือถามีก็ตองเปนการสอบ aptitude test
ขณะนี้ ดิฉันกำลังเคลียรกับทางศิลปะ โดยทางกลุมศิลปะเขาขอใหสอบความคิดสรางสรรคอยางเดียวไดหรือไม
ซึ่งดิฉันคิดวาได และจะสอบใหเดือนตุลาคม และเวลาสอบสัมภาษณก็ใหเด็กนักเรียนนำชิ้นงานมาใหดู แตดิฉันไมเขาใจวา
ทำไมวิชาศิลปะของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงขอออกขอสอบคนละแบบ เพราะเปนคนละทฤษฎีกัน
สวนขอสอบกลางเขาไมเอา เขาจะเอาขอสอบของเขา คณะบัญชีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกับคณะบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก็ยังมีขอสอบตางกัน
ดิฉันคิดวาถาคณะตางๆ รวมกันแบบคณะแพทยไดก็จะดี อยางไรก็ตามเราตองเห็นใจเด็ก ไมวาจะรับตรงหรือรับกลาง
ก็ควรจะทำรวมกันไว เพราะเมื่อปที่แลวเขาบอกวาเด็กตองวิ่งสมัครหลายแหง แมกระทั่งภายในคณะของมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตรยังมีการสมัครตางกัน สอบคนละวันกัน สวนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรนั้น บอกวาของเขาสมัครกลางและสอบในวัน
เดียวกัน ดังนั้นเด็กจะตองเลือกวาจะสอบเขาที่ไหน เปนตน แตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเขาสอบคนละวัน ทำใหเราตองเขาไป
ชวยตรงนี้
สำหรับการประชุมคราวหนา เราจะมีตุกตาป 2552 - 2554 เพราะดิฉันคิดวาเด็ก ม.3 ที่จะขึ้น ม.4 นั้น ควรจะตองรู
ลวงหนา เพื่อจะไดเตรียมตัวลวงหนา ดังนั้น จึงตองประกาศลวงหนาอยางนอย 3 เดือน เพื่อใหเขาเตรียมตัว ทางเราเปนเพียง
75
แคตัวกลางหรือเปนแคสมอง ไมมีพลังเพียงพอ คนตัดสินใจคือเจาของ ทางเรามีหนาที่ทำอยางเดียว บางอยางที่เราเสนอเขาไป
เขาอาจไมเห็นดวย บางครั้งเราจำเปนตองขอใหสื่อตางๆ ชวยกระตุนแทน เราพยายามทำทุกวิถีทาง ดิฉันคิดวา ลักษณะการ
ทำงานแบบนี้คงจะทำไดไมนาน เพราะไมเปนระบบ และสักวันหนึ่งคงจะตองเลิก เพราะไมไดอะไรขึ้นมาจากการทำอยางนี้
ซึ่ง ทปอ. เอง เขาก็ไมคอยเชื่อเรา ถึงแมเราจะเสนอตัวทำให แตเขาก็ไมเชื่อเรา โดยขณะนี้ เขาไปตั้งอธิการบดี 2 คน ทำเรื่อง
admission ในอนาคต และเรื่อง การรับตรง รับกลางจะทำอยางไร สำหรับ สทศ. เราคิดวา หากจะทำอะไร คงจะตองทำอยางมี
หลักการดีที่สุด
สรุปคำถาม-คำตอบ
ผูถาม : ที่ประชุม ปอมท.
ผูตอบ : ผูอำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (สทศ.)
คำถามที่ 1
ปญหาของ ทปอ. จะเหมือนกับ ปอมท. ตรงที่เมื่อมีมติออกมาแลว หากมหาวิทยาลัยใดไมเห็นดวย ก็ไมตอง
ปฏิบัติตามได ทำใหความชัดเจนแนนอนของแตละแหงไมเปนมาตรฐานเดียวกัน แมกระทั่งเรื่องการออกขอสอบ O-NET และ
A-NET ก็ยังไมชัดเจนวาใครจะเปนผูออกขอสอบแนนอน
คำตอบที่ 1
O-NET ทางมหาวิทยาลัยเปนผูออกขอสอบ สวน A-NET ทาง สกอ. จะเปนคนทำ ซึ่งทางดานวิทยาศาสตร
ไดคุยกันแลว มีความเปนหวงเนื่องจากอาจารยผูออกขอสอบวิทยาศาสตร A-NET จะเปนอาจารยใหม ปกติ คำวา A นั้น มาจาก
คำวา analitical หรือ aptitude ไมใช arrant ดังนั้น เมื่อเปน arrant ขึ้นมา จึงหมายถึงเลยหลักสูตร ซึ่งไมใช มันจะตองอยูใน
หลักสูตร แตควรเปนการออกขอสอบที่ลึกล้ำซับซอนมากขึ้นตางหาก สวนเรื่องที่สอง คือ ทางดานวิทยาศาสตร ยังละเมออยูกับ
เคมี ชีววิทยา และฟสิกส ดิฉันก็ถามวาในนี้เขาเรียกวา วิทยาศาสตร และมีสาระที่จะตองเรียนคือวิชาดาราศาสตรและอวกาศ
ถามวาใครออกขอสอบ ปรากฏวา ยังไมมี ดิฉันจึงบอกใหทาง O-NET ออกขอสอบสวนนี้เพิ่มเติมใหครบ แลวจึงคอยนำ
ขึ้นเว็บไซดวาเราออกตามหลักสูตรนี้
ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (เพิ่มเติม)
ประเด็นแรกขอชี้แจงเพิ่มเติมวา เปนเรื่องปกติที่เราอยากจะมีความรวมมือกัน แตในชวงแรกเราอาจยังไมเขาใจกัน
จึงไมไดรวมมือกัน แมแตคณะแพทยศาสตรที่ไดพูดถึงก็ตาม ความจริงแลวในที่ประชุมมหาวิทยาลัยทั้ง 13 แหง ก็ยังมีความไม
เขาใจกัน บางแหงขอแยกตัว หลายแหงรวมตัวกัน แตเมื่อเวลาผานไปเริ่มมีความเขาใจกันก็จะรวมเปนหนึ่งเดียวกันไดในที่สุด
.....................................................................
คำถามที่ 2
เรื่องกองทุนเงินกูยืมที่ผูกกับรายไดในอนาคต (ICL) มีบางมหาวิทยาลัยเปดรับนักศึกษาจำนวนคอนขางมาก อาจเพราะ
เขาใจวาเมื่อรับนักศึกษามาก ก็จะทำใหไดรับเงินจากกองทุน ICL มากดวย ซึ่งอาจทำใหคุณภาพการศึกษาดอยลงไปตาม
อัตราสวน
คำตอบที่ 2
ปญหานี้ ถาวิเคราะหลึกๆ แลว ในฐานะที่ดิฉันไมไดเปนอธิการบดี ก็อาจตั้งประเด็นคำถามขึ้นมาวา
1. เราไดอธิการบดีที่ดีพอหรือไม มาจากการแตงตั้ง หรือมาจากรองอธิการบดี
2. คนที่เปนอธิการบดีมืออาชีพควรจะรูบทบาทของมหาวิทยาลัยวา ควรจะรับนักศึกษาปริมาณเทาไหร จึงจะมีความ
76
เหมาะสม ทั้งนี้ อัตราสวนอาจารยผูสอนกับนักศึกษา หากไมสมดุลกัน จะทำใหคุณภาพการศึกษาดอยลง
วิธีแกไขปญหาหากหลีกเลี่ยงไมไดก็คือ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยในการสอน เชน การใช e-learning
ชวยสอน ซึ่งไดผลเปนที่นาพอใจ เปนตน และตัวดิฉันเองก็ไดรวมจัดทำหลักสูตร e-learning แบบนี้มาแลว 4 หลักสูตรแรก
ในประเทศไทย จนบางคนเรียกเจาแม e-learning ไปแลวก็มี สิ่งนี้จะชวยลดภาระงานสอนของอาจารยไดมาก
.....................................................................
คำถามที่ 3
เรื่องแรกที่อาจารยไดพูดไปแลวนั้น เมื่อเรายอนกลับไปดูระบบ entrance ถามวาทำไมเราใชรวมกันทั้งหมดได
ถึงแมจะมีระบบตรงของแตละมหาวิทยาลัย แตก็ไมไดไปรบกวนกับระบบกลาง คิดวาแนวทางนี้อาจจะนำมาชวยได
ปญหาอีกเรื่องที่อยากใหชวยดูแล คือ โอกาสทางการศึกษา และผลกระทบทางจิตใจที่มีตอเด็ก เราพบวาเมื่อปที่ผานมา
เด็กตองตระเวนสอบหลายแหง บางครั้งตองเดินทางไกล เพื่อไปสอบเขามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ซึ่งเด็กในพื้นที่ตางจังหวัด
ไกลๆ แทบจะไมมีโอกาสเดินทางไปสอบเลย ทำใหเกิดการไดเปรียบเสียเปรียบกัน
ปญหาจากการจัดสอบเมื่อปที่ผานมา ซึ่งผมในฐานะประธานสภาคณาจารยไดเขาไปชวยดูแลเรื่องนี้ดวย คือเจาหนาที่
คุมสอบประทวง ไมยอมปฏิบัติหนาที่ เนื่องจากเขาคิดวามีปญหาที่ไมไดรับความเปนธรรม เชน ปญหากฎระเบียบ ขอหามตางๆ
มีมากเกินไป ปญหาคาตอบแทนเจาหนาที่เมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ปญหาเรื่องเขตการศึกษา ปญหารายชื่อนักเรียน
หายไปหรือสลับไปอยูคนละที่กัน เปนตน
อีกประเด็นปญหา คือเรื่องกำหนดเวลาการสอบ O-NET ที่อาจารยกำหนดไวนั้น บังเอิญตรงกับการสอบไล
ของมหาวิทยาลัย ทำใหอาจารย นักศึกษา และเจาหนาที่เกิดปญหาในเรื่องการจัดเวลาสอบไล มหาวิทยาลัยบางแหงตอง
เลื่อนการสอบของตนเองเพื่อเปดทางใหเด็กสอบสวนกลางกอน เปนตน อยากให ทปอ. นำปญหาตรงนี้มาพิจารณาดวย
เพื่อกำหนดเวลาการสอบไลใหตรงกันในทุกมหาวิทยาลัย จะทำใหไมมีปญหาเปดเรียนเหลื่อมล้ำกันได
สำหรับเรื่องระบบคอมพิวเตอรควรตองสมบูรณพรอมทำงาน เพื่อไมใหเกิดปญหาเหมือนปที่ผานๆ มา
ปญหาความอิสระในการจัดการสอบของศูนยสอบ เนื่องจากอำนาจสวนใหญรวมอยูที่ สทศ. เชน การสงรายชื่อ
ผูคุมสอบประจำศูนยสอบที่ผานมา หนวยจัดสอบจะทราบรายชื่อกอนเพียง 1 ชั่วโมงเทานั้น เปนตน
ปญหาคาตอบแทนเจาหนาที่และผูคุมสอบ ถือเปนเรื่องสำคัญที่อยากใหชวยแกไขดวย
ปญหาสุดทาย คือ ระบบการตรวจสอบรายชื่อของเด็กที่สมัครสอบ เนื่องจากบางพื้นที่หางไกลความเจริญ การตรวจ
สอบรายชื่อผูมีสิทธิ์สอบทางอินเทอรเน็ตเพียงอยางเดียว ไมอาจทำไดสะดวกเทาเด็กในเมืองใหญๆ จึงขอใหชวยคิดหาวิธีแก
ปญหาตรงนี้ดวย เพื่อใหเด็กทราบวาตัวเองมีรายชื่อถูกตองตามที่สมัครไวหรือไม
คำตอบ 3
มหาวิทยาลัยแตละแหงเขามีพระราชบัญญัติรองรับการคัดเลือกคนเขาเรียน ดังนั้น เปนอำนาจของแตละแหงซึ่งจะตอง
มาคุยกัน และไดขอให สกอ. ซึ่งเปรียบเสมือนเลขานุการชวย ทปอ. ทำเรื่องนี้ ทำไปทำมา สกอ. กลายเปนนาย สวน ทปอ.
กลายเปนเลขานุการ สำหรับเรื่อง entrance ดิฉันคิดวาการสอบ O-NET เปนเรื่องที่เด็ก ม. 6 ทุกคนจะตองสอบอยูแลว
เพื่อดูคุณภาพของโรงเรียน จะไดปรับปรุงคุณภาพใหสูงขึ้น ดิฉันคิดวาถาทุกโรงเรียนมีคุณภาพใกลเคียงกัน เด็กก็จะเขาเรียน
โรงเรียนใกลบาน ไมตองเดินทางไปสอบเขาโรงเรียนที่มีชื่อเสียงไกลๆ
กรณีปญหาระบบการตรวจสอบ ชวงนี้เปนชวงสำรวจขอมูล ซึ่งเรามีการประชุมรวมกับศูนยสอบทั้งหมด 38 แหง ก็จะมี
การสำรวจชื่อนักเรียน ชื่อโรงเรียน สนามสอบ เลขประจำตัวสอบ รหัสโรงเรียน ขอมูลตางๆ เปนตน โดยวันที่ 15 พฤศจิกายน
2549 เราจะไดขอมูลตัวนี้ คุณจะมีคาใชจายในการสำรวจเทาไหร เราจะใหเงินคุณไปหาขอมูลตัวนี้มาใหได เนื่องจากดิฉันมีแหลง
ขอมูลอยูประมาณ 3 แหลง คือ 1.แหลงขอมูลจาก สพฐ. จะไดรับขอมูลประมาณสิ้นเดือนตุลาคม 2549 และดิฉันรูวาขอมูลไมเคย
ตรงกันเลย เราจึงตองลงไปสำรวจเองโดยสำรวจจากฐานขอมูลปที่แลว ตอนนี้ฐานขอมูลที่ชัดเจนที่สุด จะมีรหัสโรงเรียน
ชื่อนักเรียน รหัสนักเรียน เปนรายโรงเรียน จะนำขึ้นไวกอนเลย ซึ่งจะ matching กันและจะทำรอไวเลย ฉะนั้น ผูที่จะเขาสอบก็จะ
77
matching ตัวนี้ เด็กอาจจะมีแครหัสนักเรียน แตก็ matching 13 หลักใหได ผูที่จะมาชวยดิฉันทำก็คือ ศูนยสอบ 18 แหง เราจะ
ทำขอมูลใหนิ่งภายในเดือนธันวาคม 2549 ซึ่งยังพอมีเวลา
สำหรับคาตอบแทนเจาหนาที่ในการจัดสอบ เราไดตกลงกันแลววา จะให maximum ซึ่งจะทำการสำรวจกอนวาเขาได
จากหนวยงานไหนเปนเงินเทาไหร เราก็จะใหเขา maximum ตามนั้น
สำหรับเรื่องกฎ ระเบียบตางๆ ดิฉันคงตองกลับไปดูใหม สวนสนามสอบ จะใหอิสระกับศูนยสอบไดมีสิทธิ์ตัดสินใจเลือก
สนามสอบที่สะดวกกับเด็ก โดยระบุมาใหเราทราบวามีขอบเขตพื้นที่ใดสะดวกกับเด็กมากที่สุด หากเด็กไมสะดวกที่จะเดินทางไป
สมัครสอบที่โรงเรียน ก็สามารถสมัครสอบไดที่ศูนยสอบ ทางศูนยสอบจะจัดการใหทั้งหมด
เรื่องวัน เวลาสอบ วันที่ 24-25 กุมภาพันธ 2550 นั้น บังเอิญเปนประกาศจากเมื่อปที่ผานมา จึงไมอาจเลื่อนได ในป
ตอไปจะลองดูชวงเวลาอีกครั้งเพื่อไมใหมีผลกระทบกับการสอบไลและการสอบรับตรงของแตละมหาวิทยาลัย
รายชื่อผูคุมสอบแตละมหาวิทยาลัยจะไดภายในสิ้นปนี้แนนอน และเนื่องจากเราไดรับขอมูลจากทุกโรงเรียนวา มีการ
คุมสอบไมคอยไดมาตรฐาน ดังนั้น ทางศูนยสอบจะตองสงคนไปกำกับดูแลการสอบเพื่อใหไดมาตรฐาน
เราไดรับทราบขอมูลปญหาตางๆ ในปที่ผานมา จากหัวหนาศูนยสอบซึ่งเปนคณะกรรมการดำเนินการ โดยหวังวา
ปญหาจะไมเกิดขึ้นอีกในปนี้
.....................................................................
คำถามที่ 4
ปญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากปที่ผานมา ในอนาคตจะเปนไปไดหรือไมที่วิธีการเขามหาวิทยาลัยจะเหลือเพียง GPA
GPAX และ ACTIVE TEST เทานั้น
คำตอบที่ 4
คิดวาในป 2552 จะเปนปที่เริ่มสมบูรณแบบ เพราะจะมี GPAX และ GPA ที่ปรับเรียบรอยแลว ไมใชดิบๆ เพราะจะ
เชื่อถือไมได
อยางที่สอง ถาหาก 9 สายอุดม รวม PAX กันไดหรือไมวา คุณอยากจะสอบ aptitude อะไร สทศ. จะจัดสอบใหได แตก็
ยังไมเคยไดรับคำตอบ
.....................................................................
คำถามที่ 5
เปนหวงเรื่องการกวดวิชาตลอดชีวิต ปจจุบันมีการเริ่มกวดวิชาตั้งแตเรียนชั้น ป.1 ดังนั้น เราจะทำอยางไร ที่จะใหครู
มีคุณธรรม จริยธรรม ในการสอนอยางเต็มที่ไดอยางไร ?
คำตอบที่ 5
เรื่องนี้ สทศ. และ admission ชวยไมได เปนเรื่องที่ สพฐ. จะตองดำเนินการตรงนี้
.....................................................................
คำถามที่ 6
เรื่องความโปรงใสในการสอบไดวางแผนปองกันการทุจริตสอบไวอยางไรบาง ?
คำตอบที่ 6
ดิฉันอาจตองใชประสบการณของ สกอ. โดยอาจใชตำรวจหรือไอทีชวยตรวจสอบ เพราะเคยมีคนแอบอางเขามาสอบ
78
แทนกัน แตขณะนี้ไดคุยกับที่ปรึกษาทางดาน IT แลว คิดวาอาจจะใชวิธีสบตาวาใชตัวจริงหรือไม อีกวิธีคือ การพิมพลายนิ้วมือ
และตรวจสอบวาใชหรือไม
.....................................................................
คำถามที่ 7
ผมคิดวาเมื่อปที่ผานมามีปญหามาก สิ่งหนึ่งอาจเปนเพราะเราไมมีการซักซอมแผนลวงหนา ทำใหไมทราบปญหา
ลวงหนา หากมีการทดลองซักซอมแผนการสอบ หรือทดลองใชระบบตางๆ กอนการสอบจริง นาจะชวยใหทราบปญหาและวิธี
การปองกันปญหาลวงหนาได เชน ตัวเลขรหัส 13 หลัก เปนตน
คำตอบที่ 7
จะลองทดสอบระบบทั้งหมดดู แตตองขึ้นอยูกับคาใชจายดวย เพราะเราไดงบประมาณจากสำนักงบประมาณเพื่อจายคา
ใชจายตอหัวไดเพียงเล็กนอยเทานั้น
ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (เพิ่มเติม)
ประเด็นปญหาตางๆ ผมคิดวาเปนเรื่องการกำกับ ดูแล และติดตาม ทั้งนี้ หากอาจารยตองการให ปอมท. ชวยเหลือ
สวนใดก็ยินดีอยางยิ่ง เพราะเรามีคนเกงๆ ที่พรอมชวยเหลือหลายทาน
.....................................................................
คำถามที่ 8
ผมอยากขอความรูจากอาจารยในฐานะที่เปนนักวิชาการเรื่องการวัดและการประเมิน อาจารยยกหลักสูตรขึ้นมาแลว
บอกวาตองวัดตามหลักสูตร โดยมีเปาหมายของหลักสูตรที่ชัดเจน คือ ตองสรางเด็กเกง ดี มีสุข แตที่เราพูดกันสวนใหญนั้น
กลายเปนเนนในเรื่องเด็กเกง และจำกัดวงในเรื่องของผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาในสวนที่เปนเนื้อหาวิชาเทานั้น ซึ่งคอนขางแคบ
ในแงของวิชาการ เราควรจะทำอยางไรบาง ที่จะหาวิธีวัดในเรื่องของความดี และมีความสุข และเปนเกณฑอยางหนึ่งใน
การคัดเลือกที่จะนำเด็กเขาสูมหาวิทยาลัย ซึ่งนโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดเนนเรื่องคุณธรรมนำความรู
สวนทานนายกรัฐมนตรีก็เนนในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น ในแงของนักวัดและประเมิน ถาจะใหตอบสนองปรัชญาในการ
บริหารและทิศทางการศึกษาแนวใหม รูปแบบการวัดและการประเมิน และการคัดเลือกคนเขาสูมหาวิทยาลัยนาจะเปลี่ยนแปลง
คำตอบที่ 8
ดิฉันหวังไวในป 2552 โดยมหาวิทยาลัยจะตองมีหนวยงานกลาง ซึ่งมหาวิทยาลัยจะตองดูจาก transcript ของนักเรียน
ม.4 ม.5 ม.6 เพราะตัวนี้จะเปนตัวบอกขอมูลมากมาย เชน คุณลักษณะที่พึงประสงคได ดังนั้น ทางโรงเรียนก็ตองแนบ
คุณลักษณะเหลานี้มาพรอมผลการประเมินจากโรงเรียน ดังนั้น transcript จึงเปนตัวขอมูลที่มหาวิทยาลัยจะใชพิจารณาได
แตตองเปนขอมูลที่นาเชื่อถือได
อีกเรื่องหนึ่ง คือ เรื่องการอานคิดวิเคราะห ซึ่งเปนอีกหนึ่งขอมูลที่มหาวิทยาลัยจะใชได แตแปลวา transcript
ตองเชื่อถือได และโรงเรียนตองจริงจัง ดิฉันคิดวา สมศ. เขายังไมคอยจริงจังเรื่องการวัดผลมากนัก
.....................................................................
คำถามที่ 9
ตามที่อาจารยบอกวา ในป 2552 จะนำ GPA ที่ปรับแลวมาใช สิ่งที่ผมหวงคือ เมื่อ 2-3 ปที่ผานมา พอเริ่มมีการใช GPA ซึ่งมี
แนวโนมวาจะมากขึ้น ทุกโรงเรียนก็จะเพิ่ม GPA ชนิดที่เรียกวา นักเรียนที่เรียนดีจากที่สมัครเปนพันกลายเปนหมื่นคนและ
79
ทั้งหมดลวนไดเกรดเฉลี่ย 4 รวด จนขณะนี้ หลายคณะตองยกเลิกการรับนักเรียนจากโรงเรียนนี้ไป บางคนบอกวา โรงเรียนนี้
ปลอยเกรดใหคูณดวย 0.8 โรงเรียนโนนคูณอีกอยางหนึ่ง ผมคิดวาเด็กที่สอบเขามหาวิทยาลัยตางคนตางสอบ ไมไดสอบยก
ทั้งโรงเรียน และแตละคนตางก็มีปจเจกไมเหมือนกัน แตทำไมจึงใชกฎเกณฑเดียวกันเหมาทั้งโรงเรียน นี่คืออีกปญหาหนึ่ง
ซึ่งเด็กฝากมา ดังนั้น การนำ GPA ที่ปรับแลวมาใช ในป 2552 นาจะยังใชไมได หากตรงนี้ยังไมมีมาตรฐานเพียงพอ
อีกอันหนึ่ง คือ จะเปนไปไดหรือไม ที่กระทรวงศึกษาธิการจะกำหนดใหทุกมหาวิทยาลัยที่มีสายวิชาชีพเดียวกัน
ใหทำตามแบบคณะแพทยศาสตรเหมือนกันหมด ไมเชนนั้นจะเกิดความวุนวายในเรื่องของระบบ Admission อยางมาก
คำตอบที่ 9
ตอนนี้เราจะใชแบบนี้ แตขางบนจะเปนตัวที่เราไดขอมูล และหนึ่งในการไดมาซึ่งขอมูลนั้น คือ คุณจะเขามหาวิทยาลัย
หรือไม ดังนั้น ตอนวิเคราะหขอสอบเราจะวิเคราะหเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งวิเคราะหทั้งภาพรวม และอีกกลุมหนึ่งคือพวกที่จะเขา
มหาวิทยาลัย และความจริงแลวเราจะวิเคราะหเปนรายโรงเรียนอีกตางหาก จะไดรูวาคะแนนสอบของเด็กที่อยูโรงเรียนเตรียมกับ
เด็กที่เรียนอยูตางจังหวัดจะมีผลวิเคราะหเปนอยางไร
ดังนั้น GPA ที่ถูกปรับ ก็ตองปรับภายใตคนที่จะเขามหาวิทยาลัยของโรงเรียนนั้น ๆ มากกวาจะเอาทั้งหมด เพราะ
ตอนนี้ สทศ. เกิดขึ้นไมใชตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฯ แตเกิดขึ้นจากรัฐมนตรีหญิงคนหนึ่งอยากใหเกิดขึ้น
ซึ่งคอนขางทุลักทะเล และกวาพระราชกฤษฎีกาจะออกมาไดตองใชเวลานานมาก เพราะไมไดเกิดขึ้นมาตามพระราชบัญญัติการ
ศึกษาแหงชาติฯ เราไมมีสิทธิ์บังคับใหเด็กสอบ แตโรงเรียนมีสิทธิ์ใหเด็กจบ เด็กจะตองตั้งใจสอบ O-NET เราไดคุยกับอาจารย
วิจิตรวา จะทำอะไร อยางไรวา อยางนอยควรสรางเปนเงื่อนไขใหเด็กมีความตั้งใจที่จะสอบ เพื่อใหคะแนนสอบ O-NET ของเด็ก
สามารถเชื่อถือได ซึ่งมันจะสะทอนกลับไปที่โรงเรียนวามีความนาเชื่อถือเพียงใด ดังนั้น ดิฉันคิดวา คะแนนที่ไดในภาพรวม
คงตองตัดขอมูลจำนวนหนึ่งออกไปกอนวิเคราะห
.....................................................................
คำถามที่ 10
ขอสนับสนุนแนวคิดของ ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุมพล พูลภัทรชีวิน เนื่องจากในระยะ 5-6 ปที่ผานมานั้น เราลืมเรื่อง
ของการสอนใหเด็กเปนคนดี เพราะเรามุงแตใหเด็กเปนคนเกง เมื่อจบไปแลวจะสามารถหาเงินไดมากขึ้น ดังนั้น ที่อาจารย
บอกวา รอป 2552 นั้น บางทีอาจจะชาเกินไป และประกาศบางอยางที่อาจารยบอกวาเปลี่ยนแปลงไมไดนั้น เนื่องจากเราไดมีการ
ปฏิรูปการปกครองใหม อาจารยอาจจะใชเหตุนี้ในการขอเปลี่ยนแปลงได เมื่อวานนี้ไดฟงการบรรยายพิเศษจากศาสตราจารย
ดร.วิจิตร ศรีสอาน ซึ่งพูดไดประทับใจวา เราไมอาจทำใหเด็กเกงเปนเด็กดีได แตเราสามารถทำใหเด็กดีเปนเด็กเกงได ดังนั้น
ภายในระยะเวลา 1 ป ของรัฐบาลชุดนี้ หากเปลี่ยนแปลงแกไขอะไรได ก็อยากใหดำเนินการโดยเร็ว โดยเฉพาะเรื่องของการสราง
คนดี
คำตอบที่ 10
เรื่องนี้ดิฉันคิดวา ที่ประชุม ปอมท. อาจทำหนังสือถึงแตละมหาวิทยาลัยที่รับตรง โดยขอใหชวยรับนักศึกษาที่เปน
คนดีได วิธีนี้สามารถทำไดงายและรวดเร็วที่สุด
.....................................................................
คำถามที่ 11
ขอเสนอความคิดเห็นในสวนของการสอบ O-NET วา หากตองการใหเด็กมีความตั้งใจที่จะสอบ O-NET มากขึ้น
อาจกำหนดใหความสำคัญในการสอบ O-NET ของโรงเรียนนั้น เปนตัวบงชี้ตัวหนึ่งในการประเมินสถานศึกษาดวยก็ได เพื่อเปน
แรงกระตุนใหเด็กตองตั้งใจทำ O-NET มากขึ้น
80
คำตอบที่ 11
ขอมูลคะแนนสอบคงจะตองสอดคลองกับผลการประเมิน แต สมศ. เขามีปญหาคอนขางเยอะ เพราะเขาใชบริษัท
เปนคนประเมิน จนบางครั้งคิดวาผลการประเมินนั้น เชื่อถือหรือไม แตอยางไรก็ตามมันตองไปดวยกัน ในสวนของเราหากผลการ
ประเมินไมดี คะแนนสอบก็ตองไมดีดวย ซึ่งตองสอดคลองกัน
.....................................................................
คำถามที่ 12
เรื่องการรับเด็กที่ entrance ตรงนั้น คนไมดีเขาก็ไมสอบรับตรง แตจะมารอสอบ entrance กลาง จริงๆ แลวเด็กภาค
ใตเขาก็จะไมไปสมัครสอบตรง เขาก็ไมอยากจะอยูที่เดิมอยูแลว เขาตองการสอบเขาที่ใหม
อนึ่ง อยากใหอาจารยออกขอสอบลักษณะการวัดความคิดดีของเด็ก รวมเขาไปอยูในขอสอบ entrance กลาง โดยรวม
แลวเปน 100 % ดวย เพื่อใหเปนการวัดเด็กดี เกิดเปนรูปธรรมมากขึ้น
คำตอบที่ 12
ถาพูดตามตรง แตละมหาวิทยาลัยอาจจะทำโครงการชางเผือก หรือโครงการอะไรก็ได เพื่อรับเด็กดีเขามาเรียน เปนตน
สำหรับบทบาทของ สทศ. ตองบอกวา จริงๆ แลว ไมเกี่ยวของอะไรกับการเขามหาวิทยาลัยเลย สกอ. ก็จะเอาคะแนน
O-NET ใหได สวนประธาน ทปอ. ขณะนั้น เห็นวาไดมาฟรีๆ ก็จะเอาดวย พอไดคะแนน O-NET มาอยางสบายๆ ก็นำไปผูกเขา
กับการสอบเขามหาวิทยาลัยทันที ซึ่งดิฉันจะคานตลอดวา การสอบนั้นมันจะตองมีวัตถุประสงค หากตองการดูผลสัมฤทธิ์
ขอสอบตองไมยาก สวนการเขามหาวิทยาลัยซึ่งมีที่นั่งจำกัด ขอสอบตองยากและซับซอน มันคนละชนิดกับขอสอบ แตเมื่อทาน
นำขอสอบมาหนึ่งฉบับแลวใชทุกวัตถุประสงคแสดงวานี่คือมั่ว เพราะทานมั่วในเรื่องวัตถุประสงคของการออกขอสอบ ปที่แลว
forum เราคานมากๆ แตทานศาสตราจารยพิเศษภาวิช ทองโรจน บอกวาทำไดไมมีปญหา เขาพรอมสอบได ดังนั้น O-NET
จึงถูกนำไปผูกกับ admission ทั้งๆ ที่บทบาทของ สทศ. ไมเกี่ยวกับ admission เลย ดังนั้น การสอบของ สทศ. เราสอบเพื่อ
วัดคุณภาพของโรงเรียน ไมใชเปนการสอบเพื่อเตรียมเขามหาวิทยาลัย
ความจริงที่ตนเองนั่งเปนประธาน admission forum นั้น ทำงานใหฟรีไมไดอะไรเลย บางครั้งเรารูสึกไมคอยดีเวลา
เขาไปเสนองานในที่ประชุม ทปอ. จะถูกมองแปลกๆ วาเราตองการอะไรจาก ทปอ. ทั้งๆ ที่เราทำงานตรงนี้เพื่อเด็กๆ
และประเทศชาติ แตทุกครั้งที่เขาประชุมเราจะมาดวยวิชาการ หลักการ และขอมูลการวิจัย เพื่อนำมาเสนอ ทปอ. พิจารณา
ดิฉันมีอีก 2 ประเด็น คือ ดิฉันคิดวา หลักการศึกษา คือ “การหลอมและเหลา” ในที่นี้ “หลอม” คือ integrate นักเรียน
นักศึกษา สวน “เหลา” คือ เพื่อใหเขาคมชัด และลึก ดังนั้น ปรัชญาของประเทศไทยคือการหลอมและเหลา แตกลับไมมีใครสนใจ
ดิฉันพยายามพูดในที่ประชุมหลายแหงวา ทุกมหาวิทยาลัยใหเอาเด็กเกงมาเรียน แทบไมตองสอนเลย เพราะเขาทำเอง
ได คำถามคือ ถาทานเอาดาวมาปนทานก็จะไดดาวบวกหรือดาวหลายดวง แตถามวาคนในมหาวิทยาลัยไดปนดาวที่ไดมานั้น
อยางไร แตปรากฏวามีบางแหงไดดาวมาแตกลับไมไดปนเลย เขาเปนดาวมาเอง และเขาก็จบออกไปเปนดาว แตพวกดินเรา
ไมเอา เราไดเขี่ยออกไป แลวเขาไปอยูที่ไหน ดิฉันคิดวาไมยุติธรรมเลย บางคนบอกวายังมีมหาวิทยาลัยเปดอยางมหาวิทยาลัย
รามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรองรับอยู แตพวกดินก็บังเอิญไมคอยอยากจะไปมหาวิทยาลัยเปด มันจึงกลาย
เปนขอสงสัยอยูทุกวันนี้วา อะไรคือความถูกตอง
ผูชวยศาสตราจารย.ธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (เพิ่มเติม)
อำนาจในการรับเด็กเขาศึกษานั้น เปนอำนาจของมหาวิทยาลัย นี่คือเหตุผลที่ ผูชวยศาสตราจารย
ดร.จุฑามาส จิตตเจริญ อยากจะเห็นทุกมหาวิทยาลัยรวมมือกัน ตรงนี้เนื่องจากเปนอำนาจของแตละบุคคล เขาก็จะดูแล
ในสิ่งที่สมประสงค มหาวิทยาลัยหลายแหงอยากไดเด็กเกง อาจารยพอจะทราบดีวามีบางแหงไมตรงไปตรงมา เพราะฉะนั้น
หลายๆ แหงจึงตองมองความตองการของตนเองเปนสำคัญ การรวมมือกันจึงยังมีอุปสรรคอยู จนกวาเราจะเคลียรกันใหหมดกอน
และถาพูดตรงๆ ก็คือ ทั้ง 13 สถาบันแพทยที่รวมดำเนินการแบบเดียวกันนั้น ถาพูดตามตรงก็คือ ตองการเด็กเกงเขามาเรียน
อยูดี ตรงนี้ ผมคิดวาเราจะทำอยางไรเพื่อใหเกิดความเขาใจเดียวกัน เมื่อใดเราทำเพื่อตัวเองความเขาใจก็เกิดยาก แตเมื่อใด
เราทำเพื่อประโยชนตอสวนรวม โอกาสความรวมมือก็จะมีขึ้นได มันเปนไปไดที่แตละคนจะยืนตางมุมกัน เพียงแตตอง
81
เขามาคุยกัน และเขาใจในขอมูลเดียวกัน
ผมคิดวาทุกคนอยากใหคุณธรรมนำความรู แตผมคิดวา หลายๆ เรื่องเปนเรื่องของโอกาสพัฒนา ซึ่งอาจารยวิจิตร
ไดเคยกลาวไววา หากตองการทำอะไรใหเกิดผลเร็วจะตองทำประชานิยม แตการศึกษานั้น จะทำใหเกิดผลรวดเร็วไมได จำเปน
ตองใชระยะเวลา ตรงนี้คิดวาเราจะทำอยางไรเพื่อจะสรางความรวมมือและไปดวยกันได
.....................................................................
คำถามที่ 13
ดิฉันมีความรูสึกวา ปจจุบันมหาวิทยาลัยสวนใหญกำลังแยงเด็กกัน ดิฉันคิดวาจำนวนของเด็กที่เขามหาวิทยาลัย
จะพอๆ กับที่นั่งในอนาคต ปญหาของมหาวิทยาลัย ดิฉันคิดวาคงไมใชปญหาที่ สทศ. เพียงอยางเดียว ตัวอยางเชน ปญหาเรื่อง
เกรดที่ปรับโดยการคูณตัวหาร ซึ่งมันอาจไมยุติธรรมกับเด็กที่เรียนดี เปนตน ดังนั้น ปญหาที่เกิดขึ้นในเรื่องของ admission นั้น
ไมใชปญหาของ สทศ. อยางเดียว แตเปนปญหาของกระทรวงศึกษาธิการโดยรวม ซึ่งจะตองแกปญหารวมกัน ประเด็นก็คือ
เรื่องเกรดควรจะตองทำอยางไร National Test ที่ดิฉันไดฟงอาจารยประทีปพูดในวันนั้น ไดเห็นอะไรเยอะมาก จริงๆ แลว
National Test มีอันเดียวก็พอแลว และจะทำอยางไรใหเปนที่ยอมรับ สิ่งที่งงมากๆ ในฐานะผูปกครอง คือ ขอดีของ admission
ปที่แลวคือ เขาจะเกงอินเทอรเน็ตมาก เพราะเขาจะตองเขาไปสมัครและสืบคนรายชื่อ แตสิ่งที่เปนกังวลคือ เขาจะตองเสีย
คาใชจายในการสมัครเยอะมาก อาทิ สมัคร O-NET สมัคร A-NET สมัครรับตรง จนเขาเกิดความสับสน และยิ่งตอนประกาศผล
ทางอินเทอรเน็ตแลวเว็บไซดลม ยิ่งทำใหเกิดความกังวลมากขึ้นอีก
ตรงนี้ คงจะเปนบทเรียนใหกับประเทศไทย แตสิ่งที่ดิฉันอยากเห็นในฐานะนักวิชาการ คือ จะทำอยางไรใหสังคมนี้เปนที่
เชื่อมั่นกับหนวยงานของรัฐได โดยเฉพาะการรับนักเรียนเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย เราจะทำอยางไรถึงจะไดทั้งเด็กดีและ
เด็กเกง และทำอยางไรพวกเราถึงจะทำใหเด็กเปนคนดีได คิดวาตรงนี้สำคัญมาก และอยากใหแตละหนวยงานที่รับผิดชอบ
รวมมือกันทำตรงนี้ใหดี
คำตอบที่ 13
ประเด็นแรก National Test โดยหลักแลว จะพยายามใหเด็กตองสอบเพียงครั้งเดียว ดิฉันไดคุยกับทานเลขาธิการ
คนเกาของกระทรวงศึกษาธิการ ทานบอกวา การสอบ National Test เปนหนาที่ของ สพฐ. ที่จะตองจัดสอบ ดังนั้น เขาจึงมี
หนวยสอบ และวันหนึ่งเมื่อทานเกษียณอายุราชการไปแลว ทานก็บอกวา สทศ. จะตองสอบ National Test ดิฉันก็แปลกใจวา
ทานเพิ่งพูดไมนานทำไมเปลี่ยนได และทานก็บอกวา คนที่รักษาการ สพฐ. ก็ประกาศวา National Test จะตองสอบเอง ซึ่งทาน
ไมเห็นดวย ดิฉันก็บอกวาไมเปนไร และตั้งใจวาจะคุยกับเลขาธิการคนใหมวา ขอแรก ถาเขาจะทำ ตองทำใหดี และคะแนน
ตองเชื่อถือได คุมสอบใหดี และทางเราจะเขาไปชวย แตโดยหลักการแลวตองสอบครั้งเดียว แตถาคุณไมทำเราจะทำให ขอที่สอง
GPA จะขึ้นสูงทุกแหงสม่ำเสมอประมาณ 0.5 ซึ่งปจจุบันเห็นวาขึ้นอยางสม่ำเสมอจริงๆ คาดวาปหนาเด็กคงจะไดเกรดเฉลี่ย
4.00 เกือบทุกคน
สำหรับเรื่อง การทำเด็กดีใหเปนเด็กเกง ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดกลาวไวนั้น คงตองเปนหนาที่
ที่ทานจะตองทำ ดิฉันเองก็ไมแนใจวาภายในระยะเวลา 1 ป ทานจะทำไหวหรือไม เห็นวาทานมีความคิดอยูแลว และมีโรงเรียน
ของอาจารยอาจองเปนตัวอยาง
ชวงนี้ ดิฉันและศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน จะไปรวมกิจกรรมคายอาสาสมัครจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประมาณ
2 สัปดาห ซึ่งประโยชนของการเขาคาย จะชวยเปลี่ยนความคิดเราใหทำเพื่อสวนรวม และรวมไปถึงทำเพื่อประเทศชาติ ดังนั้น
วิชาคายจึงมีประโยชนมากสำหรับการทำคนเกงใหเปนคนดี
สำหรับการสอบ A-NET ทางเราจะให สกอ. ทำ A-NET เฉพาะในป 2550 เทานั้น เพราะดิฉันคิดวาทางเรายังไมพรอม
ที่จะทำเอง แตในปตอไปคิดวา สทศ. จะทำทั้ง O-NET และ A-NET เอง และคนจะเห็นความแตกตางกัน ทั้งนี้ ดิฉันตั้ง
ความหวังวาจะไมออกขอสอบในแบบที่ผานมา ไมรูวาทำกันมาไดอยางไรเปน 10 ป คือการตั้งทีมกลางเดินสายไปตามโรงเรียน
แตละภูมิภาค แลวเรียกครูโรงเรียนมาอบรมเนื้อหาและวิธีการออกขอสอบ เสร็จแลวก็ครูเหลานี้ออกขอสอบ ดิฉันคิดวาวิธีนี้
82
ไมถูกตอง เพราะคนออกขอสอบได จะตองเปนคนเกง รูเนื้อหาวิชาอยางดี รูวิธีการออกขอสอบ และไมตองมาฝกอบรม สำหรับ
เรื่องการฝกอบรมครูเปนหนาที่ของ สมศ. เราอาจจะเขาไปชวยไดในภายหลัง แตถาตองการไดขอสอบที่ดี ตองไดจากคนที่มี
ความรูในเนื้อหาวิชา และรูวิธีออกขอสอบเปนอยางดีดวย
ดังนั้น ในเรื่องการสอบ A-NET นั้น เขาจะสอบให 2 ครั้ง และมีอายุความ 2 ป เพราะฉะนั้น เด็กก็มีโอกาสสอบได
ทั้งปนี้และปหนา แต O-NET จะสอบไดครั้งเดียวตลอดชีวิต
.....................................................................
ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (ประธาน ปอมท. กลาวปด)
ผมวาวันนี้ อาจารยไดใหขอมูลชัดเจน และทาง ปอมท. ตองขอขอบคุณ ศาสตราจารย ดร.อุทุมพร จามรมาน เปนอยาง
สูงที่ใหเกียรติกับ ปอมท. มาบรรยายใหฟงในวันนี้ และผมหวังวา ทาง ปอมท. จะไดมีโอกาสมีสวนรวมในการชวยเหลืออยางใด
อยางหนึ่ง

More Related Content

Viewers also liked

หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสานสุรพล ศรีบุญทรง
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 สุรพล ศรีบุญทรง
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุขสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรสุรพล ศรีบุญทรง
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
โลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษาโลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษาnipaploynilpet
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (18)

หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
 
โครงสร้างกองเรือรบ
โครงสร้างกองเรือรบโครงสร้างกองเรือรบ
โครงสร้างกองเรือรบ
 
50 q univerity_autonomization
50 q univerity_autonomization50 q univerity_autonomization
50 q univerity_autonomization
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
Kmutnb act legislative
Kmutnb act legislativeKmutnb act legislative
Kmutnb act legislative
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 1/2552 
 
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
 
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แจ็ค หม่า
แจ็ค  หม่าแจ็ค  หม่า
แจ็ค หม่า
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
โลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษาโลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษา
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 

Similar to 3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)

1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองBiobiome
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วนmakotosuwan
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทSzo'k JaJar
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53
คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53
คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53piti118
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละApirak Potpipit
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
Study success
Study successStudy success
Study successkruthai40
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisTupPee Zhouyongfang
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3Kruthai Kidsdee
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAon Narinchoti
 

Similar to 3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82) (17)

แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯแบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
แบบประเมินก่อนเรียนคณิตฯ
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพทสำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
สำรวจเทคน คการจ ดอ_นด_บกสพท
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53
คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53
คู่มือเข้าใจปัญหาปวดตับเด็กยุคแอดมิดชั่น53
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
Study success
Study successStudy success
Study success
 
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysisการวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
การวิเคราะห์ข้อสอบItem analysis
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
B1
B1B1
B1
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่นสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพาเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพาสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดลเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดลสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพาเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดลเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
 

3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)

  • 1.
  • 2. 72 ก็มีปญหามากในแงของมหกรรมการสอบ เราก็ยอมใหสอบไดถึง 2 ครั้ง เขาบอกเครียด สอบครั้งเดียวก็เครียด สอบตุลาคม ก็บอกวายังเรียนไมจบ ปที่แลวเปนปแรกที่สอบกุมภาพันธก็ไมทัน เพราะวาไมมีใครยอมขยับเวลา โรงเรียนเปดพฤษภาคม มหาวิทยาลัยเปดมิถุนายน มีเชื่อมแคนี้ ที่จะทำอะไรเพื่อคัดเลือกเด็ก มันก็เลยตองติดที่เงื่อนเวลาดวย ทีนี้ทำไมจึงตองเปน admission เหตุผลก็คือหนึ่งเราอยากเชื่อมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงตองเอา GPA ของทุกวิชา มี 8 กลุมวิชา เอาวิชาทั้งหลาย มาดู แลวก็คิด 6 เทอม เราเรียก GPAX อันที่สองคือ GPA ที่เปนกลุมสาระก็คือกลุมวิชานั่นเอง ซึ่งมี 8 กลุมเหมือนกัน เราก็คิด 6 เทอม แตคิดเปนกลุม เชน ภาษาไทย 8 เทอม ภาษาอังกฤษ 8 เทอม เปนตน เราเรียกวา GPA กลุมสาระ เราเชื่อวาตรงนี้ เปนตัวสะทอนผลการเรียนของนักเรียนใน 6 เทอมที่ผานมา คือ ม.4 ม.5 ม.6 และหวังวาเด็กจะตั้งใจเรียน และก็เจอปญหา secret first อันนี้ ก็เปนปญหาอีกอันหนึ่ง ที่เมื่อทำอะไรอยางหนึ่งก็จะกระทบอีกอยางหนึ่ง นั่นตัวที่หนึ่งที่ตองการจะเชื่อม ตัวที่สอง เจตนาก็คือ indicator ที่ดีที่สุดก็คือ ผลการเรียนในอดีต อันนี้เปนงานวิจัยทั่วโลกที่ชัดเจน ถาตัว indicator นั้นเชื่อได ตรงนี้เองที่บอกวาทำไมเราถึงเอาตัว GPA GPAX มาใช จะไดเชื่อมกับหลักสูตรเขาดวย อันที่สองก็คือเรื่องของการ ลดจำนวนวิชาสอบลง ตอน entrance ประมาณ 20-30 วิชา เด็กๆ สอบทุกอยางที่ขวางหนา เพราะเขาไมมั่นใจวาเขาจะเขา สาขาวิชาไหน เราก็นึกวาถาเด็กชัดเจน จะลดวิชาสอบลงไดหรือไม อันนั้นคือตัวที่ตั้งเปาไว ดูมันจะเหมือนกับไมจริง เพราะ วิชาเฉพาะที่สอบตุลาคม 17 วิชาดวยกัน เด็กก็ยังตองสอบ 17 วิชาอยู และจะตองมาสอบ O-NET กับเราอีก 5 วิชา A-NET อีก 5 วิชา รวมกันแลวก็ 27 วิชา ยังเยอะอีกเหมือนเดิม ตัวที่สาม ที่ไมใชเปนเปาหมาย ก็คือการกวดวิชา เราไมคิดวาการเขามหาวิทยาลัยจะทำใหลดการกวดวิชาลง ดิฉัน คิดวาเขากวดวิชากันตั้งแต ป.1 แลวจะบอกวาการเขามหาวิทยาลัยทำใหเพิ่มการกวดวิชาเยอะขึ้น ซึ่งไมจริงเลย ก็เปนเพราะการ เรียนการสอนในโรงเรียนยังไมดีพอ ดิฉันจึงไดทำการสำรวจวา ทำไมตองกวดวิชาก็ไดคำตอบมา 3 ขอ คือ 1. พอแมใหกวดวิชา 2.ตามเพื่อนไปกวดวิชากัน 3. ........(เสียงหาย ประมาณ 10 วินาที)............................ คิดวาหากสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไมแกไขเรื่องการสอน ก็จะโทษเราไมไดเพราะเราไมไดมีเจตนาจะใหกวดวิชา ซึ่งมีครั้งหนึ่งสมัยรัฐบาลคุณทักษิณ ดิฉันเคยบอก ใหออกกฎหมายหามกวดวิชา ซึ่งก็โดนตอวามามากมาย เพราะเพียงอยากใหเด็กๆ ไดเรียนในโรงเรียนอยางมีความสุข เหมือนๆ กัน และไดกลับไปเลนไปทำอะไรตางๆ ที่บานอยางมีความสุข ดังนั้น admission ในความหมายก็คือ เหมือน admission คนเขาโรงพยาบาล ก็คือ คุณตองมีอะไรติดตัวมา เราถึงจะดูวาคุณควรจะไปไหนตอ เราหวังวาโรงเรียนจะชวย แนะแนวเด็กใหไปในทิศทางที่ถูกตอง แตปรากฏวาแนะแนวก็กลายเปนไมรูเรื่องขึ้นมา ไมรูวา admission จะตองทำอะไรอยางไร กลายเปนวาเด็กรูมากกวาคนแนะแนว ตรงนี้คือปญหาของครูแนะแนว เราหวังวาการแนะแนวจะชวยได หากแนะแนว มาในทิศทางไหนบวกกับสิ่งที่ติดตัวเด็กมา เราก็จะชวย ตรงนี้คือกันชน เพราะฉะนั้นในป 2549 ซึ่งมี admission ที่ไม สมบูรณแบบ ก็ตั้งเปาวาเปนปเริ่มตน คลายๆ entrance ใน ทปอ. นั้น ในชวงที่ตัดสินใจก็ตัดสินใจครั้งเดียว 3 ป เลย คือ ป 2549-2551 ซึ่งใน 3 ปนั้น ก็จะใชองคประกอบ 3 – 4 องคประกอบ องคประกอบที่หนึ่งในการพิจารณาก็คือ GPAX เปน 10 % ตลอด GPAX ก็มาจากเกรดเฉลี่ยสะสม 6 เทอมของ ม.4-ม.6 อันที่สองคือ GPA กลุมสาระใหเลือก 3-5 กลุม จาก 8 กลุม ทำนองเดียวกันก็คิดจาก 6 เทอม และใหสาขาวิชาบอก ตอนที่ออกแบบกันนั้น ดิฉันก็มีความหวัง ตัวอยางเชน ถาทางวิศวะ จาก 5 กลุม ก็นาจะหยิบสาขาศิลปะ สังคม พละ สุขศึกษา คือตัวที่ complement กับเขา ไมใชตัวที่ตรงกับเขา ดิฉันหวังตรงนั้น แตทุกคณะ ทุกสาขาในมหาวิทยาลัย กลับไปเลือกสิ่งที่ตรงกับตัวเอง วิศวะก็เลือกคณิต ภาษาก็เลือกภาษา เปนตน เราหวังวา พวกที่จะเขาภาษานาจะไปเลือกอยางอื่น แตไมจริง เราก็ไมประสบผลสำเร็จในความหวังวา คุณนาจะไดดูอื่นๆ ของเด็ก แลวคุณคอยมาใช A-NET ตอไปยังสิ่งที่คุณตองการ ดังนั้น A-NET คุณอยากจะสอบใหลึกล้ำอยางไรก็ระบุ มา ในองคประกอบที่ 4 คือ คุณจะสอบ A-NET ก็ได คุณจะวิชาเฉพาะก็ได คุณจะสอบวิชาภาคปฏิบัติก็ได ทั้งนี้ไมเกิน 3 วิชา สรุปองคประกอบ 4 องคประกอบ ก็คือ 1. GPAX 10 % ตลอด 2. GPA กลุมสาระ เมื่อป 2549 นั้น คิด 20 % และ คิดวาจะเพิ่มในป 2550 แตกลับมีปญหาเรื่อง O-NET ก็เลยคงไวเหมือนป 2549 คือ 20 % สวนอีก 30 % มาจากโรงเรียน สวน O-NET ให 0-35 % ในนั้น ซึ่งมี 5 วิชา แลวที่เหลือก็จะเปน A-NET หรือวิชาเฉพาะหรือวิชาภาคปฏิบัติ เบ็ดเสร็จรวม 100 % จริงๆ แลวดิฉันไมไดเสนอแบบนี้ แตไดเสนอเปนแบบขั้นบันได ซึ่งเปนเงื่อนไข เชน GPA เปนเงื่อนไขดีมั๊ย แลว คุณคอยพิจารณาเฉพาะคะแนนสอบ เพราะในวันนี้ GPAXกับ GPA มันเปนหนวยเดียวกัน อันที่สอง O-NET คือคะแนน สอบ สวน A-NET เปนวิชาเฉพาะตางๆ อีกพวกหนึ่ง ดังนั้น ถาคุณนำคะแนนจากทั้ง 3 พวก มารวมกัน แปลงเปนเปอรเซ็นต และมาบวกรวมกัน มันก็จะเปน intermediate มันไมลึกล้ำ มันนาจะมีอะไรที่ดีกวานั้น แตทุกวันนี้ใชวิธีแปลงเปนเปอรเซ็นต
  • 3. 73 แลวนำมาบวกเลขรวมกัน ใหได 100 เปอรเซ็นต และการเขามหาวิทยาลัยก็แบงเปน 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 คือ การสอบตางๆ ใหเสร็จภายในตนมีนาคม หลังจากนั้น พอเด็กรูคะแนน เด็กจะตองสอบเขามหาวิทยาลัย จะมีขั้นตอนการเขามหาวิทยาลัย ซึ่ง สกอ. ทำให โดยมีใหเลือกอยู 4 ลำดับ ถาเด็กไมเขาก็ไมตองมาสมัคร เหลานี้ก็คือที่มา และเราก็หวังวาภายใน 2-3 ปแรก เราจะไดเห็นภาพของ admission ที่ชัดเจน และตั้งเปาวาในป 2552 นาจะมี admission ที่สมบูรณแบบ คนก็ถามอยูเสมอวา มันหมายถึงอะไร หมายถึงการพิจารณาเอา O-NET ไป integrate กับ GPA เราหวังวา GPA กับ GPAX จะไดรับการ เปรียบเทียบปรับเปนตัวที่ถูกตองมากขึ้น ดวยตัวเปรียบเทียบตัว O-NET ที่เชื่อถือได เราหวังตรงนี้ ดังนั้น เมื่อเด็กยื่น transcript เราก็สงGPAXกับ GPA ที่ปรับแลวใหกับมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยก็ไปพิจารณาดูวาจะเอา GPA ที่ปรับแลวประมาณ เทาไหร แลวจะมีการสอบเพิ่มเติมก็สอบให ถาสอบประเภท aptitude test ซึ่งไมเกี่ยวกับเนื้อหา content free เราก็สอบ ใหทุกเดือน เพราะฉะนั้นชวงเดือนกุมภาพันธ จึงเปนเดือนที่สอบ O-NET เทานั้น เพื่อเอาไปปรับเทียบกับ GPA ดิฉันไมเห็น ดวยกับการนำ GPA ดิบๆ มาบวกเขาดวยกัน เพราะเชื่อถือไมได เมื่อปที่แลวลม เพราะวา O-NET เชื่อถือไมได แตหวังวา ปหนาคือ ป 2550 นาจะดีขึ้น โดยสิ่งที่จะทำของ O-NET คือ 1.สอบขอสอบปรนัยเทานั้น ไมมีอัตนัย 2.ใชวิธีระบาย แบบนี้ จริงๆ แลว ปญหาเมื่อปที่แลวคือ เรื่องอัตนัย เพราะคนที่เขามาเรียนวัดผลจะไมคอยเขาใจ รัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการคนเกายังบอกเลยวา ก็ผมเปนคนเขาไปตรวจก็ได บอกวาไมใชทาน ถึงเปนศาสตราจารยก็ไมมีความหมาย เพราะการตรวจขอสอบอัตนัยคุณจะตองฝกฝนคนตรวจ จนกระทั่งเขาตรวจขอสอบ paper เดียวกัน 2 คน ไดคะแนนใกลเคียงกัน มากที่สุด จำเปนตองฝกฝน ไมใชเพียงคนมีความรูเทานั้นที่จะมาตรวจได คุณตองตรวจไดและตรวจเปน ก็ยกตัวอยางใหทานดูวา คนที่ออกขอสอบตองบอกไดวา 3 คะแนน นั้น จะเขียนอะไรจึงจะได 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน และ โดยเฉพาะ 0 คะแนน จะหมายถึงอะไร ไมตอบหรือตอบผิด ความหมายใด ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจก็ทำแบบนี้ เพราะฉะนั้นดิฉันคิดวาเราคงตอง เตรียมความพรอมในการตรวจขอสอบอัตนัย ถาไมตองการใหเกิดปญหา และศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน รัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ ไดใหขาวกับหนังสือพิมพเดลินิวส วา ป 2550 จะออกขอสอบอัตนัย 10 % ขอนี้ดิฉันขอยืนยันวา ไมมี ซึ่งก็ไดเคลียรกับทานแลว ทานก็บอกวาไมเปนไร แตปหนาตองมี และการสอบเขาสาขาใดก็ตาม ดิฉันเห็นดวยวาตองมี ขอสอบคิดวิเคราะห ดังนั้น ขอสอบของเราถึงแมเปนแบบปรนัยก็สามารถคิดวิเคราะหได ดังนั้น การคิดวิเคราะหจึงไมไดติดกับ รูปแบบ ไมจำเปนวาขอสอบอัตนัยจะคิดวิเคราะหไดเทานั้น อยางไรก็ตาม ในปหนาเปนการสอบปรนัย ดวยดินสอ 2B และไมมี อัตนัย โดยเรากำหนดสอบ O-NET ในวันที่ 24-25 กุมภาพันธ 2550 สอบ 5 วิชา ปที่ผานมา ปญหาการสอบมีเยอะมาก เชน เด็กมาสอบสาย ขาดสอบ หรือมาทันแตรีบเรงเดินทางจนไมมีสมาธิสอบ เปนตน หรือบางคนบอกวา การนำวิชาคณิตศาสตรมาสอบเปนวิชาแรกในวันแรก สำหรับปตอไป เราจึงคิดวาจะลองสลับ เอาวิชาเบาๆ เชน วิชาสังคมศาสตรมาเปนวิชาแรกแทนวิชาคณิตศาสตร สำหรับปญหาเด็กมาสาย มาไมทัน ขาดสอบ สาเหตุเกิดจากการยอมใหเด็กไปสอบที่ไหนก็ได จึงทำใหจำนวนตัวเลขผูสอบที่มาไมรูวาขาดสอบมาจากสนามไหนบาง สำหรับปนี้ ดิฉันคิดวาจะทำ mapping สนามสอบใหม คือ ปกติเด็กไปเรียนบริเวณไหน ก็จะจัดสถานที่สอบบริเวณนั้น เพราะเด็ก เดินทางมาเรียนได ก็ตองเดินทางมาสอบบริเวณเดียวกันไดสะดวก อะไรก็ไดที่สะดวกกับเด็กที่สุด ทั้งนี้ ประมาณตนกุมภาพันธ จะประกาศรายชื่อผูมีสิทธิ์สอบ สนามสอบ หองสอบ อาคารสอบ และเลขที่นั่งสอบ โดยเราจะเอื้ออำนวยขอมูล เชน สนามสอบที่ กรุงเทพฯ เราอาจจะบอกสายรถเมลที่จะเดินทางถึงสนามสอบไดเร็ว สวนตางจังหวัดอาจจะบอกไดเพียงสถานที่ตั้งสนามสอบ เปนตน สำหรับป 2549-2551 เปนปของ Admission เริ่มตน อยางที่ไดเรียนใหทราบ แลวเราพลาดในป 2549 จึงตองขยับมา ในป 2550 ดังนั้น ในป 2550 นี้ ถาเดือนกุมภาพันธสอบแลวไมมีปญหา ความจริงแลว สทศ. จะรับทำเฉพาะ O-NET เทานั้น โดย A-NET จะให สกอ. ทำ เมื่อกอนมีหลายคนถามวา ดิฉันเขามาเปนผูอำนวยการ สทศ. ทำไม ในเมื่อชื่อเสียงมันติดลบ ตองขอบอกวา ดิฉันเองมีสวนรวมกับศูนยทดสอบทางการศึกษาในหลายๆ แหง และดิฉันเกือบจะไดเปนผูอำนวยการศูนย ทดสอบจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยคนแรก หนึ่ง. แหงนี้ ดิฉันก็ไดมีสวนรวมตั้งแตเริ่มมีพระราชกฤษฎีกา ถามันตั้งโดยเจตนาที่ดี เราก็นาจะทำใหมันดี และวันนี้เมื่อเกิดปญหาขึ้น ดิฉันจึงตองเขาไปชวย ความจริงดิฉันเปนกรรมการคัดเลือกผูอำนวยการ สทศ. ดวย แตดิฉันไดขอถอนตัวและสมัครเปนผูอำนวยการ สทศ. แทน มีคนเขามาชวยดิฉันมากมาย
  • 4. 74 โดย สกอ. เขายินดีจะรับ O-NET ไปทำ สวนที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ทปอ.) บอกวายินดีใหความชวยเหลือ สำหรับการสอบ O-NET นั้น ขอใหสอบครั้งเดียวยืนตาม สทศ. โดยหลักการ สทศ. จะจัดสอบใหนักเรียนชั้น ม. 6 หรือเทียบเทา เพียงครั้งเดียวโดยเปนการสอบผลสัมฤทธิ์ และ เด็กไมตองเสียคาสอบ คือสอบใหฟรีในครั้งแรก นักเรียน กศน. ก็สอบใหฟรีดวยเชนกัน แตมีเด็กจำนวน หนึ่งที่อยากจะสอบเพื่อรับความรูใหมก็สามารถเขาสอบได แตมีคาสอบวิชาละ 100 บาท ทีนี้ก็ตองไปผูกกับ การสอบครั้งที่สองของ ทปอ. วา ทปอ.จะเอาคะแนนใหมหรือไม เขาบอกวาจะขอยืนตาม สทศ. คือใหสอบได ครั้งเดียว แตหากเด็กตองการสอบ 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 จะไมนำมาเปนคะแนนสอบเขามหาวิทยาลัย ถามวาแลวจะ สอบครั้งที่ 2 ไปเพื่ออะไร เพราะการเขามหาวิทยาลัยจะคิดจากคะแนนการสอบในครั้งแรกเทานั้น เมื่อปที่แลว นาเห็นใจเด็กๆ มาก และตอนนี้ดิฉันก็ไดเขียนคำแถลงการณใหศาลปกครอง และ ทปอ. ประมาณ 7 ครั้งแลว ทปอ. ก็ถูกฟอง สอง. ในป 2550 จะใชเปอรเซ็นเหมือนป 2549 และคาดวาในป 2551 อาจจะใชเปอรเซ็นของGPAX GPA มากขึ้น ถาหาก GPA GPAX และ O-NET เชื่อถือได ตรงนี้เราตองใชเวลาพิสูจน ดิฉันคิดวาไมมีวิธีการ ประชาสัมพันธใดที่ดีเทากับพฤติกรรม ดังนั้น ถาในปหนาทุกอยางไมมีปญหา ขอสอบเชื่อถือได ดิฉันจะให เขาทำ incrating กับ GPA ที่ผานมา เพื่อดูวาเชื่อถือไดจริงหรือไม ซึ่งอาจจะมีโรงเรียนที่เกินจริงก็อาจจะถูก ลดลง สวนโรงเรียนที่โหดก็อาจจะถูกขึ้น ดังนั้น เทคนิคทางวัดผลสามารถทำได ภายใตขอมูลที่เชื่อถือได ในป 2552 เราคิดตุกตาไวหลายแบบ คือตอนนี้สำรวจไวผิดประเภทวาเขามหาวิทยาลัยเขาทำอยางไร มันก็ ตองสรุปลงดวย 1.เด็กตองกรอกใบสมัคร 2. ตองใชผลการเรียนในอดีต 3. มีคะแนนสอบเพิ่มขึ้นในวิชาที่คิดวา จำเปน สวนของเราก็อิงตรงนี้เหมือนกัน และเด็กก็สงใบสมัครไป แบบแรก การสอบนั้นตองมีศูนยทดสอบอิสระทำให ซึ่งหมายถึง สทศ. แตตอนนี้ตองมีองคกรที่เปน Admission กลาง เกิดขึ้นอีกองคกรหนึ่ง ซึ่งสามารถจะเคลียรขอมูลใหทุกมหาวิทยาลัยได โดยแนวโนมจะมีลักษณะเหมือนการรับตรง แตเด็กไม ตองวิ่งพลานสมัครและสอบ ดังนั้น ตรงกลางก็จะเปนที่รวมการสมัครและกระจายออกไป มหาวิทยาลัยก็จะตองมี Admission กลางใหกับตัวเอง กระจายไปที่คณะ เพื่อประสานกับสวนกลาง แบบที่สอง มีการสอบลวงหนาให และสงคะแนนให ตรงนี้เด็กไมจำเปนตองมายื่นคะแนน O-NET เอง เนื่องจากผูตรวจ ขอสอบเปนชุดเดียวกัน ดังนั้น คะแนน O-NET จึงสงตอไปยัง A-NET ไดเลย ดังนั้น สวนกลางนี้ นอกจากจัดทำใบสมัคร ถาไมจัดสอบเอง ก็ใหหนวยงานอื่นจัดสอบให และเคลียรเรื่องใหโดยเฉพาะเรื่องที่นั่งวางตางๆ ในการสอบรอบแรก จะตองเคลียรใหเต็มทุกที่ ที่ใดวางก็ใหเคลียรรอบสอง สาม สี่ เปนตน ตองจัดที่นั่งสอบใหเต็ม ดังนั้น ภายในเดือนพฤษภาคม ที่นั่งจะตองเต็ม ตอจากนั้น จะสอบสัมภาษณหรือตรวจรางกายก็แลวแตความเหมาะสม อยางนี้ คงจะไมมีมหกรรมการสอบ O-NET หรือถามีก็ตองเปนการสอบ aptitude test ขณะนี้ ดิฉันกำลังเคลียรกับทางศิลปะ โดยทางกลุมศิลปะเขาขอใหสอบความคิดสรางสรรคอยางเดียวไดหรือไม ซึ่งดิฉันคิดวาได และจะสอบใหเดือนตุลาคม และเวลาสอบสัมภาษณก็ใหเด็กนักเรียนนำชิ้นงานมาใหดู แตดิฉันไมเขาใจวา ทำไมวิชาศิลปะของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกับมหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงขอออกขอสอบคนละแบบ เพราะเปนคนละทฤษฎีกัน สวนขอสอบกลางเขาไมเอา เขาจะเอาขอสอบของเขา คณะบัญชีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกับคณะบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ก็ยังมีขอสอบตางกัน ดิฉันคิดวาถาคณะตางๆ รวมกันแบบคณะแพทยไดก็จะดี อยางไรก็ตามเราตองเห็นใจเด็ก ไมวาจะรับตรงหรือรับกลาง ก็ควรจะทำรวมกันไว เพราะเมื่อปที่แลวเขาบอกวาเด็กตองวิ่งสมัครหลายแหง แมกระทั่งภายในคณะของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตรยังมีการสมัครตางกัน สอบคนละวันกัน สวนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรนั้น บอกวาของเขาสมัครกลางและสอบในวัน เดียวกัน ดังนั้นเด็กจะตองเลือกวาจะสอบเขาที่ไหน เปนตน แตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเขาสอบคนละวัน ทำใหเราตองเขาไป ชวยตรงนี้ สำหรับการประชุมคราวหนา เราจะมีตุกตาป 2552 - 2554 เพราะดิฉันคิดวาเด็ก ม.3 ที่จะขึ้น ม.4 นั้น ควรจะตองรู ลวงหนา เพื่อจะไดเตรียมตัวลวงหนา ดังนั้น จึงตองประกาศลวงหนาอยางนอย 3 เดือน เพื่อใหเขาเตรียมตัว ทางเราเปนเพียง
  • 5. 75 แคตัวกลางหรือเปนแคสมอง ไมมีพลังเพียงพอ คนตัดสินใจคือเจาของ ทางเรามีหนาที่ทำอยางเดียว บางอยางที่เราเสนอเขาไป เขาอาจไมเห็นดวย บางครั้งเราจำเปนตองขอใหสื่อตางๆ ชวยกระตุนแทน เราพยายามทำทุกวิถีทาง ดิฉันคิดวา ลักษณะการ ทำงานแบบนี้คงจะทำไดไมนาน เพราะไมเปนระบบ และสักวันหนึ่งคงจะตองเลิก เพราะไมไดอะไรขึ้นมาจากการทำอยางนี้ ซึ่ง ทปอ. เอง เขาก็ไมคอยเชื่อเรา ถึงแมเราจะเสนอตัวทำให แตเขาก็ไมเชื่อเรา โดยขณะนี้ เขาไปตั้งอธิการบดี 2 คน ทำเรื่อง admission ในอนาคต และเรื่อง การรับตรง รับกลางจะทำอยางไร สำหรับ สทศ. เราคิดวา หากจะทำอะไร คงจะตองทำอยางมี หลักการดีที่สุด สรุปคำถาม-คำตอบ ผูถาม : ที่ประชุม ปอมท. ผูตอบ : ผูอำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (สทศ.) คำถามที่ 1 ปญหาของ ทปอ. จะเหมือนกับ ปอมท. ตรงที่เมื่อมีมติออกมาแลว หากมหาวิทยาลัยใดไมเห็นดวย ก็ไมตอง ปฏิบัติตามได ทำใหความชัดเจนแนนอนของแตละแหงไมเปนมาตรฐานเดียวกัน แมกระทั่งเรื่องการออกขอสอบ O-NET และ A-NET ก็ยังไมชัดเจนวาใครจะเปนผูออกขอสอบแนนอน คำตอบที่ 1 O-NET ทางมหาวิทยาลัยเปนผูออกขอสอบ สวน A-NET ทาง สกอ. จะเปนคนทำ ซึ่งทางดานวิทยาศาสตร ไดคุยกันแลว มีความเปนหวงเนื่องจากอาจารยผูออกขอสอบวิทยาศาสตร A-NET จะเปนอาจารยใหม ปกติ คำวา A นั้น มาจาก คำวา analitical หรือ aptitude ไมใช arrant ดังนั้น เมื่อเปน arrant ขึ้นมา จึงหมายถึงเลยหลักสูตร ซึ่งไมใช มันจะตองอยูใน หลักสูตร แตควรเปนการออกขอสอบที่ลึกล้ำซับซอนมากขึ้นตางหาก สวนเรื่องที่สอง คือ ทางดานวิทยาศาสตร ยังละเมออยูกับ เคมี ชีววิทยา และฟสิกส ดิฉันก็ถามวาในนี้เขาเรียกวา วิทยาศาสตร และมีสาระที่จะตองเรียนคือวิชาดาราศาสตรและอวกาศ ถามวาใครออกขอสอบ ปรากฏวา ยังไมมี ดิฉันจึงบอกใหทาง O-NET ออกขอสอบสวนนี้เพิ่มเติมใหครบ แลวจึงคอยนำ ขึ้นเว็บไซดวาเราออกตามหลักสูตรนี้ ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (เพิ่มเติม) ประเด็นแรกขอชี้แจงเพิ่มเติมวา เปนเรื่องปกติที่เราอยากจะมีความรวมมือกัน แตในชวงแรกเราอาจยังไมเขาใจกัน จึงไมไดรวมมือกัน แมแตคณะแพทยศาสตรที่ไดพูดถึงก็ตาม ความจริงแลวในที่ประชุมมหาวิทยาลัยทั้ง 13 แหง ก็ยังมีความไม เขาใจกัน บางแหงขอแยกตัว หลายแหงรวมตัวกัน แตเมื่อเวลาผานไปเริ่มมีความเขาใจกันก็จะรวมเปนหนึ่งเดียวกันไดในที่สุด ..................................................................... คำถามที่ 2 เรื่องกองทุนเงินกูยืมที่ผูกกับรายไดในอนาคต (ICL) มีบางมหาวิทยาลัยเปดรับนักศึกษาจำนวนคอนขางมาก อาจเพราะ เขาใจวาเมื่อรับนักศึกษามาก ก็จะทำใหไดรับเงินจากกองทุน ICL มากดวย ซึ่งอาจทำใหคุณภาพการศึกษาดอยลงไปตาม อัตราสวน คำตอบที่ 2 ปญหานี้ ถาวิเคราะหลึกๆ แลว ในฐานะที่ดิฉันไมไดเปนอธิการบดี ก็อาจตั้งประเด็นคำถามขึ้นมาวา 1. เราไดอธิการบดีที่ดีพอหรือไม มาจากการแตงตั้ง หรือมาจากรองอธิการบดี 2. คนที่เปนอธิการบดีมืออาชีพควรจะรูบทบาทของมหาวิทยาลัยวา ควรจะรับนักศึกษาปริมาณเทาไหร จึงจะมีความ
  • 6. 76 เหมาะสม ทั้งนี้ อัตราสวนอาจารยผูสอนกับนักศึกษา หากไมสมดุลกัน จะทำใหคุณภาพการศึกษาดอยลง วิธีแกไขปญหาหากหลีกเลี่ยงไมไดก็คือ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยในการสอน เชน การใช e-learning ชวยสอน ซึ่งไดผลเปนที่นาพอใจ เปนตน และตัวดิฉันเองก็ไดรวมจัดทำหลักสูตร e-learning แบบนี้มาแลว 4 หลักสูตรแรก ในประเทศไทย จนบางคนเรียกเจาแม e-learning ไปแลวก็มี สิ่งนี้จะชวยลดภาระงานสอนของอาจารยไดมาก ..................................................................... คำถามที่ 3 เรื่องแรกที่อาจารยไดพูดไปแลวนั้น เมื่อเรายอนกลับไปดูระบบ entrance ถามวาทำไมเราใชรวมกันทั้งหมดได ถึงแมจะมีระบบตรงของแตละมหาวิทยาลัย แตก็ไมไดไปรบกวนกับระบบกลาง คิดวาแนวทางนี้อาจจะนำมาชวยได ปญหาอีกเรื่องที่อยากใหชวยดูแล คือ โอกาสทางการศึกษา และผลกระทบทางจิตใจที่มีตอเด็ก เราพบวาเมื่อปที่ผานมา เด็กตองตระเวนสอบหลายแหง บางครั้งตองเดินทางไกล เพื่อไปสอบเขามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ซึ่งเด็กในพื้นที่ตางจังหวัด ไกลๆ แทบจะไมมีโอกาสเดินทางไปสอบเลย ทำใหเกิดการไดเปรียบเสียเปรียบกัน ปญหาจากการจัดสอบเมื่อปที่ผานมา ซึ่งผมในฐานะประธานสภาคณาจารยไดเขาไปชวยดูแลเรื่องนี้ดวย คือเจาหนาที่ คุมสอบประทวง ไมยอมปฏิบัติหนาที่ เนื่องจากเขาคิดวามีปญหาที่ไมไดรับความเปนธรรม เชน ปญหากฎระเบียบ ขอหามตางๆ มีมากเกินไป ปญหาคาตอบแทนเจาหนาที่เมื่อเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ปญหาเรื่องเขตการศึกษา ปญหารายชื่อนักเรียน หายไปหรือสลับไปอยูคนละที่กัน เปนตน อีกประเด็นปญหา คือเรื่องกำหนดเวลาการสอบ O-NET ที่อาจารยกำหนดไวนั้น บังเอิญตรงกับการสอบไล ของมหาวิทยาลัย ทำใหอาจารย นักศึกษา และเจาหนาที่เกิดปญหาในเรื่องการจัดเวลาสอบไล มหาวิทยาลัยบางแหงตอง เลื่อนการสอบของตนเองเพื่อเปดทางใหเด็กสอบสวนกลางกอน เปนตน อยากให ทปอ. นำปญหาตรงนี้มาพิจารณาดวย เพื่อกำหนดเวลาการสอบไลใหตรงกันในทุกมหาวิทยาลัย จะทำใหไมมีปญหาเปดเรียนเหลื่อมล้ำกันได สำหรับเรื่องระบบคอมพิวเตอรควรตองสมบูรณพรอมทำงาน เพื่อไมใหเกิดปญหาเหมือนปที่ผานๆ มา ปญหาความอิสระในการจัดการสอบของศูนยสอบ เนื่องจากอำนาจสวนใหญรวมอยูที่ สทศ. เชน การสงรายชื่อ ผูคุมสอบประจำศูนยสอบที่ผานมา หนวยจัดสอบจะทราบรายชื่อกอนเพียง 1 ชั่วโมงเทานั้น เปนตน ปญหาคาตอบแทนเจาหนาที่และผูคุมสอบ ถือเปนเรื่องสำคัญที่อยากใหชวยแกไขดวย ปญหาสุดทาย คือ ระบบการตรวจสอบรายชื่อของเด็กที่สมัครสอบ เนื่องจากบางพื้นที่หางไกลความเจริญ การตรวจ สอบรายชื่อผูมีสิทธิ์สอบทางอินเทอรเน็ตเพียงอยางเดียว ไมอาจทำไดสะดวกเทาเด็กในเมืองใหญๆ จึงขอใหชวยคิดหาวิธีแก ปญหาตรงนี้ดวย เพื่อใหเด็กทราบวาตัวเองมีรายชื่อถูกตองตามที่สมัครไวหรือไม คำตอบ 3 มหาวิทยาลัยแตละแหงเขามีพระราชบัญญัติรองรับการคัดเลือกคนเขาเรียน ดังนั้น เปนอำนาจของแตละแหงซึ่งจะตอง มาคุยกัน และไดขอให สกอ. ซึ่งเปรียบเสมือนเลขานุการชวย ทปอ. ทำเรื่องนี้ ทำไปทำมา สกอ. กลายเปนนาย สวน ทปอ. กลายเปนเลขานุการ สำหรับเรื่อง entrance ดิฉันคิดวาการสอบ O-NET เปนเรื่องที่เด็ก ม. 6 ทุกคนจะตองสอบอยูแลว เพื่อดูคุณภาพของโรงเรียน จะไดปรับปรุงคุณภาพใหสูงขึ้น ดิฉันคิดวาถาทุกโรงเรียนมีคุณภาพใกลเคียงกัน เด็กก็จะเขาเรียน โรงเรียนใกลบาน ไมตองเดินทางไปสอบเขาโรงเรียนที่มีชื่อเสียงไกลๆ กรณีปญหาระบบการตรวจสอบ ชวงนี้เปนชวงสำรวจขอมูล ซึ่งเรามีการประชุมรวมกับศูนยสอบทั้งหมด 38 แหง ก็จะมี การสำรวจชื่อนักเรียน ชื่อโรงเรียน สนามสอบ เลขประจำตัวสอบ รหัสโรงเรียน ขอมูลตางๆ เปนตน โดยวันที่ 15 พฤศจิกายน 2549 เราจะไดขอมูลตัวนี้ คุณจะมีคาใชจายในการสำรวจเทาไหร เราจะใหเงินคุณไปหาขอมูลตัวนี้มาใหได เนื่องจากดิฉันมีแหลง ขอมูลอยูประมาณ 3 แหลง คือ 1.แหลงขอมูลจาก สพฐ. จะไดรับขอมูลประมาณสิ้นเดือนตุลาคม 2549 และดิฉันรูวาขอมูลไมเคย ตรงกันเลย เราจึงตองลงไปสำรวจเองโดยสำรวจจากฐานขอมูลปที่แลว ตอนนี้ฐานขอมูลที่ชัดเจนที่สุด จะมีรหัสโรงเรียน ชื่อนักเรียน รหัสนักเรียน เปนรายโรงเรียน จะนำขึ้นไวกอนเลย ซึ่งจะ matching กันและจะทำรอไวเลย ฉะนั้น ผูที่จะเขาสอบก็จะ
  • 7. 77 matching ตัวนี้ เด็กอาจจะมีแครหัสนักเรียน แตก็ matching 13 หลักใหได ผูที่จะมาชวยดิฉันทำก็คือ ศูนยสอบ 18 แหง เราจะ ทำขอมูลใหนิ่งภายในเดือนธันวาคม 2549 ซึ่งยังพอมีเวลา สำหรับคาตอบแทนเจาหนาที่ในการจัดสอบ เราไดตกลงกันแลววา จะให maximum ซึ่งจะทำการสำรวจกอนวาเขาได จากหนวยงานไหนเปนเงินเทาไหร เราก็จะใหเขา maximum ตามนั้น สำหรับเรื่องกฎ ระเบียบตางๆ ดิฉันคงตองกลับไปดูใหม สวนสนามสอบ จะใหอิสระกับศูนยสอบไดมีสิทธิ์ตัดสินใจเลือก สนามสอบที่สะดวกกับเด็ก โดยระบุมาใหเราทราบวามีขอบเขตพื้นที่ใดสะดวกกับเด็กมากที่สุด หากเด็กไมสะดวกที่จะเดินทางไป สมัครสอบที่โรงเรียน ก็สามารถสมัครสอบไดที่ศูนยสอบ ทางศูนยสอบจะจัดการใหทั้งหมด เรื่องวัน เวลาสอบ วันที่ 24-25 กุมภาพันธ 2550 นั้น บังเอิญเปนประกาศจากเมื่อปที่ผานมา จึงไมอาจเลื่อนได ในป ตอไปจะลองดูชวงเวลาอีกครั้งเพื่อไมใหมีผลกระทบกับการสอบไลและการสอบรับตรงของแตละมหาวิทยาลัย รายชื่อผูคุมสอบแตละมหาวิทยาลัยจะไดภายในสิ้นปนี้แนนอน และเนื่องจากเราไดรับขอมูลจากทุกโรงเรียนวา มีการ คุมสอบไมคอยไดมาตรฐาน ดังนั้น ทางศูนยสอบจะตองสงคนไปกำกับดูแลการสอบเพื่อใหไดมาตรฐาน เราไดรับทราบขอมูลปญหาตางๆ ในปที่ผานมา จากหัวหนาศูนยสอบซึ่งเปนคณะกรรมการดำเนินการ โดยหวังวา ปญหาจะไมเกิดขึ้นอีกในปนี้ ..................................................................... คำถามที่ 4 ปญหาที่เกิดขึ้นมากมายจากปที่ผานมา ในอนาคตจะเปนไปไดหรือไมที่วิธีการเขามหาวิทยาลัยจะเหลือเพียง GPA GPAX และ ACTIVE TEST เทานั้น คำตอบที่ 4 คิดวาในป 2552 จะเปนปที่เริ่มสมบูรณแบบ เพราะจะมี GPAX และ GPA ที่ปรับเรียบรอยแลว ไมใชดิบๆ เพราะจะ เชื่อถือไมได อยางที่สอง ถาหาก 9 สายอุดม รวม PAX กันไดหรือไมวา คุณอยากจะสอบ aptitude อะไร สทศ. จะจัดสอบใหได แตก็ ยังไมเคยไดรับคำตอบ ..................................................................... คำถามที่ 5 เปนหวงเรื่องการกวดวิชาตลอดชีวิต ปจจุบันมีการเริ่มกวดวิชาตั้งแตเรียนชั้น ป.1 ดังนั้น เราจะทำอยางไร ที่จะใหครู มีคุณธรรม จริยธรรม ในการสอนอยางเต็มที่ไดอยางไร ? คำตอบที่ 5 เรื่องนี้ สทศ. และ admission ชวยไมได เปนเรื่องที่ สพฐ. จะตองดำเนินการตรงนี้ ..................................................................... คำถามที่ 6 เรื่องความโปรงใสในการสอบไดวางแผนปองกันการทุจริตสอบไวอยางไรบาง ? คำตอบที่ 6 ดิฉันอาจตองใชประสบการณของ สกอ. โดยอาจใชตำรวจหรือไอทีชวยตรวจสอบ เพราะเคยมีคนแอบอางเขามาสอบ
  • 8. 78 แทนกัน แตขณะนี้ไดคุยกับที่ปรึกษาทางดาน IT แลว คิดวาอาจจะใชวิธีสบตาวาใชตัวจริงหรือไม อีกวิธีคือ การพิมพลายนิ้วมือ และตรวจสอบวาใชหรือไม ..................................................................... คำถามที่ 7 ผมคิดวาเมื่อปที่ผานมามีปญหามาก สิ่งหนึ่งอาจเปนเพราะเราไมมีการซักซอมแผนลวงหนา ทำใหไมทราบปญหา ลวงหนา หากมีการทดลองซักซอมแผนการสอบ หรือทดลองใชระบบตางๆ กอนการสอบจริง นาจะชวยใหทราบปญหาและวิธี การปองกันปญหาลวงหนาได เชน ตัวเลขรหัส 13 หลัก เปนตน คำตอบที่ 7 จะลองทดสอบระบบทั้งหมดดู แตตองขึ้นอยูกับคาใชจายดวย เพราะเราไดงบประมาณจากสำนักงบประมาณเพื่อจายคา ใชจายตอหัวไดเพียงเล็กนอยเทานั้น ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (เพิ่มเติม) ประเด็นปญหาตางๆ ผมคิดวาเปนเรื่องการกำกับ ดูแล และติดตาม ทั้งนี้ หากอาจารยตองการให ปอมท. ชวยเหลือ สวนใดก็ยินดีอยางยิ่ง เพราะเรามีคนเกงๆ ที่พรอมชวยเหลือหลายทาน ..................................................................... คำถามที่ 8 ผมอยากขอความรูจากอาจารยในฐานะที่เปนนักวิชาการเรื่องการวัดและการประเมิน อาจารยยกหลักสูตรขึ้นมาแลว บอกวาตองวัดตามหลักสูตร โดยมีเปาหมายของหลักสูตรที่ชัดเจน คือ ตองสรางเด็กเกง ดี มีสุข แตที่เราพูดกันสวนใหญนั้น กลายเปนเนนในเรื่องเด็กเกง และจำกัดวงในเรื่องของผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาในสวนที่เปนเนื้อหาวิชาเทานั้น ซึ่งคอนขางแคบ ในแงของวิชาการ เราควรจะทำอยางไรบาง ที่จะหาวิธีวัดในเรื่องของความดี และมีความสุข และเปนเกณฑอยางหนึ่งใน การคัดเลือกที่จะนำเด็กเขาสูมหาวิทยาลัย ซึ่งนโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดเนนเรื่องคุณธรรมนำความรู สวนทานนายกรัฐมนตรีก็เนนในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น ในแงของนักวัดและประเมิน ถาจะใหตอบสนองปรัชญาในการ บริหารและทิศทางการศึกษาแนวใหม รูปแบบการวัดและการประเมิน และการคัดเลือกคนเขาสูมหาวิทยาลัยนาจะเปลี่ยนแปลง คำตอบที่ 8 ดิฉันหวังไวในป 2552 โดยมหาวิทยาลัยจะตองมีหนวยงานกลาง ซึ่งมหาวิทยาลัยจะตองดูจาก transcript ของนักเรียน ม.4 ม.5 ม.6 เพราะตัวนี้จะเปนตัวบอกขอมูลมากมาย เชน คุณลักษณะที่พึงประสงคได ดังนั้น ทางโรงเรียนก็ตองแนบ คุณลักษณะเหลานี้มาพรอมผลการประเมินจากโรงเรียน ดังนั้น transcript จึงเปนตัวขอมูลที่มหาวิทยาลัยจะใชพิจารณาได แตตองเปนขอมูลที่นาเชื่อถือได อีกเรื่องหนึ่ง คือ เรื่องการอานคิดวิเคราะห ซึ่งเปนอีกหนึ่งขอมูลที่มหาวิทยาลัยจะใชได แตแปลวา transcript ตองเชื่อถือได และโรงเรียนตองจริงจัง ดิฉันคิดวา สมศ. เขายังไมคอยจริงจังเรื่องการวัดผลมากนัก ..................................................................... คำถามที่ 9 ตามที่อาจารยบอกวา ในป 2552 จะนำ GPA ที่ปรับแลวมาใช สิ่งที่ผมหวงคือ เมื่อ 2-3 ปที่ผานมา พอเริ่มมีการใช GPA ซึ่งมี แนวโนมวาจะมากขึ้น ทุกโรงเรียนก็จะเพิ่ม GPA ชนิดที่เรียกวา นักเรียนที่เรียนดีจากที่สมัครเปนพันกลายเปนหมื่นคนและ
  • 9. 79 ทั้งหมดลวนไดเกรดเฉลี่ย 4 รวด จนขณะนี้ หลายคณะตองยกเลิกการรับนักเรียนจากโรงเรียนนี้ไป บางคนบอกวา โรงเรียนนี้ ปลอยเกรดใหคูณดวย 0.8 โรงเรียนโนนคูณอีกอยางหนึ่ง ผมคิดวาเด็กที่สอบเขามหาวิทยาลัยตางคนตางสอบ ไมไดสอบยก ทั้งโรงเรียน และแตละคนตางก็มีปจเจกไมเหมือนกัน แตทำไมจึงใชกฎเกณฑเดียวกันเหมาทั้งโรงเรียน นี่คืออีกปญหาหนึ่ง ซึ่งเด็กฝากมา ดังนั้น การนำ GPA ที่ปรับแลวมาใช ในป 2552 นาจะยังใชไมได หากตรงนี้ยังไมมีมาตรฐานเพียงพอ อีกอันหนึ่ง คือ จะเปนไปไดหรือไม ที่กระทรวงศึกษาธิการจะกำหนดใหทุกมหาวิทยาลัยที่มีสายวิชาชีพเดียวกัน ใหทำตามแบบคณะแพทยศาสตรเหมือนกันหมด ไมเชนนั้นจะเกิดความวุนวายในเรื่องของระบบ Admission อยางมาก คำตอบที่ 9 ตอนนี้เราจะใชแบบนี้ แตขางบนจะเปนตัวที่เราไดขอมูล และหนึ่งในการไดมาซึ่งขอมูลนั้น คือ คุณจะเขามหาวิทยาลัย หรือไม ดังนั้น ตอนวิเคราะหขอสอบเราจะวิเคราะหเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งวิเคราะหทั้งภาพรวม และอีกกลุมหนึ่งคือพวกที่จะเขา มหาวิทยาลัย และความจริงแลวเราจะวิเคราะหเปนรายโรงเรียนอีกตางหาก จะไดรูวาคะแนนสอบของเด็กที่อยูโรงเรียนเตรียมกับ เด็กที่เรียนอยูตางจังหวัดจะมีผลวิเคราะหเปนอยางไร ดังนั้น GPA ที่ถูกปรับ ก็ตองปรับภายใตคนที่จะเขามหาวิทยาลัยของโรงเรียนนั้น ๆ มากกวาจะเอาทั้งหมด เพราะ ตอนนี้ สทศ. เกิดขึ้นไมใชตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติฯ แตเกิดขึ้นจากรัฐมนตรีหญิงคนหนึ่งอยากใหเกิดขึ้น ซึ่งคอนขางทุลักทะเล และกวาพระราชกฤษฎีกาจะออกมาไดตองใชเวลานานมาก เพราะไมไดเกิดขึ้นมาตามพระราชบัญญัติการ ศึกษาแหงชาติฯ เราไมมีสิทธิ์บังคับใหเด็กสอบ แตโรงเรียนมีสิทธิ์ใหเด็กจบ เด็กจะตองตั้งใจสอบ O-NET เราไดคุยกับอาจารย วิจิตรวา จะทำอะไร อยางไรวา อยางนอยควรสรางเปนเงื่อนไขใหเด็กมีความตั้งใจที่จะสอบ เพื่อใหคะแนนสอบ O-NET ของเด็ก สามารถเชื่อถือได ซึ่งมันจะสะทอนกลับไปที่โรงเรียนวามีความนาเชื่อถือเพียงใด ดังนั้น ดิฉันคิดวา คะแนนที่ไดในภาพรวม คงตองตัดขอมูลจำนวนหนึ่งออกไปกอนวิเคราะห ..................................................................... คำถามที่ 10 ขอสนับสนุนแนวคิดของ ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุมพล พูลภัทรชีวิน เนื่องจากในระยะ 5-6 ปที่ผานมานั้น เราลืมเรื่อง ของการสอนใหเด็กเปนคนดี เพราะเรามุงแตใหเด็กเปนคนเกง เมื่อจบไปแลวจะสามารถหาเงินไดมากขึ้น ดังนั้น ที่อาจารย บอกวา รอป 2552 นั้น บางทีอาจจะชาเกินไป และประกาศบางอยางที่อาจารยบอกวาเปลี่ยนแปลงไมไดนั้น เนื่องจากเราไดมีการ ปฏิรูปการปกครองใหม อาจารยอาจจะใชเหตุนี้ในการขอเปลี่ยนแปลงได เมื่อวานนี้ไดฟงการบรรยายพิเศษจากศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน ซึ่งพูดไดประทับใจวา เราไมอาจทำใหเด็กเกงเปนเด็กดีได แตเราสามารถทำใหเด็กดีเปนเด็กเกงได ดังนั้น ภายในระยะเวลา 1 ป ของรัฐบาลชุดนี้ หากเปลี่ยนแปลงแกไขอะไรได ก็อยากใหดำเนินการโดยเร็ว โดยเฉพาะเรื่องของการสราง คนดี คำตอบที่ 10 เรื่องนี้ดิฉันคิดวา ที่ประชุม ปอมท. อาจทำหนังสือถึงแตละมหาวิทยาลัยที่รับตรง โดยขอใหชวยรับนักศึกษาที่เปน คนดีได วิธีนี้สามารถทำไดงายและรวดเร็วที่สุด ..................................................................... คำถามที่ 11 ขอเสนอความคิดเห็นในสวนของการสอบ O-NET วา หากตองการใหเด็กมีความตั้งใจที่จะสอบ O-NET มากขึ้น อาจกำหนดใหความสำคัญในการสอบ O-NET ของโรงเรียนนั้น เปนตัวบงชี้ตัวหนึ่งในการประเมินสถานศึกษาดวยก็ได เพื่อเปน แรงกระตุนใหเด็กตองตั้งใจทำ O-NET มากขึ้น
  • 10. 80 คำตอบที่ 11 ขอมูลคะแนนสอบคงจะตองสอดคลองกับผลการประเมิน แต สมศ. เขามีปญหาคอนขางเยอะ เพราะเขาใชบริษัท เปนคนประเมิน จนบางครั้งคิดวาผลการประเมินนั้น เชื่อถือหรือไม แตอยางไรก็ตามมันตองไปดวยกัน ในสวนของเราหากผลการ ประเมินไมดี คะแนนสอบก็ตองไมดีดวย ซึ่งตองสอดคลองกัน ..................................................................... คำถามที่ 12 เรื่องการรับเด็กที่ entrance ตรงนั้น คนไมดีเขาก็ไมสอบรับตรง แตจะมารอสอบ entrance กลาง จริงๆ แลวเด็กภาค ใตเขาก็จะไมไปสมัครสอบตรง เขาก็ไมอยากจะอยูที่เดิมอยูแลว เขาตองการสอบเขาที่ใหม อนึ่ง อยากใหอาจารยออกขอสอบลักษณะการวัดความคิดดีของเด็ก รวมเขาไปอยูในขอสอบ entrance กลาง โดยรวม แลวเปน 100 % ดวย เพื่อใหเปนการวัดเด็กดี เกิดเปนรูปธรรมมากขึ้น คำตอบที่ 12 ถาพูดตามตรง แตละมหาวิทยาลัยอาจจะทำโครงการชางเผือก หรือโครงการอะไรก็ได เพื่อรับเด็กดีเขามาเรียน เปนตน สำหรับบทบาทของ สทศ. ตองบอกวา จริงๆ แลว ไมเกี่ยวของอะไรกับการเขามหาวิทยาลัยเลย สกอ. ก็จะเอาคะแนน O-NET ใหได สวนประธาน ทปอ. ขณะนั้น เห็นวาไดมาฟรีๆ ก็จะเอาดวย พอไดคะแนน O-NET มาอยางสบายๆ ก็นำไปผูกเขา กับการสอบเขามหาวิทยาลัยทันที ซึ่งดิฉันจะคานตลอดวา การสอบนั้นมันจะตองมีวัตถุประสงค หากตองการดูผลสัมฤทธิ์ ขอสอบตองไมยาก สวนการเขามหาวิทยาลัยซึ่งมีที่นั่งจำกัด ขอสอบตองยากและซับซอน มันคนละชนิดกับขอสอบ แตเมื่อทาน นำขอสอบมาหนึ่งฉบับแลวใชทุกวัตถุประสงคแสดงวานี่คือมั่ว เพราะทานมั่วในเรื่องวัตถุประสงคของการออกขอสอบ ปที่แลว forum เราคานมากๆ แตทานศาสตราจารยพิเศษภาวิช ทองโรจน บอกวาทำไดไมมีปญหา เขาพรอมสอบได ดังนั้น O-NET จึงถูกนำไปผูกกับ admission ทั้งๆ ที่บทบาทของ สทศ. ไมเกี่ยวกับ admission เลย ดังนั้น การสอบของ สทศ. เราสอบเพื่อ วัดคุณภาพของโรงเรียน ไมใชเปนการสอบเพื่อเตรียมเขามหาวิทยาลัย ความจริงที่ตนเองนั่งเปนประธาน admission forum นั้น ทำงานใหฟรีไมไดอะไรเลย บางครั้งเรารูสึกไมคอยดีเวลา เขาไปเสนองานในที่ประชุม ทปอ. จะถูกมองแปลกๆ วาเราตองการอะไรจาก ทปอ. ทั้งๆ ที่เราทำงานตรงนี้เพื่อเด็กๆ และประเทศชาติ แตทุกครั้งที่เขาประชุมเราจะมาดวยวิชาการ หลักการ และขอมูลการวิจัย เพื่อนำมาเสนอ ทปอ. พิจารณา ดิฉันมีอีก 2 ประเด็น คือ ดิฉันคิดวา หลักการศึกษา คือ “การหลอมและเหลา” ในที่นี้ “หลอม” คือ integrate นักเรียน นักศึกษา สวน “เหลา” คือ เพื่อใหเขาคมชัด และลึก ดังนั้น ปรัชญาของประเทศไทยคือการหลอมและเหลา แตกลับไมมีใครสนใจ ดิฉันพยายามพูดในที่ประชุมหลายแหงวา ทุกมหาวิทยาลัยใหเอาเด็กเกงมาเรียน แทบไมตองสอนเลย เพราะเขาทำเอง ได คำถามคือ ถาทานเอาดาวมาปนทานก็จะไดดาวบวกหรือดาวหลายดวง แตถามวาคนในมหาวิทยาลัยไดปนดาวที่ไดมานั้น อยางไร แตปรากฏวามีบางแหงไดดาวมาแตกลับไมไดปนเลย เขาเปนดาวมาเอง และเขาก็จบออกไปเปนดาว แตพวกดินเรา ไมเอา เราไดเขี่ยออกไป แลวเขาไปอยูที่ไหน ดิฉันคิดวาไมยุติธรรมเลย บางคนบอกวายังมีมหาวิทยาลัยเปดอยางมหาวิทยาลัย รามคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรองรับอยู แตพวกดินก็บังเอิญไมคอยอยากจะไปมหาวิทยาลัยเปด มันจึงกลาย เปนขอสงสัยอยูทุกวันนี้วา อะไรคือความถูกตอง ผูชวยศาสตราจารย.ธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (เพิ่มเติม) อำนาจในการรับเด็กเขาศึกษานั้น เปนอำนาจของมหาวิทยาลัย นี่คือเหตุผลที่ ผูชวยศาสตราจารย ดร.จุฑามาส จิตตเจริญ อยากจะเห็นทุกมหาวิทยาลัยรวมมือกัน ตรงนี้เนื่องจากเปนอำนาจของแตละบุคคล เขาก็จะดูแล ในสิ่งที่สมประสงค มหาวิทยาลัยหลายแหงอยากไดเด็กเกง อาจารยพอจะทราบดีวามีบางแหงไมตรงไปตรงมา เพราะฉะนั้น หลายๆ แหงจึงตองมองความตองการของตนเองเปนสำคัญ การรวมมือกันจึงยังมีอุปสรรคอยู จนกวาเราจะเคลียรกันใหหมดกอน และถาพูดตรงๆ ก็คือ ทั้ง 13 สถาบันแพทยที่รวมดำเนินการแบบเดียวกันนั้น ถาพูดตามตรงก็คือ ตองการเด็กเกงเขามาเรียน อยูดี ตรงนี้ ผมคิดวาเราจะทำอยางไรเพื่อใหเกิดความเขาใจเดียวกัน เมื่อใดเราทำเพื่อตัวเองความเขาใจก็เกิดยาก แตเมื่อใด เราทำเพื่อประโยชนตอสวนรวม โอกาสความรวมมือก็จะมีขึ้นได มันเปนไปไดที่แตละคนจะยืนตางมุมกัน เพียงแตตอง
  • 11. 81 เขามาคุยกัน และเขาใจในขอมูลเดียวกัน ผมคิดวาทุกคนอยากใหคุณธรรมนำความรู แตผมคิดวา หลายๆ เรื่องเปนเรื่องของโอกาสพัฒนา ซึ่งอาจารยวิจิตร ไดเคยกลาวไววา หากตองการทำอะไรใหเกิดผลเร็วจะตองทำประชานิยม แตการศึกษานั้น จะทำใหเกิดผลรวดเร็วไมได จำเปน ตองใชระยะเวลา ตรงนี้คิดวาเราจะทำอยางไรเพื่อจะสรางความรวมมือและไปดวยกันได ..................................................................... คำถามที่ 13 ดิฉันมีความรูสึกวา ปจจุบันมหาวิทยาลัยสวนใหญกำลังแยงเด็กกัน ดิฉันคิดวาจำนวนของเด็กที่เขามหาวิทยาลัย จะพอๆ กับที่นั่งในอนาคต ปญหาของมหาวิทยาลัย ดิฉันคิดวาคงไมใชปญหาที่ สทศ. เพียงอยางเดียว ตัวอยางเชน ปญหาเรื่อง เกรดที่ปรับโดยการคูณตัวหาร ซึ่งมันอาจไมยุติธรรมกับเด็กที่เรียนดี เปนตน ดังนั้น ปญหาที่เกิดขึ้นในเรื่องของ admission นั้น ไมใชปญหาของ สทศ. อยางเดียว แตเปนปญหาของกระทรวงศึกษาธิการโดยรวม ซึ่งจะตองแกปญหารวมกัน ประเด็นก็คือ เรื่องเกรดควรจะตองทำอยางไร National Test ที่ดิฉันไดฟงอาจารยประทีปพูดในวันนั้น ไดเห็นอะไรเยอะมาก จริงๆ แลว National Test มีอันเดียวก็พอแลว และจะทำอยางไรใหเปนที่ยอมรับ สิ่งที่งงมากๆ ในฐานะผูปกครอง คือ ขอดีของ admission ปที่แลวคือ เขาจะเกงอินเทอรเน็ตมาก เพราะเขาจะตองเขาไปสมัครและสืบคนรายชื่อ แตสิ่งที่เปนกังวลคือ เขาจะตองเสีย คาใชจายในการสมัครเยอะมาก อาทิ สมัคร O-NET สมัคร A-NET สมัครรับตรง จนเขาเกิดความสับสน และยิ่งตอนประกาศผล ทางอินเทอรเน็ตแลวเว็บไซดลม ยิ่งทำใหเกิดความกังวลมากขึ้นอีก ตรงนี้ คงจะเปนบทเรียนใหกับประเทศไทย แตสิ่งที่ดิฉันอยากเห็นในฐานะนักวิชาการ คือ จะทำอยางไรใหสังคมนี้เปนที่ เชื่อมั่นกับหนวยงานของรัฐได โดยเฉพาะการรับนักเรียนเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย เราจะทำอยางไรถึงจะไดทั้งเด็กดีและ เด็กเกง และทำอยางไรพวกเราถึงจะทำใหเด็กเปนคนดีได คิดวาตรงนี้สำคัญมาก และอยากใหแตละหนวยงานที่รับผิดชอบ รวมมือกันทำตรงนี้ใหดี คำตอบที่ 13 ประเด็นแรก National Test โดยหลักแลว จะพยายามใหเด็กตองสอบเพียงครั้งเดียว ดิฉันไดคุยกับทานเลขาธิการ คนเกาของกระทรวงศึกษาธิการ ทานบอกวา การสอบ National Test เปนหนาที่ของ สพฐ. ที่จะตองจัดสอบ ดังนั้น เขาจึงมี หนวยสอบ และวันหนึ่งเมื่อทานเกษียณอายุราชการไปแลว ทานก็บอกวา สทศ. จะตองสอบ National Test ดิฉันก็แปลกใจวา ทานเพิ่งพูดไมนานทำไมเปลี่ยนได และทานก็บอกวา คนที่รักษาการ สพฐ. ก็ประกาศวา National Test จะตองสอบเอง ซึ่งทาน ไมเห็นดวย ดิฉันก็บอกวาไมเปนไร และตั้งใจวาจะคุยกับเลขาธิการคนใหมวา ขอแรก ถาเขาจะทำ ตองทำใหดี และคะแนน ตองเชื่อถือได คุมสอบใหดี และทางเราจะเขาไปชวย แตโดยหลักการแลวตองสอบครั้งเดียว แตถาคุณไมทำเราจะทำให ขอที่สอง GPA จะขึ้นสูงทุกแหงสม่ำเสมอประมาณ 0.5 ซึ่งปจจุบันเห็นวาขึ้นอยางสม่ำเสมอจริงๆ คาดวาปหนาเด็กคงจะไดเกรดเฉลี่ย 4.00 เกือบทุกคน สำหรับเรื่อง การทำเด็กดีใหเปนเด็กเกง ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการไดกลาวไวนั้น คงตองเปนหนาที่ ที่ทานจะตองทำ ดิฉันเองก็ไมแนใจวาภายในระยะเวลา 1 ป ทานจะทำไหวหรือไม เห็นวาทานมีความคิดอยูแลว และมีโรงเรียน ของอาจารยอาจองเปนตัวอยาง ชวงนี้ ดิฉันและศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน จะไปรวมกิจกรรมคายอาสาสมัครจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประมาณ 2 สัปดาห ซึ่งประโยชนของการเขาคาย จะชวยเปลี่ยนความคิดเราใหทำเพื่อสวนรวม และรวมไปถึงทำเพื่อประเทศชาติ ดังนั้น วิชาคายจึงมีประโยชนมากสำหรับการทำคนเกงใหเปนคนดี สำหรับการสอบ A-NET ทางเราจะให สกอ. ทำ A-NET เฉพาะในป 2550 เทานั้น เพราะดิฉันคิดวาทางเรายังไมพรอม ที่จะทำเอง แตในปตอไปคิดวา สทศ. จะทำทั้ง O-NET และ A-NET เอง และคนจะเห็นความแตกตางกัน ทั้งนี้ ดิฉันตั้ง ความหวังวาจะไมออกขอสอบในแบบที่ผานมา ไมรูวาทำกันมาไดอยางไรเปน 10 ป คือการตั้งทีมกลางเดินสายไปตามโรงเรียน แตละภูมิภาค แลวเรียกครูโรงเรียนมาอบรมเนื้อหาและวิธีการออกขอสอบ เสร็จแลวก็ครูเหลานี้ออกขอสอบ ดิฉันคิดวาวิธีนี้
  • 12. 82 ไมถูกตอง เพราะคนออกขอสอบได จะตองเปนคนเกง รูเนื้อหาวิชาอยางดี รูวิธีการออกขอสอบ และไมตองมาฝกอบรม สำหรับ เรื่องการฝกอบรมครูเปนหนาที่ของ สมศ. เราอาจจะเขาไปชวยไดในภายหลัง แตถาตองการไดขอสอบที่ดี ตองไดจากคนที่มี ความรูในเนื้อหาวิชา และรูวิธีออกขอสอบเปนอยางดีดวย ดังนั้น ในเรื่องการสอบ A-NET นั้น เขาจะสอบให 2 ครั้ง และมีอายุความ 2 ป เพราะฉะนั้น เด็กก็มีโอกาสสอบได ทั้งปนี้และปหนา แต O-NET จะสอบไดครั้งเดียวตลอดชีวิต ..................................................................... ผูชวยศาสตราจารยธวัชชัย พีรพัฒนดิษฐ (ประธาน ปอมท. กลาวปด) ผมวาวันนี้ อาจารยไดใหขอมูลชัดเจน และทาง ปอมท. ตองขอขอบคุณ ศาสตราจารย ดร.อุทุมพร จามรมาน เปนอยาง สูงที่ใหเกียรติกับ ปอมท. มาบรรยายใหฟงในวันนี้ และผมหวังวา ทาง ปอมท. จะไดมีโอกาสมีสวนรวมในการชวยเหลืออยางใด อยางหนึ่ง