SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
249
บทคัดยอ
การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟกระทำโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ซึ่งไดรับ
การถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ มีอุปกรณที่ใชในการยางไฟ ไดแก แครไมไผ สมุนไพร 6 ชนิด (เปลาใหญ หนาด
พลับพลึง กระดูกสัตว ขี้หมาขาว และไมแดง) และผาหม โดยมีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันหามา ในการยางไฟแตละครั้งใช
ระยะเวลาประมาณ 3 วัน มีญาติพี่นองของผูปวยมาชวยเติมไฟและคอยเปลี่ยนสมุนไพร
คำสำคัญ : การยางไฟ การดูแลสุขภาพ
Abstract
The Yang Fei was a traditional healthcare provided by local healers. The Yang Fei was a treatment for
patients having car or motorcycle accidents, including falling down. The healers were taught by their forefathers as a
local tradition or culture. The equipment used for the Yang Fei was a litter bamboo, medicinal plants of 6 species
(Croton oblongifolius Roxb., Blumea balsamifera ( L.) DC., Crinum asiaticum Linn., Bone, Kemakao and Xylia
xylocarpa Taub.var.) and a blanket, provided by relatives or neighbours. The duration for the Yang Fei was 3 days,
and medicinal plants and fire were changed by their relatives.
Keywords : The Yang Fei, Healthcare (or health-care)
บทนำ
การดูแลสุขภาพเปนสวนหนึ่งของประเพณีและวัฒนธรรม ที่ดำรงอยูในวิถีชีวิตของคนไทยมาเปนเวลาชานาน
การดูแลสุขภาพเกิดจากความรู ประสบการณ แนวคิดที่สังคมหรือชุมชนไดถายทอดสืบตอกันมา มนุษยในสมัยโบราณยังไมมี
ความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่กาวหนาเทาในปจจุบัน การจะดำรงชีวิตใหอยูรอดจึงตองอาศัยธรรมชาติและการ
ปรับตัวใหเขากับธรรมชาติ ทำใหเกิดการนำเอาทรัพยากรที่มีอยูใกลตัวมาใชประโยชนในดานตาง ๆ เพื่อเอื้อเฟอตอการดำรง
ชีวิตอยู การดูแลสุขภาพคือการดูแลรักษาสุขภาพแบบดั้งเดิม ไมวาจะเปนการแพทยพื้นบาน การดูแลสุขภาพทางกายหรือทาง
ใจ มีการนำเอาทรัพยากรตาง ๆ ในทองถิ่นนั้น ๆ มาใชจนสั่งสมเปนประสบการณและพัฒนาใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ตกทอดกันมา
จนถึงปจจุบัน เชน การอาบน้ำสมุนไพร การอยูไฟ การอบสมุนไพร การเขากระโจม และการยางไฟ เปนตน
ประชาชนชาวอีสานโดยเฉพาะในเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด ขอนแกน และกาฬสินธุ มีการดูแลสุขภาพผูปวย
ที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงโดยวิธียางไฟมานานแลว
พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร [1] กลาวถึงการยางไฟวาเปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิม มีมาตั้งแตปู ยา ตา ยาย
ถือวาเปนวิธีการที่บรรพบุรุษสืบทอดไวใหลูกหลาน ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมไปแลว เพราะเมื่อลูกหลานประสบ
250
อุบัติเหตุ ไมวาจะเปน รถคว่ำ ตกจักรยาน ตกตนไม ตกบาน ตกบันได หกลม และโดยสาเหตุอื่น ๆ ทุกคนจะตองไดรับ
การรักษาโดยวิธีการยางไฟกันทุกคน เพราะเชื่อวาจะทำใหเลือดไมตกคางในตัว ชวยใหเลือดกระจายตัวไมเปนกอน และบาง
รายอาจมีการใหกินเหลาขาวผสมน้ำตาลรวมดวย
พอใหญ วัน อาสาพนม [2] เปนอีกผูหนึ่งที่ไดกลาวถึงการดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟวา ตั้งแตจำความได
ก็พบวา การยางไฟใชรักษาผูปวยที่ไดรับอุบัติเหตุ ซึ่งในสมัยกอนเปนการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากการตกจากที่สูง เชน
ตกตนไม ตกบันได จะตองไดรับการรักษาโดยวิธีการยางไฟเหมือนกัน ซึ่งการยางไฟแตละครั้ง จะตองประกอบดวยสมุนไพร
ทั้งหมด 6 ชนิด บางครั้งอาจจะขาดสมุนไพรบางตัว ขาดตัวใดตัวหนึ่งบางก็ไมเปนไร เพราะสรรพคุณรวมทั้งหมดคือเพื่อให
เกิดการกระจายตัวของเลือด ทำใหเลือดไมแข็งตัว ลดอาการฟกช้ำ ดำเขียว และลดอาการปวดบวม ปจจุบันนี้ การยางไฟ
อาจมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมตามวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป
หมอพื้นบานผูทำการรักษาโดยวิธีการยางไฟ
จงกล พูลสวัสดิ์ [3] ไดศึกษาการดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟของประชาชนชาวกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ พบวา
หมอพื้นบานผูทำการรักษาคือแมใหญจันทร ประชุมแสง อายุ 84 ป เปนหมาย มีลูก 7 คน การศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 4
อาชีพทำนา อยูบานเลขที่ 129 หมูที่ 16 ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ แมใหญจันทร ไดทำการรักษา
ผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต รถยนต หกลม ตกจากที่สูง มาเปนเวลา 25 ป แมใหญจันทรไดรับการ
ถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ
ทรงศักดิ์ สอนจอย [4] ไดศึกษาการยางไฟภูมิปญญาการรักษาตนเองดวยวิธีพื้นบานของชาวอีสาน พบวา ผูทำการ
รักษามี 3 กลุม กลุมแรกเปนชาวบานกลุมผูรู สวนใหญเปนหมอพื้นบานและผูนำทางศาสนา อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป เคยรวมใน
พิธีกรรมและถูกเชิญใหเขารวมในกระบวนการยางไฟ กลุมที่สองเปนชาวบานทั่วไปกลุมผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 50 ปขึ้นไปและมี
ประสบการณการรักษาดวยวิธีการยางไฟ กลุมที่สามเปนกลุมแมบานและพอบานหรือผูมีประสบการณการรักษาดวยวิธีการยาง
ไฟที่มีอายุตั้งแต 20 – 49 ป
ผูปวยที่รับการรักษาโดยวิธีการยางไฟ
ผูปวยที่รับการรักษาโดยวิธีการยางไฟสวนใหญเปนผูปวยที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตก
จากที่สูง
องคความรูการยางไฟ
แมใหญจันทร ประชุมแสง [5] ไดกลาววา เริ่มจากการไหวครู โดยที่คาไหวครูจะเริ่มตั้งแต 2 บาทขึ้นไป พรอมกับ
ดอกไมและเทียน จะทำแบบนี้กับผูปวยที่อาการหนัก สำหรับผูปวยที่อาการไมหนักมากก็จะทำการยางไฟอยางเดียว แมใหญ
ไมเคยเรียกรองเอาเงินกับผูปวย เปนการชวยเหลือดวยความเต็มใจ
ในสวนของการยางไฟ แมใหญจันทร ไดพูดถึงการยางไฟรักษาผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุวาเปนการสืบทอดกันมาตั้งแต
บรรพบุรุษ ตั้งแตจำความไดก็เห็นการรักษาแบบนี้แลว ทำสืบตอกันมาจนเกิดเปนประเพณี เพราะเกือบทุกคนในบานจะ
ทำการยางไฟทั้งหมด ถาเกิดอุบัติเหตุขึ้นก็จะมีการเตรียมอุปกรณและการเตรียมสมุนไพรเพื่อทำการยางใหผูปวยในบาน
ถึงแมวาอุปกรณในบานจะไมมี แตก็มีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันจัดหามา บางครั้งเจาของบานเตรียมแครยังไมเสร็จ ชาวบาน
ก็หาสมุนไพรมาเต็มแครแลว ซึ่งถือไดวาเปนการเกื้อกูลกันในชุมชนและเปนการรวมตัวกันของญาติเพื่อใหกำลังใจผูปวย
อุปกรณในการยางไฟ
1. แครไมไผ
2. สมุนไพร แมใหญจันทร [5] ไดพูดถึงสมุนไพรที่นำมาใชทำการยางไฟทั้ง 6 ชนิด ดังนี้
- ใบเปลาใหญ สรรพคุณ ลดอาการชอกช้ำ ลดปวด
251
- ใบหนาด สรรพคุณ ชวยระบบไหลเวียนเลือดใหดีขึ้น
- ใบพลับพลึง สรรพคุณ แกอาการเคล็ด ขัด ยอก ฟกช้ำ
- กระดูกสัตว (วัว, ควาย) สรรพคุณ บำรุงกระดูก
- ขี้หมาขาว สรรพคุณ กระจายเลือดลม
- ไมแดง สรรพคุณ บำรุงเลือด กระจายเลือดลม
3. ผาหม
สมุนไพรบางชนิดหาไมไดในทองถิ่น การยางไฟในแตละครั้งสมุนไพรอาจจะไมครบทุกตัวก็ได สรรพคุณทั้งหมดของ
สมุนไพรไมไดพิสูจน หรือหาขอมูลทางวิทยาศาสตรเพิ่มเติม เนื่องจากทำติดตอกันมานาน และเปนผลดีตอสุขภาพ ทุก ๆ
คนพอใจกับการยางไฟ อาจจะมีบางที่มีเด็ก ๆ รุนใหมยังไมเขาใจ หรือไมไดทำการศึกษาอยางถองแท ก็จะเห็นวาเปนเรื่องที่
ลาหลัง เพราะสมัยนี้เจ็บปวยก็เขาโรงพยาบาลกันหมด แตถานอนโรงพยาบาลเย็บแผลเสร็จก็กลับมายางไฟตอที่บาน ในสวน
ของขี้หมาขาวแมใหญจันทร [5] ไดกลาววาเปนตัวยาที่หายากที่สุด แตก็ยังพอหาไดอยู ใชกันตามพอแม โดยไมไดถามกันวา
ขี้หมาขาวเปนตนไมหรือไม แตที่ทำมาติดตอกันก็คือการไปเก็บเอามูลของสุนัขที่เปนกอนเล็ก ๆ สีขาวเอาไปเผาไฟจะทำใหไมมี
กลิ่นเหม็น ทายที่สุดแมใหญจันทรไดบอกวา สมุนไพรทั้งหมดที่ใชถึงแมจะไมไดมีการพิสูจนวาใชไดจริงหรือไมจริง แตก็มีการ
ใชติดตอกันเปนเวลายาวนาน และเปนที่ยอมรับก็เลยใชสืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน
ขั้นตอนการทำการยาง
นำแครไมไผมาตั้งในบริเวณที่อากาศถายเทไดสะดวก กอไฟใตแคร ในสมัยกอนชาวบานจะใชฟนไมแดงเปนฟน
แตปจจุบันนี้ไมแดงหายากจึงใชไมอะไรแทนก็ได ที่หาไดงายในทองถิ่นเติมไฟใหพออุนอยูตลอดเวลา โดยจะมีผูที่คอยดูแลไฟให
ตลอดเวลาที่ทำการยาง อาจจะเปนญาติหรือผูใกลชิดที่เคารพนับถือที่แวะมาเยี่ยมผูปวย เชื้อไฟที่เติมนอกจากจะใชฟนแลว
(ไมแดง) ยังมีใบหนาด ขี้หมาขาว และกระดูกสัตว (วัว, ควาย) เติมจนไฟพอเหมาะ เอาสมุนไพร ซึ่งประกอบดวยใบเปลา
ใหญ ใบพลับพลึง วางบนแครไมไผ จากนั้นใหผูปวยขึ้นไปนอนบนแครไมไผ โดยใหผูปวยสวมเสื้อผาเนื้อหยาบ และใชผาหม ๆ
ทับลงไป
การยางในแตละครั้ง จะมีผูที่เปนญาติพี่นองมาชวยเติมไฟและควบคุมไฟใหตลอดเวลา และคอยเปลี่ยนสมุนไพรบน
แครให ผูปวยจะไมไดยางไฟอยูคนเดียว จะมีคนเฝาที่เปนญาติพี่นองคอยถามอาการอยูตลอดวาปวดตรงไหนก็จะใหพลิกดานที่
ปวดยางไฟ และคอยชวยพลิกตัวผูปวยดานขาง ดานหลัง รวมทั้งอวัยวะตาง ๆ ใหถูกความรอน ผูที่ชวยควบคุมไฟก็จะชวย
ดูแลไมใหเกิดความรอนมากเกินไปและเย็นจนเกินไป และยังตองดูแลไมใหเกิดควันมากเกินไป จำนวนวันที่จะทำการยางไฟ
ผูปวยจะขึ้นอยูกับอาการของผูปวยวาเปนมากนอยแคไหน จากนั้นก็จะผลัดเปลี่ยนผูดูแลผูปวยในแตละวัน แตถาผูมีอาการ
หนักมากก็จะมีญาติดูแลอยางใกลชิด และมีกำหนดยางไฟเปนเวลา 3 วัน แตถาอาการเล็กนอยก็จะทำการยางแค 1 – 2 วัน
วันละ 2 ครั้ง เชา - เย็น ขั้นตอนการยางไฟและขั้นตอนการเตรียมอุปกรณไมยุงยาก เนื่องจากชาวบานจะคอยชวยเหลือกัน
ตลอดเวลา
บทสรุป
1. การยางไฟ เปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ
จะใชรักษาผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ
ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมของทองถิ่น [3, 4]
2. องคความรูดานการยางไฟ ประกอบดวย หมอพื้นบานหรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ผูปวยที่
ประสบอุบัติเหตุจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง และอุปกรณในการยางไฟ ซึ่งประกอบดวย แครไมไผ
สมุนไพร และผาหม [3, 4]
3. การยางไฟเปนการรักษาผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตราย คนที่เขาสูกระบวนการรักษาจะตองมีความเชื่อ
และเชื่อมั่นในกระบวนการรักษา รวมถึงตองมีความรูดวยเชนกัน โดยสิ่งตาง ๆ เหลานี้สวนใหญจะไดจากความคิดและ
252
ประสบการณจากบรรพบุรุษที่เลาและบอกตอกันมา และประสบการณที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือเครือญาติที่ทำใหเกิดความเชื่อมั่น
ในประสิทธิภาพการรักษา โดยเฉพาะในสวนของความรูเกี่ยวกับกระบวนการรักษาใหญซึ่งมีทั้งสวนที่เปนรูปธรรมและนามธรรม
ในรูปธรรม เชน ความรูเกี่ยวกับการเลือกใชสมุนไพร สรรพคุณสมุนไพรในการรักษาโรค ความรูในวัสดุอุปกรณที่ใชในการ
รักษา การวินิจฉัยอาการ และรูปแบบของการรักษาพยาบาล สวนนามธรรม เชน ความเชื่อที่แสดงผานพิธีกรรมตาง ๆ
เปนตน [4]
ขอเสนอแนะ
ขอเสนอแนะในการนำบทความวิชาการไปใชประโยชน
ในการยางไฟจะใชรักษาผูปวยที่ผูประสบอุบัติเหตุจากรถยนตรถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงเพื่อรักษาผูปวย ที่มี
อาการไมหนักมาก เชน ถลอก ฟกช้ำ แตถาผูปวยอาการหนักตองเขารับการรักษาจากโรงพยาบาลกอน ผูทำการรักษาควร
เปนหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟเทานั้น
เอกสารอางอิง
[1] พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู หมูที่ 16 ตำบลกลมลไสย
อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.
[2] พอใหญ วัน อาสาพนม. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู หมูที่ 16 ตำบลกลมลาไสย
อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.
[3] จงกล พูลสวัสดิ์. 2550. “การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟ : กรณีศึกษาประชาชนตำบลกมลาไสย
อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ”. Proceedings of the Thirtieth Annual Conference of the Anatomy
Society of Thailand. คณะแพทยศาสตร และคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมกับสมาคม
กายวิภาคศาสตร (ประเทศไทย), หนา 129 – 135.
[4] ทรงศักดิ์ สอนจอย. 2548. การยางไฟ : ภูมิปญญาการรักษาตนเองดวยวิธีพื้นบานของชาวอีสาน.
วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน.
[5] แมใหญจันทร ประชุมแสง. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู 129 หมูที่ 16 ตำบลกลมลไสย
อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.
253
บทคัดยอ
การแปลงสินทรัพยเปนทุน (ASSET CAPITALLIZATION) ถือเปนโครงการเพิ่มมูลคาในทรัพยสินจากปจจัยทุนเดิม
โดยนำระบบกรรมสิทธิ์ (PROPERTY RIGHS) มาใชในการเพิ่มมูลคาสินทรัพยนั้นๆและนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนเปน
เพียงนโยบายเพิ่มรายจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจรากหญา ตะเกียบขาที่ 2 ของรัฐบาลไทย จากผลการศึกษาวิจัย พบวา โครงการ
แปลงสินทรัพยเปนทุน มีความกาวหนาในการดำเนินการลาชา โดยโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนไมสงผลกระทบตอการ
ขยายตัวใหเกิดการลงทุนเพิ่ม(วิเคราะหจากตัวอยางและชวงที่ทำการศึกษา) กลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุน คือ กลุมแมคา พอคา
แผงลอย เจาของเดิม ระดับการจางงาน การเคลื่อนยายแรงงาน รายไดภาคครัวเรือน ไมมีการเปลี่ยนแปลง หนี้สินภาค
ครัวเรือนสำหรับผูรวมโครงการฯ เพิ่มสูงขึ้น ระบบทุนนิยม (CAPITALISM) พัฒนากาวหนาในประเทศตะวันตก แตสำหรับ
ประเทศดอยพัฒนา เมื่อนำนโยบายออกมาประกาศใชแลวก็ไมประสบผลสำเร็จ อันเนื่องมาจากความสำคัญที่จะนำไปสูความ
สำเร็จ และกาวหนาในการแกไขปญหาความยากจน คือ สถาบันการเมืองและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน มีความบกพรองในเชิง
กฎหมายและทางการเมืองรวมทั้งการนำไปปฏิบัติของเจาหนาที่รัฐโดยการเลือกปฏิบัตินอกจากนั้น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ยังมีความสำคัญตอการแกไขปญหาความยากจนในยุกตปจจุบัน
Abstract
Asset Capitalization is a government issue intended to boost value in assets from an original capital using
property rights in increasing values of any asset. Asset Capitalization Policy aims to increase expenses in order to
encourage the root grass economic which is the second chop stick of current Thai government. According to samples
analysis and research in the study pace, the study revealed that Asset Capitalization Policy has been progressed
slowly because the project has not influenced to increase any investment. The groups that can access capital sources
are tradeswomen, tradesmen, stand-retailers and original owners. There is no change in the levels of employment,
labor displacement and family incomes. The debts of families have been increasing in particular the participating
families the project. Even though the capitalism has been advanced in the West, it is not helpful to be applied in
underdeveloped countries. Therefore, the policy was declared to be used, but it cannot succeed. The results showed
that the political institutes and property right systems deficit in laws and political including the following rules of the
254
officials’ performance causing unsuccessful and undeveloped in solving poverty of population. Moreover, Science and
Technology are essential factors to carry out the poverty of population as well.
บทนำ
ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี : แถลงนโยบายตอภา (23 มีนาคม 2548) เรื่อง นโยบายขจัดความยากจนของรัฐบาล
จะดำเนินนโยบาย และมาตรการในการขจัดความยากจนของประเทศใหหมดไป โดยปรับปรุงระบบการบริหารจัดการทั้งระบบ
เชื่อมโยงกับการแกไขปญหาความยากจนทุกระดับ จึงไดมีนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามแนวคิดของ Hernando de
Soto นักเศรษฐศาสตรชาวเปรูจากผลงานเรื่อง The mystery of capital : Why capitalism Triumphs in the west and fails
Everywhere Else ผูสรางความสนใจอยางกวางในสังคมไทย The mystery of capital ระบบทุนนิยมใชไดเฉพาะประเทศที่
พัฒนาแลวสำหรับประเทศดอยพัฒนา กอใหเกิดวิกฤติและความวุนวายทางสังคมอยูทั่วไป เพราะคนจนไมสามารถเขาถึงแหลง
ทุนไดขบวนโลกาภิวัฒน (Globalization) ไมชวยคนจนไดเพราะเปนการเปดโลกและสรางเครือขายใหเฉพาะคนสวนนอยที่มั่งคลั่ง
เทานั้นการประทวงจึงเกิดขึ้นในประเทศดอยพัฒนา เพื่อเปนการแสดงถึงความไมพอใจที่คนสวนใหญใชในปจจุบัน การแปลง
สินทรัพยที่ประชาชนครอบครองอยูเดิมโดยไมมีกรรมสิทธิ์ใหมีกรรมสิทธิ์รวมถึงการแปลงทรัพยสินที่เกิดจากการคิดคนของ
มนุษยที่ไมสามารถจับตองไดแตความคิดนั้นนำไปสูกระบวนการประดิษฐเปนผลิตภัณฑ โดยไดรับกรรมสิทธิ์ อันเกิดจากความ
คิดคนนั้น หากนำไปประเมินคาสงผลใหเกิดมูลคาเพิ่มตามเอกสารสิทธิ กรรมสิทธิ์ เพื่อใชเปนหลักทรัพยค้ำประกันกูเงินจาก
แหลงเงินทุนตามนโยบายรัฐ จากความสำคัญดังกลาวจึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตองวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากนโยบายแปลง
สินทรัพยเปนทุน : กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อหาคาตัวทวีตามทฤษฏีของเคนส (Keynes) อันเกิดจากนโยบายแปลง
สินทรัพยเปนทุน การเพิ่มขึ้นของการลงทุน /รัฐบาลมีงบประมาณรายจาย เพิ่มขึ้น จะทำใหหนวยธุรกิจภาคครัวเรือนลงทุน
เพิ่ม-ลดอยางไร
Y= C+S (2.1)
โดย Y = Income C = Consumption S= Saving
วิธีการดำเนินการวิจัย
การศึกษาวิจัย วิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากการใชนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน กรณีศึกษา จังหวัด
อุบลราชธานี เปนการศึกษาตัวทวี เพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงสาเหตุ ที่สงผลกระทบโดยตรงตอตัวแปรผล อันเนื่องมา
จากโครงการตามนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนใน เรื่องดังตอไปนี้
1) การขยายตัวการลงทุนจากตัวทวี อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
2) กลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุน อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
3) การจางงานเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
4) การจางงานลดลง อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
5) รายไดภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
6) รายไดภาคครัวเรือนลดลง อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
7) หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
8) หนี้สินภาคครัวเรือนลดลง อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
9) การเคลื่อนยายแรง อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
การศึกษาวิจัยนี้ ผูวิจัยไดนำแบบจำลอง (Model) ในทางเศรษฐศาสตร เปนกรอบวิเคราะหเริ่มตนจากแนวความ
คิด(Conceptual Framework) ของ เฮอนานโด เดอโซโต นักเศรษฐศาสตรชาวเปรู ในเรื่องระบบกรรมสิทธิ์ และ นำกรอบ
ทฤษฎี Franco Modigliani : (Theory) life-cycle Theory and Permanent-income theory (1985) โดยสาระของทฤษฎีตั้ง
สมมติฐานของพฤติกรรมการบริโภคในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งขึ้นอยูกับรายได สวนทฤษฎี life-cycle Theory มีขอสมมติ
วาปจเจกบุคคลจะวางแผนการบริโภคและการออมระยะยาวไว เพื่อจัดการบริโภคของตัวเองในแนวทางที่ดีที่สุด และแนวทางที่
จะเปนไปไดตลอดชวงชีวิตของเขา
255
การออม (saving) เกิดจากการที่ ปจเจกบุคคลไมบริโภคในปจจุบัน โดยจะเก็บไวเพื่อเตรียมความพรอมในอนาคต
ตามแนวคิดนี้ โครงสรางอายุของประชากรเปนตัวกำหนดที่สำคัญอยางหนึ่งของพฤติกรรมและการออม
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนการเลือกแบบเจาะจงแบงออกเปน 2 กลุม
1. กลุมที่สมัครเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนประเภทที่สาธารณะใน 2 กลุมตัวอยางประชาชนทั่วไปที่ยังไม
เขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน
การเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดำเนินการเก็บขอมูลในเชิงคุณภาพ คือ การสัมภาษณ ผูมีสวนไดเสีย สังเกต และเชิง
ประมาณโดยการสรางแบบสอบถาม ความเขาใจในเรื่องผลกระทบอันเนื่องมาจากนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนแบงคำถาม
ออกเปน 4 ตอน
ตารางที่ 1 กรอบแนวทางการวิเคราะหขอมูลในเชิงคุณภาพ
ผลการวิเคราะหขอมูล (The result of data Analysis)
การศึกษาวิจัย วิเคราะหผลกระทบจากการใชนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี
เปนการศึกษาตัวทวี เพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงสาเหตุ ที่สงผลกระทบโดยตรงตอตัวแปรตาม อันเนื่องมาจากนโยบาย
แปลงสินทรัพยเปนทุนใน
การวิเคราะหผลตอบแทนจากการลงทุนอิสระ จากสูตร
โดยที่
256
และ
ตารางที่ 2 วิเคราะหรายไดจากการขายกลวยฉาบ
กรณีที่ 1 แสดงวา X1 เพิ่มขึ้น 1 หนวยโดยที่ X2 คงที่ Y จะเพิ่มขึ้น 0.3768
กรณีที่ 2 แสดงวา X2 เพิ่มขึ้น 1 หนวยโดยที่ X1 คงที่ Y จะเพิ่มขึ้น 0.0900
หรือ ตัวแปรอิสระไมสามารถอธิบายตัวแปรตามได และไมสามารถพยากรณผลได
ตารางที่ 3 วิเคราะหรายไดจาการขายลูกชิ้น
257
ตารางที่ 4 วิเคราะหรายไดจาการขายตำสม
ตารางที่ 5 วิเคราะหรายไดจาการขายคอหมูยาง
สรุปผลการศึกษา วิจัย (Summary discussion and Recommendation)
การศึกษาวิจัยวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนกรณีศึกษาจังหวัด
อุบลราชธานีเปนการศึกษาวิจัยแบบผสมระหวางการวิจัยชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พบวานโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน
สงผลกระทบ ตอการขยายตัวตอการลงทุนนอยมากจะเห็นไดจากรอบการหมุนของตัวทวี สำหรับกลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุนจะ
เปนกลุมแมคาพอคาเดิม ระดับการจางงานคงที่รายไดภาคครัวเรือนเปลี่ยนแปลงนอยมาก หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้นการ
เคลื่อนยายแรงงานคงที่เพราะเปนแรงงานในครัวเรือน นอกจากนั้นยังพบวากลุมผูเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนประเภท
สาธารณะจะมีจำนวน 2 กลุมคือ กลุมที่มีปจจัยทุนเหลือเฟอ ไมประสงคจะกูยืมเงินจากแหลงเงินทุนเพียงแตตองการสิทธิในการ
ครอบครองที่สารธารณะเทานั้น นอกจากจะไมกูเงินแลว บางคนยังเปนแหลงเงินทุนนอกระบบใหกับผูรวมโครงการรายอื่น
หรือประชาชนทั่วไปในชุมชน กลุมที่2 เปนกลุมคนจนโดยคนกลุมนี้ มีความประสงคจะกูเงินจากโครงการแปลง
สินทรัพยเปนทุนและปจจุบันยังเปนหนี้แหลงเงินทุนคือ ธนาคารชุมชน กองทุนหมูบาน และที่สำคัญเปนหนี้นอกระบบ เสียดอก
เบี้ยในอัตรารอยละ 48-200.- บาทตอป สงผลใหรายรับไมเพียงพอกับรายจาย
ขอเสนอแนะ
นโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนถือเปนตะเกียบขาที่ 2 ของรัฐบาลโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มรายจายภาครัฐและ
สรางโอกาสใหคนจนนำสิทธิกรรมสิทธิ์อันเกิดจากการครอบครองและสิทธิอันเกิดจากความคิดคนของมนุษยมาประเมินคาตาม
โครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน จะนำไปสูความสำเร็จจะตองดำเนินการ ดังนี้
258
1) แกไขพฤติกรรมสวนตัวของเจาหนาที่รัฐ เรื่องจริยธรรมในการทำงานโดยใหมองผลประโยชนสวนรวมของประชาชน
ผูยากจน ใหเปนไดรับประโยชนสูงสุดจากการแปลงสินทรัพยเปนทุน ภายใตกรอบกฎหมายที่เกี่ยวของในรูปบูรณาการ
2) แกไขระบบราชการโดยการปรับปรุงระเบียบ และกฎหมายตาง ๆ ใหสอดคลองกับทองถิ่นในแตละพื้นที่ตามสภาพ
ความเปนจริงและในขณะเดียวกันก็ควรใหผูมีอำนาจจัดเจาหนาที่ใหความรูผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามความถนัด
และความสามารถของผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนในแตละกลุมอยางตอเนื่อง พรอมสรุปผลความกาวหนาในการดำเนิน
การเปนรายเดือน หรือ ไตรมาส ตามแผนงาน
3) ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ โดยใหจัดทำขั้นตอนการเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปน
ทุนใหสั้นชัดเจนและนำเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงานอยางแทจริง
4) ควรเปดโอกาสใหคนทุกกลุมเขาถึงแหลงเงินทุน เชน ครัวเรือน ภาคการเกษตร การคา การบริการ สามารถเขาถึง
แหลงเงินทุนได ภายใตกรอบความสามารถของตนเองเปนเกณฑ
5) การประเมินสินทรัพย ของผูกู ควรประเมินราคาใหสอดคลองกับราคาตลาด หรือราคาที่แทจริง บวก ดวยความ
สามารถของบุคคล จึงประเมินคาออกมาเปนทุน
6) การปลอยเงินกูของธนาคารไมควรปลอยกูครั้งเดียวโดยควรปลอยกูเงินใหเปนงวด ๆ ตามแผนการผลิตที่เสนอไวตอ
หนวยงานเจาของทรัพยสินหรือธนาคารผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน เพราะผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนบาง
รายมิไดนำเงินกูไปลงทุนแตนำเงินกูไปชำระหนี้เดิมหรือไปใชจายเพื่อการบริโภค เปนสำคัญ
แนวทางแกไข
1) ควรมีการพัฒนาทรัพยากรทุนมนุษยโดยใหการศึกษาการฝกอบรมในการประกอบอาชีพตามความถนัดสำหรับผู
รวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนจากนั้นควรจัดทำแผนการผลิต แผนการจำหนาย การแปรรูผลิตภัณฑเพิ่มมูลคาในการผลิต
เพื่อใหเกิดความแข็งแกรงและยั่งยืน
2) ศึกษาความเปนไปไดของโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนประเมินผลตอบแทนความคุมคาที่จะลงทุนเปนรายบุคคล
เพื่อมิใหเกิดผลกระทบภายหลังดำเนินโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน แลวเสร็จ
3) กรณีผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนมีหนี้กับแหลงเงินทุนหลายแหงควรจัดหาเงินกูอัตราดอกเบี้ยต่ำใหกูยืม
โดยการรวมหนี้แลวขยายระยะเวลาการสงชำระใหยาวขึ้นหรือทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูรวมโครงการแปลงสินทรัพย
เปนทุนเพื่อมิใหไปกูเงินทุนนอกระบบในอัตราดอกเบี้ยสูง
4) ควรลงโทษผูมีอำนาจทางการเงินการเมืองที่ทำผิดโดยการปลอยเงินกูอัตราดอกเบี้ยสูงรอยละ 4-20 .-บาทตอเดือน
เมื่อนำมาคำนวณจะไดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 48-200.- บาท/ป
5) ควรรณรงคสรางจิตสำนึกโดยการใชจายเงินภายใตขอจำกัดของรายไดที่ไดรับตอเดือน/ป เพื่อมิใหเกิดการสั่งสมหนี้
เพิ่มขึ้น จะทำใหมีความสุข ความมั่งคั่ง
บรรณานุกรม
อุดมศักดิ์ ศีรประชาวงศ . (2542) “หนวยที่ 2 ตลาดผลิตผลกับเสน IS” .ใน ทฤษฎีเศรษฐศาสตร
มหภาค. นนทบุรี : สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิทยา ปนทอง .(2542) “หนวยที่ 4 ทฤษฎีวงจรชีวิตของการบริโภคและการออม ทฤษฎีรายไดถาวรของการบริโภค” ในทฤษฎี
เศรษฐศาสตร มหภาค. นนทบุรี: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ณรงศักดิ์ ธนวิบูลยชัย. (2542) “หนวนที่ 10 การประมาณคาพารามิเตอรของการถดถอยพหุคูณ”. ใน เศรษฐศาสตรเชิงปริมาณ
สำหรับนักเศรษฐศาสตร.นนทบุรี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ณรงศักดิ์ ธนวิบูลยชัย.(2542) “หนวนที่ 3 การเปนเจาของและการระบุกรรมสิทธ “ ใน เศรษฐศาสตรสิงแวดลอม.นนทบุรี:
สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
259
บทคัดยอ
การศึกษาวิจัย ผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใชโครงการ GFMIS,e-Auction มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษา
สภาพปญหาอุปสรรคอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช Government Fiscas Management Information System : GFMIS,e-
Auction โดยเนนการประเมินความคิดเห็นจากกลุมตัวอยาง ผูเขารับการฝกอบรม และสัมภาษณผูมีสวนไดเสีย ระหวางวันที่
3 กันยายน 2548 ถึงวันที่ 20 พฤษภาคม 2549 จำนวน 495 ชุด ปญหาที่พบในการปฏิบัติจากการใชงานในระบบ GFMIS ดังนี้
1) ระบบการปฏิบัติงานรูปแบบใหม เปนการประยุกตวิธีการทำงานจากการเขียนดวยมือบนกระดาษเปลี่ยนเปนการ
ทำงานดวยอินเทอรเน็ต (ออนไลน) โดยชวงแรกทำใหผูปฏิบัติงานไมคุนเคยรูสึกยุงยากซับซอนขั้นตอนมากและที่สำคัญคือ
ระบบงานยังไมหยุดนิ่งมีการปรับปรุงและซอมความเขาใจอยางตอเนื่อง
2) ระบบเครือขายมักประสบปญหาขัดของบอยครั้ง จึงนำไปสูการสงขอมูลไมไดตองเสียเวลารอการแกไข โดยเครื่อง
Terminal ถือเปนอุปกรณสำคัญในการรับขอมูลของหนวยงานเขาสูระบบ GFMIS แตหนวยงานที่ไดรับจัดสรร เฉพาะสวน
ราชการสวนกลาง คือ หนวยงานระดับ มหาวิทยาลัยฯ เขตพื้นที่การศึกษา และคลังจังหวัด สำหรับสวนราชการประจำจังหวัดที่
ไมไดรับจัดสรรเครื่องจะตองเดินทางไปนำสงขอมูล ณ คลังจังหวัด และจะตองรอการใชเครื่อง Terminal เรียงลำดับกอนหลัง
ทำใหเสียเวลา เพิ่มตนทุนในการเดินทางสูงขึ้น
3) ดานการใหบริการ (Help Desk) มีจำนวนนอยเมือเปรียบเทียบกับหนวยงานที่จะตองเขาใชงานในระบบ GFMIS
และการตอบขอหารือระหวางปฏิบัติงานบางครั้งไมสามารถตอบคำถามในขณะปฏิบัติงาน ณ เวลานั้นไดทันที อันนำไปสู
กระบวนการที่ไมมีประสิทธิภาพสูงสุด
4) การใหบริการทางวิชาการ ผูรับผิดชอบโครงการยังไมสามารถจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการใหกับผูปฏิบัติงานไดอยาง
ทั่วถึง และควรเนนการฝกอบรมเชิงบูรณาการ (Integration) เชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันในมิติตาง ๆ เพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะหอยาง
เปนระบบอันนำไปสูประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุดตอประเทศ และหนวยงานไดอยางแทจริง
ผลการศึกษาวิจัยระบบ e-Auction มาใช พบวาระดับพฤติกรรมอันนำไปสูภาคปฏิบัติของเจาหนาที่พัสดุ คณะกรรมการ
ดวยอิเล็กทรอนิกส หัวหนาหนวยงาน และผูคา มีระดับความเขาใจแตกตางกันโดย e-Auction ระเบียบยังไมหยุดนิ่งมีการปรับ
เปลี่ยนและแกไขเปนระยะ ๆ การบังคับใชมี 2 มาตรฐาน และยังขาดหนวยงานใหความรูทางวิชาการอยางตอเนื่อง
กระบวนการจัดหาดวยระบบอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการฮั้วงานได แมวาจะมีคนกลางเขามาจัดการประมูลใหกับหนวย
งานก็ตาม e-Marketplace service ในประเทศไทยมีจำนวนนอย ถือวาเปนตลาดผูขายนอยราย ถาเทียบกับหนวยงานที่จะตอง
ถือปฏิบัติตามระเบียบฯ
260
Abstract
The investigation of impacts of the enforcement measure in using Government Fiscas Management
Information System, GFMIS and e-Government Procurement, e-GP or known as e-Auction, is intended to study
problems that happen from using the enforcement measure. The processes concerned with evaluation of 495 survey
forms collected from trainees’ ideas participating in the training held on September 3rd, 2005 through May 20th, 2006.
Problems found in practical use of GFMIS
1. New operation system is that manual work which is written by hand on papers changed to work on-line via
internet. The problem was that in the beginning the trainers were confused because they didn’t get used to the new
system. The processes were more complicated and had to many steps as well.
2. Since the internet system often encounters with interruptions, the information cannot be sent in the proper
time. This causes to waste time for fixing the failure. Terminals are the most important communication devices in the
GFMIS. However, only main government organizations such as universities, educational areas and provincial
treasures are received terminals. In the other hand, government sub-organizations doesn’t received terminals, so those
organizations need to travel to the provincial treasures to send information to the GFMIS by waiting for sequence. The
problems cause increase of the operation cost.
3. Help Desk is insufficient when compared to organizations requiring the use of GFMIS. Any time when the
users want to communicate information during working, the communication cannot be done immediately. The users
cannot receive the answers right away. The communication was ineffective.
4. Academic service, responsible units cannot provide workshops for entire users. The workshops should
emphasize on integration linking between different dimensions to create analysis system effectively. The ultimate
efficiency benefits to the country and organizations.
The results of the study of the e-Auction project showed the behavior levels lead to the performance of
procurement officers, electronic committee, head offices, and sellers have differences of understanding levels. The
e-Auction regulation does not stop improving, but it has been changed intermittently. The electronic acquiring process
cannot prevent illegal cooperation of sellers. There are few e-Marketplace services in Thailand when compared to the
government agencies which must obey the regulation.
บทนำ
รัฐบาลไทยภายใตการนำของ พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดนำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาใชในการบริหารประเทศ อันเปนที่มาของศูนยบัญชาการทางอิเล็กทรอนิกสโครงการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐสู
ระบบอิเล็กทรอนิกส (Government Fiscas Management Information System :GFMIS ,e-Auction) จากสภาพปญหาการ
บังคับใช GFMIS ,e-Auction กับหนวยงาน สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระตามมติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ คำสั่ง แมวาจะ
มีความจำเปนอยางยิ่ง สำหรับประเทศกำลังพัฒนาอันนำไปสูความเปนสากลเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในระดับนานาชาติ โดยเนน
ใหมีผูรับ ความรับผิดชอบ (Accountability) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความโปรงใส (Transparency) ความคุมคา (Value for
Money) และ สรางระบบธรรมาภิบาลในการบริหาร (Good Governance) ทั้งนี้ หากมองในมุมผูที่จะรับปฏิบัติตามนโยบายรัฐ
คือ หัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงาน ตลอดจนหัวหนาองคกร โดยหนวยงานเหลานี้ไมมีความพรอมทางดานบุคลากรที่
จะนำไปปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งเจาหนาที่ผูไดรับผลกระทบอยางแทจริง คือ เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการจัดหาพัสดุ
เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการเงินและการบัญชี คนสองกลุมนี้ ขาดความเขาใจในแนวปฏิบัติที่ถูกตอง และตองแสวงหาความรูเอง
ในระยะเริ่มตน อันเนื่องมาจากไมมีหนวยงานที่ใหความรูในเบื้องตนอยางเพียงพอโดยรัฐขาดการประชาสัมพันธลวงหนา ทั้งที่
เปนการเปลี่ยนวิธีการทำงานจากการเขียนดวยระบบมือบนกระดาษ เปนวิธีการทำงานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (ออนไลน)
261
GFMIS เปนระบบฎีกาบัญชีทางอิเล็กทรอนิกส e-Auction เปนธรุกรรมการจัดหาดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส จุดเดนของ
e-Action เปนการเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ต (ออนไลน) แทนการยื่นซองเสนอราคาแบบเดิม โดยมีคนกลาง คือผูให
บริการตลาดกลาง (e-Marketplaceservice) เปนผูนำโปรแกรมมาใหบริการแกหนวยงานที่ทำการจัดซื้อ จัดจางผูคา (Supplier)
มีหนาที่เสนอราคาผานระบบอิเล็กทรอนิกสภายในระยะเวลา สถานที่ที่ไดกำหนดไวแทนการยื่นซองเสนอราคาแบบเดิม ทั้งสอง
ระบบมีการบันทึกขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (ผานอินเทอรเน็ต) ดังนั้น กระบวนในการทำงาน จึงมีลักษณะเปนแบบจำลอง
Dynamic Model โดย ผูคา ที่ไดจากกระบวนการจัดหา e-Auction จะตองเขาไปทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกสออนไลน GFMIS
เพื่อตั้งจายกอหนี้ผูกพันตามโครงการที่ไดรับจัดสรรงบประมาณของหนวยงานทางอิเล็กทรอนิกส เมื่อผูบริหารระดับประเทศ
ระดับกระทรวง ระดับกรมอยากรูการเคลื่อนไหวตาง ๆ ก็สามารถเรียกดูได จึงสงผลใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยาง
แทจริง อยางใดก็ตามแมวาระบบสารสนเทศในปจจุบันจะสามารถยอฐานขอมูลของสวนราชการทั้งประเทศใหอยูในคอมพิวเตอร
เพียงเครื่องเดียวได ก็มิไดหมายความวาประเทศไทยกาวหนากวาประเทศอื่น อันเนื่องมาจากไมไดเปนผูผลิต Software ใชงาน
แตเปนการจัดซื้อ/ ผูวาจางทำเพื่อการใชงานระบบ GFMIS จากตางประเทศ
การบังคับใช GFMIS , e-Auction กับหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชน และหนวยงานอื่นของรัฐ ที่อยู
ในสังกัด การบังคับบัญชาหรือการกำกับดูแลของฝายบริหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือกฎหมาย
จัดตั้งหนวยงานนั้น ๆ แมวา ทั้งสองโครงการดังกลาวขางตน จะเปนแนวคิดที่ดีเพราะเปนหลักสากลทั่วไป แตสิ่งที่ควร
กระทำกอนบังคับใช คือการพัฒนาทรัพยากรทุนในตัวมนุษย อันเปนปจจัยทุนที่มีความสำคัญยิ่งกวาปจจัยอื่น เพราะเปนผูที่นำ
นโยบายไปปฏิบัติงานในหนวยงานใหบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรการบังคับใช จากความสำคัญดังกลาว จึงมีความจำเปนที่จะ
ตองทำวิจัย ผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช GFMIS , e- Auction ขึ้นเพื่อทราบถึงปญหาและแนวทางแกไขปญหา
ที่ถูกตอง อันจะนำไปสูการพัฒนาประเทศ และหนวยงานอยางยั่งยืนในอนาคต
วิธีดำเนินการวิจัย
การวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช GFMIS, e-Auction เปนการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ ความเขาใจโดย
ประชากรกลุมตัวอยางไดจาก 2 กลุม คือ ผูเขารับการฝกอบรม และสัมภาษณผูมีสวนไดเสียโดยตรงทางโทรศัพท และนำ
หลักทฤษฏี Balanced Scorecard : Drs. Robert Kaplan, David Norton. เปนเกณฑประเมินวัดความเขาใจของกลุมตัวอยาง
ตาราง 1 กรอบแนวทางการวิเคราะหขอมูลและเกณฑการประเมิน
262
ผลการวิเคราะหขอมูล (The result of data Analysis)
การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนำแบบสอบถามความเขาใจจากผูเขารับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร GFMIS,
e- Auction จำนวน 495 ชุดในเชิงปริมาณประมวลผลโดยโปรแกรม SPSS ตามตารางที่ 2-6 กลุมตัวอยางจำนวน 5 กลุม
ระหวางวันที่ 3 กันยายน 2548 – 20 พฤษภาคม 2549 ดังนี้
ตารางที่ 2 รุนที่ 1 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 103
ตารางที่ 3 รุนที่ 2 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 106
ตารางที่ 4 รุนที่ 3 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข (/ ) คือ N (Population) จาก 155
263
ตารางที่ 5 รุนที่ 4 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 103
ตารางที่ 6 รุนที่ 5 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข (/) คือ N (Population)จาก 120
สรุปผลการศึกษา วิจัย (Summary discussion and Recommendation)
ปญหาอุปสรรคของการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ที่พบ คือการทำงานในระบบ GFMIS เปนการเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ทำงานแบบใหมโดยเนนกระบวนการทำงานในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการปฏิบัติงานผานระบบอินเตอรเน็ต
(ออนไลน) เครื่อง Terminal ถือเปนอุปกรณที่สำคัญในการรับ-สงขอมูลเขาสูระบบ GFMIS อันเนื่องมาจากเครื่องTerminal
รัฐบาลจัดสรรใหสวนราชการระดับกรมเชน มหาวิทยาลัยฯ คลังจังหวัด เขตพื้นที่การศึกษา ดังนั้น สวนราชการอื่นจึงตองเสีย
เวลาในการเดินทางไปสงขอมูล ณ คลังจังหวัด ถือเปนการเพิ่มตนทุนคาใชจายในทำงานเพิ่มขึ้น Help Desk ในระบบ GFMIS
มีจำนวนนอยและการตอบขอหารือระหวางผูปฏิบัติงาน ณ หนวยงาน เชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในขณะ เกิดปญหาระหวาง
ปฏิบัติงาน ผูตอบปญหาไมสามารถตอบไดในขณะนั้น หรือตอบปญหาไมชัดเจนบางครั้งจะตองรอคำตอบในวันถัดไป
ดานการใหบริการทางวิชาการของหนวยงานที่รับผิดชอบไมสอดคลองกับการบังคับใช อันเนื่องมาจากการบังคับใชกับ
สวนราชการทั่วประเทศ และมีเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเขาไปใชระบบ GFMIS เปนจำนวนมากไมวาจะเปนเจาหนาที่การเงิน
เจาหนาที่บัญชี เจาหนาที่พัสดุ และผูบริหารองคกรในระดับตาง ๆ จะมีความสัมพันธในมิติตาง ๆ อยางเกี่ยวเนื่องแตขาดการให
ความรูอยางทั่วถึงนอกจากนั้น ระบบ GFMIS ยังไมหยุดนิ่ง มีการปรับเปลี่ยนและทำความเขาใจเกี่ยวกับการใชงานอยาง
ตอเนื่องในขณะปญหาที่เกิดขึ้นเปนปญหาเฉพาะหนาระหวางปฏิบัติงาน โดยผูปฏิบัติงานใชสถานการณที่เกิดขึ้นจริงเปน
จุดศูนยกลางการเรียนรู (Group Center)
e-Auction ในชวงเวลาที่ทำการศึกษา พบวา เกิดปญหาความไมเขาใจในแนวทางปฏิบัติของขาราชการกลุม ตาง ๆ
แตกตางกันไป อันนำไปสูการปฏิบัติงานยังไมมีประสิทธิภาพอยางแทจริง
1. กลุมขาราชการการเมืองระดับทองถิ่น กลุมนี้โดยเฉพาะผูบริหารองคกร วิตกกังวล ไมเขาใจวิธีประมูลดวยระบบ
อิเล็กทรอนิกส อันเนื่องมาจาก ผูคา ซึ่งใหการสนับสนุนในขณะเลือกตั้ง จะมีบทบาทสำคัญตอกระบวนการจัดหา
2. กลุมผูนำไปปฏิบัติงาน คือ ระดับเจาหนาที่ปฏิบัติงานพัสดุ ขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดหาพัสดุ
ดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส จึงสงผลใหเกิดความลังเลไมปฏิบัติตามระเบียบ และไมรูวิธีแกไขปญหา อันนำไปสูการทำงานที่
ผิดพลาด และสงใหเกิดปญหาตอเนื่องไปยังคณะกรรมการฯ
264
ขอเสนอแนะ
e-Auction เปนการประยุกตวิธีการทำงานจากวิธีการประกวดราคาเดิม มาเปนวิธีการเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ต
ออนไลนภายในระยะเวลาและสถานที่ที่ไดระบุไวในประกาศโดยสถานที่จะตองไดรับอนุญาติและขึ้นทะเบียนไวกรมบัญชีกลาง
กำหนดเทานั้น วิธีการทำงานยังคงเปน 2 รูปแบบคูขนาน คือ ระบบเอกสารตามระเบียบฯ และระบบขั้นตอนทางอิเล็กทรอนิกส
วิธีการการทางอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการฮั้วงานได ถารัฐตองการใหวิธีการจัดหาดวย e-Auction ปองกัน
การฮั้วงานได ทุกขั้นตอนควรจะทำงานผานระบบอินเตอรเน็ตออนไลน เชน ยื่นเอกสารผานระบบอินเตอร รับเอกสาร
ตรวจเอกสาร ฝกอบรมผูคาผานอินเทอรเน็ต และเสนอราคาผานระบบอินเตอรเน็ตไดทุกสถานที่โดยไมจำกัด
อนึ่ง กระบวนการจัดหาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2549 ที่บังคับใชเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 นั้น แมวา
จะไมประกาศรายชื่อผูผานการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องตน และมิใหตลาดกลางจัดอบรมผูคาแตมีการกำหนดสถานที่เสนอราคา
โดยผูคาจะตองเดินทางไปเสนอราคา ณ สถานที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมบัญชีกลางกำหนด ซึ่งไมแตกตางกับวิธีการประกวดราคา
เดิมที่กำหนดใหใชสถานที่กลาง ยื่นซอง รับซอง เปดซอง เสนอราคา การกำหนดสถานที่ดังกลาวจะสงผลให ตนทุนในการ
เดินทาง คาใชจายเพิ่มขึ้นและใชเจาหนาที่ประจำหองเสนอราคาเพิ่มขึ้นตามลำดับ สิ่งที่สำคัญคือไมสามารถปองกัน
การฮั้วงานได กรณีวงเงินเกิน 50 ลานใหกรมบัญชีกลางเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส มีขั้นตอน
การดำเนินงานทางดานเอกสารแบบฟอรมมาก ทำใหเกิดความลาชา จึงไมสอดคลองกับยุทธศาสตรการกระจายอำนาจอยาง
แทจริง
GFMIS, e-Auction ควรมีหนวยงานกลางใหความรูอยางตอเนื่องอันเนื่องมาจากระบบยังไมหยุดนิ่ง เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพ ศักยภาพในการทำงานใหกับเจาหนาที่ของรัฐเกิดความมั่นใจ และปฏิบัติงานได ถูกตอง แมยำโดยเฉพาะการ
บังคับใช e-Auction 2 มาตรฐานในปจจุบัน จากผลการศึกษาวิจัยและเปนศูนยการจัดประมูลดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกสที่ผานมา
พบวา e-Auction ไมสามารถปองกันการฮั้วงานไดแลว ยังอาจจะเปนวิธีที่เอื้อใหผูคาฮั้วงานไดอยางโปรงใส แต e-Auction
ก็มีจุดแข็งที่กระบวนการจัดหาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ปองกันเจาหนาพัสดุผูนอยใหปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพ
เพราะมี e-Marketplace Service รับหนาแทนเจาหนาที่พัสดุ
แนวทางแกไข
ดานทรัพยากรมนุษย คือ เจาหนาที่ของรัฐควรสงเสริมใหไดรับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ และซักซอมความเขาใจใหผู
ปฏิบัติงานผูบริหารระดับตาง ๆ อยางตอเนื่อง อันเนื่องมาจากระเบียบและแนวปฏิบัติยังไมหยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยาง
ตอเนื่อง โดยการใหความรู และเนนการใหความรูภาคปฏิบัติ มากกวาทฤษฎี นอกจากเจาหนาที่รัฐแลวควรจัดหลักสูตรให
ความรูเกี่ยวกับวิธีเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ตโดยโปรแกรมตลาดกลางสำหรับผูคาอยางทั่วถึง การเสนอราคาไมควร
กำหนดใหผูคาเดินทางไปเสนอราคา ณ สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมบัญชีกลางเทานั้นเพราะจะทำใหเกิดการฮั้วงานได
การเสนอราคาควรเสนอไดจากทุกสถานที่ตามประกาศกระทรวงการคลังป พ.ศ.2548 จะมีประสิทธิภาพมากกวาระเบียบฯ
พ.ศ.2549
เอกสารอางอิง
สมคิด พรมจุย.2549. เทคนิคการจัดฝกอบรม. ใน : เอกสารประกอบการฝกอบรมหลักสูตรเทคนิคการจัดฝกอบรม.
5-10 มีนาคม 2549. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชธานี. หนา 2
รัชชนนท แกะมา.2546.การวิเคราะหตนทุนการจางเหมากอสรางโดยวิธีประกวดราคาเทียบกับวิธีการประมูลดวยระบบ
อิเล็กทรอนิกส. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. 106 หนาเศรษฐศาสตร
มหาบัณฑิต
อัญชลี เทพรัตน. GFMIS Strategy against corruption or influence on Thai Government.
สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ. แนวทางการจัดหาพัสดุโดยการประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส.
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2

More Related Content

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่นสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 

บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2

  • 1. 249 บทคัดยอ การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟกระทำโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ซึ่งไดรับ การถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ มีอุปกรณที่ใชในการยางไฟ ไดแก แครไมไผ สมุนไพร 6 ชนิด (เปลาใหญ หนาด พลับพลึง กระดูกสัตว ขี้หมาขาว และไมแดง) และผาหม โดยมีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันหามา ในการยางไฟแตละครั้งใช ระยะเวลาประมาณ 3 วัน มีญาติพี่นองของผูปวยมาชวยเติมไฟและคอยเปลี่ยนสมุนไพร คำสำคัญ : การยางไฟ การดูแลสุขภาพ Abstract The Yang Fei was a traditional healthcare provided by local healers. The Yang Fei was a treatment for patients having car or motorcycle accidents, including falling down. The healers were taught by their forefathers as a local tradition or culture. The equipment used for the Yang Fei was a litter bamboo, medicinal plants of 6 species (Croton oblongifolius Roxb., Blumea balsamifera ( L.) DC., Crinum asiaticum Linn., Bone, Kemakao and Xylia xylocarpa Taub.var.) and a blanket, provided by relatives or neighbours. The duration for the Yang Fei was 3 days, and medicinal plants and fire were changed by their relatives. Keywords : The Yang Fei, Healthcare (or health-care) บทนำ การดูแลสุขภาพเปนสวนหนึ่งของประเพณีและวัฒนธรรม ที่ดำรงอยูในวิถีชีวิตของคนไทยมาเปนเวลาชานาน การดูแลสุขภาพเกิดจากความรู ประสบการณ แนวคิดที่สังคมหรือชุมชนไดถายทอดสืบตอกันมา มนุษยในสมัยโบราณยังไมมี ความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่กาวหนาเทาในปจจุบัน การจะดำรงชีวิตใหอยูรอดจึงตองอาศัยธรรมชาติและการ ปรับตัวใหเขากับธรรมชาติ ทำใหเกิดการนำเอาทรัพยากรที่มีอยูใกลตัวมาใชประโยชนในดานตาง ๆ เพื่อเอื้อเฟอตอการดำรง ชีวิตอยู การดูแลสุขภาพคือการดูแลรักษาสุขภาพแบบดั้งเดิม ไมวาจะเปนการแพทยพื้นบาน การดูแลสุขภาพทางกายหรือทาง ใจ มีการนำเอาทรัพยากรตาง ๆ ในทองถิ่นนั้น ๆ มาใชจนสั่งสมเปนประสบการณและพัฒนาใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น ตกทอดกันมา จนถึงปจจุบัน เชน การอาบน้ำสมุนไพร การอยูไฟ การอบสมุนไพร การเขากระโจม และการยางไฟ เปนตน ประชาชนชาวอีสานโดยเฉพาะในเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด ขอนแกน และกาฬสินธุ มีการดูแลสุขภาพผูปวย ที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงโดยวิธียางไฟมานานแลว พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร [1] กลาวถึงการยางไฟวาเปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิม มีมาตั้งแตปู ยา ตา ยาย ถือวาเปนวิธีการที่บรรพบุรุษสืบทอดไวใหลูกหลาน ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมไปแลว เพราะเมื่อลูกหลานประสบ
  • 2. 250 อุบัติเหตุ ไมวาจะเปน รถคว่ำ ตกจักรยาน ตกตนไม ตกบาน ตกบันได หกลม และโดยสาเหตุอื่น ๆ ทุกคนจะตองไดรับ การรักษาโดยวิธีการยางไฟกันทุกคน เพราะเชื่อวาจะทำใหเลือดไมตกคางในตัว ชวยใหเลือดกระจายตัวไมเปนกอน และบาง รายอาจมีการใหกินเหลาขาวผสมน้ำตาลรวมดวย พอใหญ วัน อาสาพนม [2] เปนอีกผูหนึ่งที่ไดกลาวถึงการดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟวา ตั้งแตจำความได ก็พบวา การยางไฟใชรักษาผูปวยที่ไดรับอุบัติเหตุ ซึ่งในสมัยกอนเปนการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดจากการตกจากที่สูง เชน ตกตนไม ตกบันได จะตองไดรับการรักษาโดยวิธีการยางไฟเหมือนกัน ซึ่งการยางไฟแตละครั้ง จะตองประกอบดวยสมุนไพร ทั้งหมด 6 ชนิด บางครั้งอาจจะขาดสมุนไพรบางตัว ขาดตัวใดตัวหนึ่งบางก็ไมเปนไร เพราะสรรพคุณรวมทั้งหมดคือเพื่อให เกิดการกระจายตัวของเลือด ทำใหเลือดไมแข็งตัว ลดอาการฟกช้ำ ดำเขียว และลดอาการปวดบวม ปจจุบันนี้ การยางไฟ อาจมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมตามวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป หมอพื้นบานผูทำการรักษาโดยวิธีการยางไฟ จงกล พูลสวัสดิ์ [3] ไดศึกษาการดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟของประชาชนชาวกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ พบวา หมอพื้นบานผูทำการรักษาคือแมใหญจันทร ประชุมแสง อายุ 84 ป เปนหมาย มีลูก 7 คน การศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 4 อาชีพทำนา อยูบานเลขที่ 129 หมูที่ 16 ตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ แมใหญจันทร ไดทำการรักษา ผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต รถยนต หกลม ตกจากที่สูง มาเปนเวลา 25 ป แมใหญจันทรไดรับการ ถายทอดการยางไฟจากบรรพบุรุษ ทรงศักดิ์ สอนจอย [4] ไดศึกษาการยางไฟภูมิปญญาการรักษาตนเองดวยวิธีพื้นบานของชาวอีสาน พบวา ผูทำการ รักษามี 3 กลุม กลุมแรกเปนชาวบานกลุมผูรู สวนใหญเปนหมอพื้นบานและผูนำทางศาสนา อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป เคยรวมใน พิธีกรรมและถูกเชิญใหเขารวมในกระบวนการยางไฟ กลุมที่สองเปนชาวบานทั่วไปกลุมผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 50 ปขึ้นไปและมี ประสบการณการรักษาดวยวิธีการยางไฟ กลุมที่สามเปนกลุมแมบานและพอบานหรือผูมีประสบการณการรักษาดวยวิธีการยาง ไฟที่มีอายุตั้งแต 20 – 49 ป ผูปวยที่รับการรักษาโดยวิธีการยางไฟ ผูปวยที่รับการรักษาโดยวิธีการยางไฟสวนใหญเปนผูปวยที่ประสบอุบัติจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตก จากที่สูง องคความรูการยางไฟ แมใหญจันทร ประชุมแสง [5] ไดกลาววา เริ่มจากการไหวครู โดยที่คาไหวครูจะเริ่มตั้งแต 2 บาทขึ้นไป พรอมกับ ดอกไมและเทียน จะทำแบบนี้กับผูปวยที่อาการหนัก สำหรับผูปวยที่อาการไมหนักมากก็จะทำการยางไฟอยางเดียว แมใหญ ไมเคยเรียกรองเอาเงินกับผูปวย เปนการชวยเหลือดวยความเต็มใจ ในสวนของการยางไฟ แมใหญจันทร ไดพูดถึงการยางไฟรักษาผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุวาเปนการสืบทอดกันมาตั้งแต บรรพบุรุษ ตั้งแตจำความไดก็เห็นการรักษาแบบนี้แลว ทำสืบตอกันมาจนเกิดเปนประเพณี เพราะเกือบทุกคนในบานจะ ทำการยางไฟทั้งหมด ถาเกิดอุบัติเหตุขึ้นก็จะมีการเตรียมอุปกรณและการเตรียมสมุนไพรเพื่อทำการยางใหผูปวยในบาน ถึงแมวาอุปกรณในบานจะไมมี แตก็มีญาติหรือเพื่อนบานชวยกันจัดหามา บางครั้งเจาของบานเตรียมแครยังไมเสร็จ ชาวบาน ก็หาสมุนไพรมาเต็มแครแลว ซึ่งถือไดวาเปนการเกื้อกูลกันในชุมชนและเปนการรวมตัวกันของญาติเพื่อใหกำลังใจผูปวย อุปกรณในการยางไฟ 1. แครไมไผ 2. สมุนไพร แมใหญจันทร [5] ไดพูดถึงสมุนไพรที่นำมาใชทำการยางไฟทั้ง 6 ชนิด ดังนี้ - ใบเปลาใหญ สรรพคุณ ลดอาการชอกช้ำ ลดปวด
  • 3. 251 - ใบหนาด สรรพคุณ ชวยระบบไหลเวียนเลือดใหดีขึ้น - ใบพลับพลึง สรรพคุณ แกอาการเคล็ด ขัด ยอก ฟกช้ำ - กระดูกสัตว (วัว, ควาย) สรรพคุณ บำรุงกระดูก - ขี้หมาขาว สรรพคุณ กระจายเลือดลม - ไมแดง สรรพคุณ บำรุงเลือด กระจายเลือดลม 3. ผาหม สมุนไพรบางชนิดหาไมไดในทองถิ่น การยางไฟในแตละครั้งสมุนไพรอาจจะไมครบทุกตัวก็ได สรรพคุณทั้งหมดของ สมุนไพรไมไดพิสูจน หรือหาขอมูลทางวิทยาศาสตรเพิ่มเติม เนื่องจากทำติดตอกันมานาน และเปนผลดีตอสุขภาพ ทุก ๆ คนพอใจกับการยางไฟ อาจจะมีบางที่มีเด็ก ๆ รุนใหมยังไมเขาใจ หรือไมไดทำการศึกษาอยางถองแท ก็จะเห็นวาเปนเรื่องที่ ลาหลัง เพราะสมัยนี้เจ็บปวยก็เขาโรงพยาบาลกันหมด แตถานอนโรงพยาบาลเย็บแผลเสร็จก็กลับมายางไฟตอที่บาน ในสวน ของขี้หมาขาวแมใหญจันทร [5] ไดกลาววาเปนตัวยาที่หายากที่สุด แตก็ยังพอหาไดอยู ใชกันตามพอแม โดยไมไดถามกันวา ขี้หมาขาวเปนตนไมหรือไม แตที่ทำมาติดตอกันก็คือการไปเก็บเอามูลของสุนัขที่เปนกอนเล็ก ๆ สีขาวเอาไปเผาไฟจะทำใหไมมี กลิ่นเหม็น ทายที่สุดแมใหญจันทรไดบอกวา สมุนไพรทั้งหมดที่ใชถึงแมจะไมไดมีการพิสูจนวาใชไดจริงหรือไมจริง แตก็มีการ ใชติดตอกันเปนเวลายาวนาน และเปนที่ยอมรับก็เลยใชสืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน ขั้นตอนการทำการยาง นำแครไมไผมาตั้งในบริเวณที่อากาศถายเทไดสะดวก กอไฟใตแคร ในสมัยกอนชาวบานจะใชฟนไมแดงเปนฟน แตปจจุบันนี้ไมแดงหายากจึงใชไมอะไรแทนก็ได ที่หาไดงายในทองถิ่นเติมไฟใหพออุนอยูตลอดเวลา โดยจะมีผูที่คอยดูแลไฟให ตลอดเวลาที่ทำการยาง อาจจะเปนญาติหรือผูใกลชิดที่เคารพนับถือที่แวะมาเยี่ยมผูปวย เชื้อไฟที่เติมนอกจากจะใชฟนแลว (ไมแดง) ยังมีใบหนาด ขี้หมาขาว และกระดูกสัตว (วัว, ควาย) เติมจนไฟพอเหมาะ เอาสมุนไพร ซึ่งประกอบดวยใบเปลา ใหญ ใบพลับพลึง วางบนแครไมไผ จากนั้นใหผูปวยขึ้นไปนอนบนแครไมไผ โดยใหผูปวยสวมเสื้อผาเนื้อหยาบ และใชผาหม ๆ ทับลงไป การยางในแตละครั้ง จะมีผูที่เปนญาติพี่นองมาชวยเติมไฟและควบคุมไฟใหตลอดเวลา และคอยเปลี่ยนสมุนไพรบน แครให ผูปวยจะไมไดยางไฟอยูคนเดียว จะมีคนเฝาที่เปนญาติพี่นองคอยถามอาการอยูตลอดวาปวดตรงไหนก็จะใหพลิกดานที่ ปวดยางไฟ และคอยชวยพลิกตัวผูปวยดานขาง ดานหลัง รวมทั้งอวัยวะตาง ๆ ใหถูกความรอน ผูที่ชวยควบคุมไฟก็จะชวย ดูแลไมใหเกิดความรอนมากเกินไปและเย็นจนเกินไป และยังตองดูแลไมใหเกิดควันมากเกินไป จำนวนวันที่จะทำการยางไฟ ผูปวยจะขึ้นอยูกับอาการของผูปวยวาเปนมากนอยแคไหน จากนั้นก็จะผลัดเปลี่ยนผูดูแลผูปวยในแตละวัน แตถาผูมีอาการ หนักมากก็จะมีญาติดูแลอยางใกลชิด และมีกำหนดยางไฟเปนเวลา 3 วัน แตถาอาการเล็กนอยก็จะทำการยางแค 1 – 2 วัน วันละ 2 ครั้ง เชา - เย็น ขั้นตอนการยางไฟและขั้นตอนการเตรียมอุปกรณไมยุงยาก เนื่องจากชาวบานจะคอยชวยเหลือกัน ตลอดเวลา บทสรุป 1. การยางไฟ เปนการดูแลสุขภาพแบบดั้งเดิมโดยหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ จะใชรักษาผูปวยที่ประสบอุบัติเหตุจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ ซึ่งถือวาเปนประเพณีและวัฒนธรรมของทองถิ่น [3, 4] 2. องคความรูดานการยางไฟ ประกอบดวย หมอพื้นบานหรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟ ผูปวยที่ ประสบอุบัติเหตุจากรถยนต รถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูง และอุปกรณในการยางไฟ ซึ่งประกอบดวย แครไมไผ สมุนไพร และผาหม [3, 4] 3. การยางไฟเปนการรักษาผูปวยที่อยูในภาวะเสี่ยงอันตราย คนที่เขาสูกระบวนการรักษาจะตองมีความเชื่อ และเชื่อมั่นในกระบวนการรักษา รวมถึงตองมีความรูดวยเชนกัน โดยสิ่งตาง ๆ เหลานี้สวนใหญจะไดจากความคิดและ
  • 4. 252 ประสบการณจากบรรพบุรุษที่เลาและบอกตอกันมา และประสบการณที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือเครือญาติที่ทำใหเกิดความเชื่อมั่น ในประสิทธิภาพการรักษา โดยเฉพาะในสวนของความรูเกี่ยวกับกระบวนการรักษาใหญซึ่งมีทั้งสวนที่เปนรูปธรรมและนามธรรม ในรูปธรรม เชน ความรูเกี่ยวกับการเลือกใชสมุนไพร สรรพคุณสมุนไพรในการรักษาโรค ความรูในวัสดุอุปกรณที่ใชในการ รักษา การวินิจฉัยอาการ และรูปแบบของการรักษาพยาบาล สวนนามธรรม เชน ความเชื่อที่แสดงผานพิธีกรรมตาง ๆ เปนตน [4] ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำบทความวิชาการไปใชประโยชน ในการยางไฟจะใชรักษาผูปวยที่ผูประสบอุบัติเหตุจากรถยนตรถจักรยานยนต หกลม และตกจากที่สูงเพื่อรักษาผูปวย ที่มี อาการไมหนักมาก เชน ถลอก ฟกช้ำ แตถาผูปวยอาการหนักตองเขารับการรักษาจากโรงพยาบาลกอน ผูทำการรักษาควร เปนหมอพื้นบาน หรือผูมีความรูและประสบการณเรื่องการยางไฟเทานั้น เอกสารอางอิง [1] พอใหญ คำกอง ทาบรรหาร. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู หมูที่ 16 ตำบลกลมลไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ. [2] พอใหญ วัน อาสาพนม. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู หมูที่ 16 ตำบลกลมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ. [3] จงกล พูลสวัสดิ์. 2550. “การดูแลสุขภาพโดยวิธีการยางไฟ : กรณีศึกษาประชาชนตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ”. Proceedings of the Thirtieth Annual Conference of the Anatomy Society of Thailand. คณะแพทยศาสตร และคณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมกับสมาคม กายวิภาคศาสตร (ประเทศไทย), หนา 129 – 135. [4] ทรงศักดิ์ สอนจอย. 2548. การยางไฟ : ภูมิปญญาการรักษาตนเองดวยวิธีพื้นบานของชาวอีสาน. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน. [5] แมใหญจันทร ประชุมแสง. 2549. สัมภาษณ. วันที่ 18 กุมภาพันธ 2549. ที่อยู 129 หมูที่ 16 ตำบลกลมลไสย อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ.
  • 5. 253 บทคัดยอ การแปลงสินทรัพยเปนทุน (ASSET CAPITALLIZATION) ถือเปนโครงการเพิ่มมูลคาในทรัพยสินจากปจจัยทุนเดิม โดยนำระบบกรรมสิทธิ์ (PROPERTY RIGHS) มาใชในการเพิ่มมูลคาสินทรัพยนั้นๆและนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนเปน เพียงนโยบายเพิ่มรายจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจรากหญา ตะเกียบขาที่ 2 ของรัฐบาลไทย จากผลการศึกษาวิจัย พบวา โครงการ แปลงสินทรัพยเปนทุน มีความกาวหนาในการดำเนินการลาชา โดยโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนไมสงผลกระทบตอการ ขยายตัวใหเกิดการลงทุนเพิ่ม(วิเคราะหจากตัวอยางและชวงที่ทำการศึกษา) กลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุน คือ กลุมแมคา พอคา แผงลอย เจาของเดิม ระดับการจางงาน การเคลื่อนยายแรงงาน รายไดภาคครัวเรือน ไมมีการเปลี่ยนแปลง หนี้สินภาค ครัวเรือนสำหรับผูรวมโครงการฯ เพิ่มสูงขึ้น ระบบทุนนิยม (CAPITALISM) พัฒนากาวหนาในประเทศตะวันตก แตสำหรับ ประเทศดอยพัฒนา เมื่อนำนโยบายออกมาประกาศใชแลวก็ไมประสบผลสำเร็จ อันเนื่องมาจากความสำคัญที่จะนำไปสูความ สำเร็จ และกาวหนาในการแกไขปญหาความยากจน คือ สถาบันการเมืองและระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน มีความบกพรองในเชิง กฎหมายและทางการเมืองรวมทั้งการนำไปปฏิบัติของเจาหนาที่รัฐโดยการเลือกปฏิบัตินอกจากนั้น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ยังมีความสำคัญตอการแกไขปญหาความยากจนในยุกตปจจุบัน Abstract Asset Capitalization is a government issue intended to boost value in assets from an original capital using property rights in increasing values of any asset. Asset Capitalization Policy aims to increase expenses in order to encourage the root grass economic which is the second chop stick of current Thai government. According to samples analysis and research in the study pace, the study revealed that Asset Capitalization Policy has been progressed slowly because the project has not influenced to increase any investment. The groups that can access capital sources are tradeswomen, tradesmen, stand-retailers and original owners. There is no change in the levels of employment, labor displacement and family incomes. The debts of families have been increasing in particular the participating families the project. Even though the capitalism has been advanced in the West, it is not helpful to be applied in underdeveloped countries. Therefore, the policy was declared to be used, but it cannot succeed. The results showed that the political institutes and property right systems deficit in laws and political including the following rules of the
  • 6. 254 officials’ performance causing unsuccessful and undeveloped in solving poverty of population. Moreover, Science and Technology are essential factors to carry out the poverty of population as well. บทนำ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี : แถลงนโยบายตอภา (23 มีนาคม 2548) เรื่อง นโยบายขจัดความยากจนของรัฐบาล จะดำเนินนโยบาย และมาตรการในการขจัดความยากจนของประเทศใหหมดไป โดยปรับปรุงระบบการบริหารจัดการทั้งระบบ เชื่อมโยงกับการแกไขปญหาความยากจนทุกระดับ จึงไดมีนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามแนวคิดของ Hernando de Soto นักเศรษฐศาสตรชาวเปรูจากผลงานเรื่อง The mystery of capital : Why capitalism Triumphs in the west and fails Everywhere Else ผูสรางความสนใจอยางกวางในสังคมไทย The mystery of capital ระบบทุนนิยมใชไดเฉพาะประเทศที่ พัฒนาแลวสำหรับประเทศดอยพัฒนา กอใหเกิดวิกฤติและความวุนวายทางสังคมอยูทั่วไป เพราะคนจนไมสามารถเขาถึงแหลง ทุนไดขบวนโลกาภิวัฒน (Globalization) ไมชวยคนจนไดเพราะเปนการเปดโลกและสรางเครือขายใหเฉพาะคนสวนนอยที่มั่งคลั่ง เทานั้นการประทวงจึงเกิดขึ้นในประเทศดอยพัฒนา เพื่อเปนการแสดงถึงความไมพอใจที่คนสวนใหญใชในปจจุบัน การแปลง สินทรัพยที่ประชาชนครอบครองอยูเดิมโดยไมมีกรรมสิทธิ์ใหมีกรรมสิทธิ์รวมถึงการแปลงทรัพยสินที่เกิดจากการคิดคนของ มนุษยที่ไมสามารถจับตองไดแตความคิดนั้นนำไปสูกระบวนการประดิษฐเปนผลิตภัณฑ โดยไดรับกรรมสิทธิ์ อันเกิดจากความ คิดคนนั้น หากนำไปประเมินคาสงผลใหเกิดมูลคาเพิ่มตามเอกสารสิทธิ กรรมสิทธิ์ เพื่อใชเปนหลักทรัพยค้ำประกันกูเงินจาก แหลงเงินทุนตามนโยบายรัฐ จากความสำคัญดังกลาวจึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตองวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากนโยบายแปลง สินทรัพยเปนทุน : กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อหาคาตัวทวีตามทฤษฏีของเคนส (Keynes) อันเกิดจากนโยบายแปลง สินทรัพยเปนทุน การเพิ่มขึ้นของการลงทุน /รัฐบาลมีงบประมาณรายจาย เพิ่มขึ้น จะทำใหหนวยธุรกิจภาคครัวเรือนลงทุน เพิ่ม-ลดอยางไร Y= C+S (2.1) โดย Y = Income C = Consumption S= Saving วิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาวิจัย วิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากการใชนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน กรณีศึกษา จังหวัด อุบลราชธานี เปนการศึกษาตัวทวี เพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงสาเหตุ ที่สงผลกระทบโดยตรงตอตัวแปรผล อันเนื่องมา จากโครงการตามนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนใน เรื่องดังตอไปนี้ 1) การขยายตัวการลงทุนจากตัวทวี อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 2) กลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุน อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 3) การจางงานเพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 4) การจางงานลดลง อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 5) รายไดภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 6) รายไดภาคครัวเรือนลดลง อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 7) หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 8) หนี้สินภาคครัวเรือนลดลง อันเนื่องจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน 9) การเคลื่อนยายแรง อันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน การศึกษาวิจัยนี้ ผูวิจัยไดนำแบบจำลอง (Model) ในทางเศรษฐศาสตร เปนกรอบวิเคราะหเริ่มตนจากแนวความ คิด(Conceptual Framework) ของ เฮอนานโด เดอโซโต นักเศรษฐศาสตรชาวเปรู ในเรื่องระบบกรรมสิทธิ์ และ นำกรอบ ทฤษฎี Franco Modigliani : (Theory) life-cycle Theory and Permanent-income theory (1985) โดยสาระของทฤษฎีตั้ง สมมติฐานของพฤติกรรมการบริโภคในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งขึ้นอยูกับรายได สวนทฤษฎี life-cycle Theory มีขอสมมติ วาปจเจกบุคคลจะวางแผนการบริโภคและการออมระยะยาวไว เพื่อจัดการบริโภคของตัวเองในแนวทางที่ดีที่สุด และแนวทางที่ จะเปนไปไดตลอดชวงชีวิตของเขา
  • 7. 255 การออม (saving) เกิดจากการที่ ปจเจกบุคคลไมบริโภคในปจจุบัน โดยจะเก็บไวเพื่อเตรียมความพรอมในอนาคต ตามแนวคิดนี้ โครงสรางอายุของประชากรเปนตัวกำหนดที่สำคัญอยางหนึ่งของพฤติกรรมและการออม กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนการเลือกแบบเจาะจงแบงออกเปน 2 กลุม 1. กลุมที่สมัครเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนประเภทที่สาธารณะใน 2 กลุมตัวอยางประชาชนทั่วไปที่ยังไม เขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน การเก็บขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดำเนินการเก็บขอมูลในเชิงคุณภาพ คือ การสัมภาษณ ผูมีสวนไดเสีย สังเกต และเชิง ประมาณโดยการสรางแบบสอบถาม ความเขาใจในเรื่องผลกระทบอันเนื่องมาจากนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุนแบงคำถาม ออกเปน 4 ตอน ตารางที่ 1 กรอบแนวทางการวิเคราะหขอมูลในเชิงคุณภาพ ผลการวิเคราะหขอมูล (The result of data Analysis) การศึกษาวิจัย วิเคราะหผลกระทบจากการใชนโยบายแปลงสินทรัพยเปนทุน กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี เปนการศึกษาตัวทวี เพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงสาเหตุ ที่สงผลกระทบโดยตรงตอตัวแปรตาม อันเนื่องมาจากนโยบาย แปลงสินทรัพยเปนทุนใน การวิเคราะหผลตอบแทนจากการลงทุนอิสระ จากสูตร โดยที่
  • 8. 256 และ ตารางที่ 2 วิเคราะหรายไดจากการขายกลวยฉาบ กรณีที่ 1 แสดงวา X1 เพิ่มขึ้น 1 หนวยโดยที่ X2 คงที่ Y จะเพิ่มขึ้น 0.3768 กรณีที่ 2 แสดงวา X2 เพิ่มขึ้น 1 หนวยโดยที่ X1 คงที่ Y จะเพิ่มขึ้น 0.0900 หรือ ตัวแปรอิสระไมสามารถอธิบายตัวแปรตามได และไมสามารถพยากรณผลได ตารางที่ 3 วิเคราะหรายไดจาการขายลูกชิ้น
  • 9. 257 ตารางที่ 4 วิเคราะหรายไดจาการขายตำสม ตารางที่ 5 วิเคราะหรายไดจาการขายคอหมูยาง สรุปผลการศึกษา วิจัย (Summary discussion and Recommendation) การศึกษาวิจัยวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากโครงการตามนโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนกรณีศึกษาจังหวัด อุบลราชธานีเปนการศึกษาวิจัยแบบผสมระหวางการวิจัยชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ พบวานโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุน สงผลกระทบ ตอการขยายตัวตอการลงทุนนอยมากจะเห็นไดจากรอบการหมุนของตัวทวี สำหรับกลุมผูเขาถึงแหลงเงินทุนจะ เปนกลุมแมคาพอคาเดิม ระดับการจางงานคงที่รายไดภาคครัวเรือนเปลี่ยนแปลงนอยมาก หนี้สินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้นการ เคลื่อนยายแรงงานคงที่เพราะเปนแรงงานในครัวเรือน นอกจากนั้นยังพบวากลุมผูเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนประเภท สาธารณะจะมีจำนวน 2 กลุมคือ กลุมที่มีปจจัยทุนเหลือเฟอ ไมประสงคจะกูยืมเงินจากแหลงเงินทุนเพียงแตตองการสิทธิในการ ครอบครองที่สารธารณะเทานั้น นอกจากจะไมกูเงินแลว บางคนยังเปนแหลงเงินทุนนอกระบบใหกับผูรวมโครงการรายอื่น หรือประชาชนทั่วไปในชุมชน กลุมที่2 เปนกลุมคนจนโดยคนกลุมนี้ มีความประสงคจะกูเงินจากโครงการแปลง สินทรัพยเปนทุนและปจจุบันยังเปนหนี้แหลงเงินทุนคือ ธนาคารชุมชน กองทุนหมูบาน และที่สำคัญเปนหนี้นอกระบบ เสียดอก เบี้ยในอัตรารอยละ 48-200.- บาทตอป สงผลใหรายรับไมเพียงพอกับรายจาย ขอเสนอแนะ นโยบายการแปลงสินทรัพยเปนทุนถือเปนตะเกียบขาที่ 2 ของรัฐบาลโดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มรายจายภาครัฐและ สรางโอกาสใหคนจนนำสิทธิกรรมสิทธิ์อันเกิดจากการครอบครองและสิทธิอันเกิดจากความคิดคนของมนุษยมาประเมินคาตาม โครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน จะนำไปสูความสำเร็จจะตองดำเนินการ ดังนี้
  • 10. 258 1) แกไขพฤติกรรมสวนตัวของเจาหนาที่รัฐ เรื่องจริยธรรมในการทำงานโดยใหมองผลประโยชนสวนรวมของประชาชน ผูยากจน ใหเปนไดรับประโยชนสูงสุดจากการแปลงสินทรัพยเปนทุน ภายใตกรอบกฎหมายที่เกี่ยวของในรูปบูรณาการ 2) แกไขระบบราชการโดยการปรับปรุงระเบียบ และกฎหมายตาง ๆ ใหสอดคลองกับทองถิ่นในแตละพื้นที่ตามสภาพ ความเปนจริงและในขณะเดียวกันก็ควรใหผูมีอำนาจจัดเจาหนาที่ใหความรูผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนตามความถนัด และความสามารถของผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนในแตละกลุมอยางตอเนื่อง พรอมสรุปผลความกาวหนาในการดำเนิน การเปนรายเดือน หรือ ไตรมาส ตามแผนงาน 3) ปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ โดยใหจัดทำขั้นตอนการเขารวมโครงการแปลงสินทรัพยเปน ทุนใหสั้นชัดเจนและนำเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงานอยางแทจริง 4) ควรเปดโอกาสใหคนทุกกลุมเขาถึงแหลงเงินทุน เชน ครัวเรือน ภาคการเกษตร การคา การบริการ สามารถเขาถึง แหลงเงินทุนได ภายใตกรอบความสามารถของตนเองเปนเกณฑ 5) การประเมินสินทรัพย ของผูกู ควรประเมินราคาใหสอดคลองกับราคาตลาด หรือราคาที่แทจริง บวก ดวยความ สามารถของบุคคล จึงประเมินคาออกมาเปนทุน 6) การปลอยเงินกูของธนาคารไมควรปลอยกูครั้งเดียวโดยควรปลอยกูเงินใหเปนงวด ๆ ตามแผนการผลิตที่เสนอไวตอ หนวยงานเจาของทรัพยสินหรือธนาคารผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน เพราะผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนบาง รายมิไดนำเงินกูไปลงทุนแตนำเงินกูไปชำระหนี้เดิมหรือไปใชจายเพื่อการบริโภค เปนสำคัญ แนวทางแกไข 1) ควรมีการพัฒนาทรัพยากรทุนมนุษยโดยใหการศึกษาการฝกอบรมในการประกอบอาชีพตามความถนัดสำหรับผู รวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนจากนั้นควรจัดทำแผนการผลิต แผนการจำหนาย การแปรรูผลิตภัณฑเพิ่มมูลคาในการผลิต เพื่อใหเกิดความแข็งแกรงและยั่งยืน 2) ศึกษาความเปนไปไดของโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนประเมินผลตอบแทนความคุมคาที่จะลงทุนเปนรายบุคคล เพื่อมิใหเกิดผลกระทบภายหลังดำเนินโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุน แลวเสร็จ 3) กรณีผูรวมโครงการแปลงสินทรัพยเปนทุนมีหนี้กับแหลงเงินทุนหลายแหงควรจัดหาเงินกูอัตราดอกเบี้ยต่ำใหกูยืม โดยการรวมหนี้แลวขยายระยะเวลาการสงชำระใหยาวขึ้นหรือทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูรวมโครงการแปลงสินทรัพย เปนทุนเพื่อมิใหไปกูเงินทุนนอกระบบในอัตราดอกเบี้ยสูง 4) ควรลงโทษผูมีอำนาจทางการเงินการเมืองที่ทำผิดโดยการปลอยเงินกูอัตราดอกเบี้ยสูงรอยละ 4-20 .-บาทตอเดือน เมื่อนำมาคำนวณจะไดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 48-200.- บาท/ป 5) ควรรณรงคสรางจิตสำนึกโดยการใชจายเงินภายใตขอจำกัดของรายไดที่ไดรับตอเดือน/ป เพื่อมิใหเกิดการสั่งสมหนี้ เพิ่มขึ้น จะทำใหมีความสุข ความมั่งคั่ง บรรณานุกรม อุดมศักดิ์ ศีรประชาวงศ . (2542) “หนวยที่ 2 ตลาดผลิตผลกับเสน IS” .ใน ทฤษฎีเศรษฐศาสตร มหภาค. นนทบุรี : สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิทยา ปนทอง .(2542) “หนวยที่ 4 ทฤษฎีวงจรชีวิตของการบริโภคและการออม ทฤษฎีรายไดถาวรของการบริโภค” ในทฤษฎี เศรษฐศาสตร มหภาค. นนทบุรี: สำนักพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ณรงศักดิ์ ธนวิบูลยชัย. (2542) “หนวนที่ 10 การประมาณคาพารามิเตอรของการถดถอยพหุคูณ”. ใน เศรษฐศาสตรเชิงปริมาณ สำหรับนักเศรษฐศาสตร.นนทบุรี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ณรงศักดิ์ ธนวิบูลยชัย.(2542) “หนวนที่ 3 การเปนเจาของและการระบุกรรมสิทธ “ ใน เศรษฐศาสตรสิงแวดลอม.นนทบุรี: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
  • 11. 259 บทคัดยอ การศึกษาวิจัย ผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใชโครงการ GFMIS,e-Auction มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษา สภาพปญหาอุปสรรคอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช Government Fiscas Management Information System : GFMIS,e- Auction โดยเนนการประเมินความคิดเห็นจากกลุมตัวอยาง ผูเขารับการฝกอบรม และสัมภาษณผูมีสวนไดเสีย ระหวางวันที่ 3 กันยายน 2548 ถึงวันที่ 20 พฤษภาคม 2549 จำนวน 495 ชุด ปญหาที่พบในการปฏิบัติจากการใชงานในระบบ GFMIS ดังนี้ 1) ระบบการปฏิบัติงานรูปแบบใหม เปนการประยุกตวิธีการทำงานจากการเขียนดวยมือบนกระดาษเปลี่ยนเปนการ ทำงานดวยอินเทอรเน็ต (ออนไลน) โดยชวงแรกทำใหผูปฏิบัติงานไมคุนเคยรูสึกยุงยากซับซอนขั้นตอนมากและที่สำคัญคือ ระบบงานยังไมหยุดนิ่งมีการปรับปรุงและซอมความเขาใจอยางตอเนื่อง 2) ระบบเครือขายมักประสบปญหาขัดของบอยครั้ง จึงนำไปสูการสงขอมูลไมไดตองเสียเวลารอการแกไข โดยเครื่อง Terminal ถือเปนอุปกรณสำคัญในการรับขอมูลของหนวยงานเขาสูระบบ GFMIS แตหนวยงานที่ไดรับจัดสรร เฉพาะสวน ราชการสวนกลาง คือ หนวยงานระดับ มหาวิทยาลัยฯ เขตพื้นที่การศึกษา และคลังจังหวัด สำหรับสวนราชการประจำจังหวัดที่ ไมไดรับจัดสรรเครื่องจะตองเดินทางไปนำสงขอมูล ณ คลังจังหวัด และจะตองรอการใชเครื่อง Terminal เรียงลำดับกอนหลัง ทำใหเสียเวลา เพิ่มตนทุนในการเดินทางสูงขึ้น 3) ดานการใหบริการ (Help Desk) มีจำนวนนอยเมือเปรียบเทียบกับหนวยงานที่จะตองเขาใชงานในระบบ GFMIS และการตอบขอหารือระหวางปฏิบัติงานบางครั้งไมสามารถตอบคำถามในขณะปฏิบัติงาน ณ เวลานั้นไดทันที อันนำไปสู กระบวนการที่ไมมีประสิทธิภาพสูงสุด 4) การใหบริการทางวิชาการ ผูรับผิดชอบโครงการยังไมสามารถจัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการใหกับผูปฏิบัติงานไดอยาง ทั่วถึง และควรเนนการฝกอบรมเชิงบูรณาการ (Integration) เชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันในมิติตาง ๆ เพื่อใหเกิดการคิดวิเคราะหอยาง เปนระบบอันนำไปสูประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุดตอประเทศ และหนวยงานไดอยางแทจริง ผลการศึกษาวิจัยระบบ e-Auction มาใช พบวาระดับพฤติกรรมอันนำไปสูภาคปฏิบัติของเจาหนาที่พัสดุ คณะกรรมการ ดวยอิเล็กทรอนิกส หัวหนาหนวยงาน และผูคา มีระดับความเขาใจแตกตางกันโดย e-Auction ระเบียบยังไมหยุดนิ่งมีการปรับ เปลี่ยนและแกไขเปนระยะ ๆ การบังคับใชมี 2 มาตรฐาน และยังขาดหนวยงานใหความรูทางวิชาการอยางตอเนื่อง กระบวนการจัดหาดวยระบบอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการฮั้วงานได แมวาจะมีคนกลางเขามาจัดการประมูลใหกับหนวย งานก็ตาม e-Marketplace service ในประเทศไทยมีจำนวนนอย ถือวาเปนตลาดผูขายนอยราย ถาเทียบกับหนวยงานที่จะตอง ถือปฏิบัติตามระเบียบฯ
  • 12. 260 Abstract The investigation of impacts of the enforcement measure in using Government Fiscas Management Information System, GFMIS and e-Government Procurement, e-GP or known as e-Auction, is intended to study problems that happen from using the enforcement measure. The processes concerned with evaluation of 495 survey forms collected from trainees’ ideas participating in the training held on September 3rd, 2005 through May 20th, 2006. Problems found in practical use of GFMIS 1. New operation system is that manual work which is written by hand on papers changed to work on-line via internet. The problem was that in the beginning the trainers were confused because they didn’t get used to the new system. The processes were more complicated and had to many steps as well. 2. Since the internet system often encounters with interruptions, the information cannot be sent in the proper time. This causes to waste time for fixing the failure. Terminals are the most important communication devices in the GFMIS. However, only main government organizations such as universities, educational areas and provincial treasures are received terminals. In the other hand, government sub-organizations doesn’t received terminals, so those organizations need to travel to the provincial treasures to send information to the GFMIS by waiting for sequence. The problems cause increase of the operation cost. 3. Help Desk is insufficient when compared to organizations requiring the use of GFMIS. Any time when the users want to communicate information during working, the communication cannot be done immediately. The users cannot receive the answers right away. The communication was ineffective. 4. Academic service, responsible units cannot provide workshops for entire users. The workshops should emphasize on integration linking between different dimensions to create analysis system effectively. The ultimate efficiency benefits to the country and organizations. The results of the study of the e-Auction project showed the behavior levels lead to the performance of procurement officers, electronic committee, head offices, and sellers have differences of understanding levels. The e-Auction regulation does not stop improving, but it has been changed intermittently. The electronic acquiring process cannot prevent illegal cooperation of sellers. There are few e-Marketplace services in Thailand when compared to the government agencies which must obey the regulation. บทนำ รัฐบาลไทยภายใตการนำของ พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไดนำวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชในการบริหารประเทศ อันเปนที่มาของศูนยบัญชาการทางอิเล็กทรอนิกสโครงการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐสู ระบบอิเล็กทรอนิกส (Government Fiscas Management Information System :GFMIS ,e-Auction) จากสภาพปญหาการ บังคับใช GFMIS ,e-Auction กับหนวยงาน สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระตามมติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ คำสั่ง แมวาจะ มีความจำเปนอยางยิ่ง สำหรับประเทศกำลังพัฒนาอันนำไปสูความเปนสากลเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในระดับนานาชาติ โดยเนน ใหมีผูรับ ความรับผิดชอบ (Accountability) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความโปรงใส (Transparency) ความคุมคา (Value for Money) และ สรางระบบธรรมาภิบาลในการบริหาร (Good Governance) ทั้งนี้ หากมองในมุมผูที่จะรับปฏิบัติตามนโยบายรัฐ คือ หัวหนาสวนราชการ หัวหนาหนวยงาน ตลอดจนหัวหนาองคกร โดยหนวยงานเหลานี้ไมมีความพรอมทางดานบุคลากรที่ จะนำไปปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งเจาหนาที่ผูไดรับผลกระทบอยางแทจริง คือ เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการจัดหาพัสดุ เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการเงินและการบัญชี คนสองกลุมนี้ ขาดความเขาใจในแนวปฏิบัติที่ถูกตอง และตองแสวงหาความรูเอง ในระยะเริ่มตน อันเนื่องมาจากไมมีหนวยงานที่ใหความรูในเบื้องตนอยางเพียงพอโดยรัฐขาดการประชาสัมพันธลวงหนา ทั้งที่ เปนการเปลี่ยนวิธีการทำงานจากการเขียนดวยระบบมือบนกระดาษ เปนวิธีการทำงานดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (ออนไลน)
  • 13. 261 GFMIS เปนระบบฎีกาบัญชีทางอิเล็กทรอนิกส e-Auction เปนธรุกรรมการจัดหาดวยวิธีอิเล็กทรอนิกส จุดเดนของ e-Action เปนการเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ต (ออนไลน) แทนการยื่นซองเสนอราคาแบบเดิม โดยมีคนกลาง คือผูให บริการตลาดกลาง (e-Marketplaceservice) เปนผูนำโปรแกรมมาใหบริการแกหนวยงานที่ทำการจัดซื้อ จัดจางผูคา (Supplier) มีหนาที่เสนอราคาผานระบบอิเล็กทรอนิกสภายในระยะเวลา สถานที่ที่ไดกำหนดไวแทนการยื่นซองเสนอราคาแบบเดิม ทั้งสอง ระบบมีการบันทึกขอมูลทางอิเล็กทรอนิกส (ผานอินเทอรเน็ต) ดังนั้น กระบวนในการทำงาน จึงมีลักษณะเปนแบบจำลอง Dynamic Model โดย ผูคา ที่ไดจากกระบวนการจัดหา e-Auction จะตองเขาไปทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกสออนไลน GFMIS เพื่อตั้งจายกอหนี้ผูกพันตามโครงการที่ไดรับจัดสรรงบประมาณของหนวยงานทางอิเล็กทรอนิกส เมื่อผูบริหารระดับประเทศ ระดับกระทรวง ระดับกรมอยากรูการเคลื่อนไหวตาง ๆ ก็สามารถเรียกดูได จึงสงผลใหเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยาง แทจริง อยางใดก็ตามแมวาระบบสารสนเทศในปจจุบันจะสามารถยอฐานขอมูลของสวนราชการทั้งประเทศใหอยูในคอมพิวเตอร เพียงเครื่องเดียวได ก็มิไดหมายความวาประเทศไทยกาวหนากวาประเทศอื่น อันเนื่องมาจากไมไดเปนผูผลิต Software ใชงาน แตเปนการจัดซื้อ/ ผูวาจางทำเพื่อการใชงานระบบ GFMIS จากตางประเทศ การบังคับใช GFMIS , e-Auction กับหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องคการมหาชน และหนวยงานอื่นของรัฐ ที่อยู ในสังกัด การบังคับบัญชาหรือการกำกับดูแลของฝายบริหารตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือกฎหมาย จัดตั้งหนวยงานนั้น ๆ แมวา ทั้งสองโครงการดังกลาวขางตน จะเปนแนวคิดที่ดีเพราะเปนหลักสากลทั่วไป แตสิ่งที่ควร กระทำกอนบังคับใช คือการพัฒนาทรัพยากรทุนในตัวมนุษย อันเปนปจจัยทุนที่มีความสำคัญยิ่งกวาปจจัยอื่น เพราะเปนผูที่นำ นโยบายไปปฏิบัติงานในหนวยงานใหบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรการบังคับใช จากความสำคัญดังกลาว จึงมีความจำเปนที่จะ ตองทำวิจัย ผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช GFMIS , e- Auction ขึ้นเพื่อทราบถึงปญหาและแนวทางแกไขปญหา ที่ถูกตอง อันจะนำไปสูการพัฒนาประเทศ และหนวยงานอยางยั่งยืนในอนาคต วิธีดำเนินการวิจัย การวิเคราะหผลกระทบอันเนื่องมาจากมาตรการบังคับใช GFMIS, e-Auction เปนการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ ความเขาใจโดย ประชากรกลุมตัวอยางไดจาก 2 กลุม คือ ผูเขารับการฝกอบรม และสัมภาษณผูมีสวนไดเสียโดยตรงทางโทรศัพท และนำ หลักทฤษฏี Balanced Scorecard : Drs. Robert Kaplan, David Norton. เปนเกณฑประเมินวัดความเขาใจของกลุมตัวอยาง ตาราง 1 กรอบแนวทางการวิเคราะหขอมูลและเกณฑการประเมิน
  • 14. 262 ผลการวิเคราะหขอมูล (The result of data Analysis) การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนำแบบสอบถามความเขาใจจากผูเขารับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร GFMIS, e- Auction จำนวน 495 ชุดในเชิงปริมาณประมวลผลโดยโปรแกรม SPSS ตามตารางที่ 2-6 กลุมตัวอยางจำนวน 5 กลุม ระหวางวันที่ 3 กันยายน 2548 – 20 พฤษภาคม 2549 ดังนี้ ตารางที่ 2 รุนที่ 1 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 103 ตารางที่ 3 รุนที่ 2 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 106 ตารางที่ 4 รุนที่ 3 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข (/ ) คือ N (Population) จาก 155
  • 15. 263 ตารางที่ 5 รุนที่ 4 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข ( / ) คือ N (Population)จาก 103 ตารางที่ 6 รุนที่ 5 แสดงความเขาใจโดยคิดเปนรอยละโดยตัวเลข (/) คือ N (Population)จาก 120 สรุปผลการศึกษา วิจัย (Summary discussion and Recommendation) ปญหาอุปสรรคของการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ที่พบ คือการทำงานในระบบ GFMIS เปนการเปลี่ยนแปลงวิธีการ ทำงานแบบใหมโดยเนนกระบวนการทำงานในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการปฏิบัติงานผานระบบอินเตอรเน็ต (ออนไลน) เครื่อง Terminal ถือเปนอุปกรณที่สำคัญในการรับ-สงขอมูลเขาสูระบบ GFMIS อันเนื่องมาจากเครื่องTerminal รัฐบาลจัดสรรใหสวนราชการระดับกรมเชน มหาวิทยาลัยฯ คลังจังหวัด เขตพื้นที่การศึกษา ดังนั้น สวนราชการอื่นจึงตองเสีย เวลาในการเดินทางไปสงขอมูล ณ คลังจังหวัด ถือเปนการเพิ่มตนทุนคาใชจายในทำงานเพิ่มขึ้น Help Desk ในระบบ GFMIS มีจำนวนนอยและการตอบขอหารือระหวางผูปฏิบัติงาน ณ หนวยงาน เชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในขณะ เกิดปญหาระหวาง ปฏิบัติงาน ผูตอบปญหาไมสามารถตอบไดในขณะนั้น หรือตอบปญหาไมชัดเจนบางครั้งจะตองรอคำตอบในวันถัดไป ดานการใหบริการทางวิชาการของหนวยงานที่รับผิดชอบไมสอดคลองกับการบังคับใช อันเนื่องมาจากการบังคับใชกับ สวนราชการทั่วประเทศ และมีเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานเขาไปใชระบบ GFMIS เปนจำนวนมากไมวาจะเปนเจาหนาที่การเงิน เจาหนาที่บัญชี เจาหนาที่พัสดุ และผูบริหารองคกรในระดับตาง ๆ จะมีความสัมพันธในมิติตาง ๆ อยางเกี่ยวเนื่องแตขาดการให ความรูอยางทั่วถึงนอกจากนั้น ระบบ GFMIS ยังไมหยุดนิ่ง มีการปรับเปลี่ยนและทำความเขาใจเกี่ยวกับการใชงานอยาง ตอเนื่องในขณะปญหาที่เกิดขึ้นเปนปญหาเฉพาะหนาระหวางปฏิบัติงาน โดยผูปฏิบัติงานใชสถานการณที่เกิดขึ้นจริงเปน จุดศูนยกลางการเรียนรู (Group Center) e-Auction ในชวงเวลาที่ทำการศึกษา พบวา เกิดปญหาความไมเขาใจในแนวทางปฏิบัติของขาราชการกลุม ตาง ๆ แตกตางกันไป อันนำไปสูการปฏิบัติงานยังไมมีประสิทธิภาพอยางแทจริง 1. กลุมขาราชการการเมืองระดับทองถิ่น กลุมนี้โดยเฉพาะผูบริหารองคกร วิตกกังวล ไมเขาใจวิธีประมูลดวยระบบ อิเล็กทรอนิกส อันเนื่องมาจาก ผูคา ซึ่งใหการสนับสนุนในขณะเลือกตั้ง จะมีบทบาทสำคัญตอกระบวนการจัดหา 2. กลุมผูนำไปปฏิบัติงาน คือ ระดับเจาหนาที่ปฏิบัติงานพัสดุ ขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดหาพัสดุ ดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส จึงสงผลใหเกิดความลังเลไมปฏิบัติตามระเบียบ และไมรูวิธีแกไขปญหา อันนำไปสูการทำงานที่ ผิดพลาด และสงใหเกิดปญหาตอเนื่องไปยังคณะกรรมการฯ
  • 16. 264 ขอเสนอแนะ e-Auction เปนการประยุกตวิธีการทำงานจากวิธีการประกวดราคาเดิม มาเปนวิธีการเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ต ออนไลนภายในระยะเวลาและสถานที่ที่ไดระบุไวในประกาศโดยสถานที่จะตองไดรับอนุญาติและขึ้นทะเบียนไวกรมบัญชีกลาง กำหนดเทานั้น วิธีการทำงานยังคงเปน 2 รูปแบบคูขนาน คือ ระบบเอกสารตามระเบียบฯ และระบบขั้นตอนทางอิเล็กทรอนิกส วิธีการการทางอิเล็กทรอนิกสไมสามารถปองกันการฮั้วงานได ถารัฐตองการใหวิธีการจัดหาดวย e-Auction ปองกัน การฮั้วงานได ทุกขั้นตอนควรจะทำงานผานระบบอินเตอรเน็ตออนไลน เชน ยื่นเอกสารผานระบบอินเตอร รับเอกสาร ตรวจเอกสาร ฝกอบรมผูคาผานอินเทอรเน็ต และเสนอราคาผานระบบอินเตอรเน็ตไดทุกสถานที่โดยไมจำกัด อนึ่ง กระบวนการจัดหาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ.2549 ที่บังคับใชเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 นั้น แมวา จะไมประกาศรายชื่อผูผานการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องตน และมิใหตลาดกลางจัดอบรมผูคาแตมีการกำหนดสถานที่เสนอราคา โดยผูคาจะตองเดินทางไปเสนอราคา ณ สถานที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมบัญชีกลางกำหนด ซึ่งไมแตกตางกับวิธีการประกวดราคา เดิมที่กำหนดใหใชสถานที่กลาง ยื่นซอง รับซอง เปดซอง เสนอราคา การกำหนดสถานที่ดังกลาวจะสงผลให ตนทุนในการ เดินทาง คาใชจายเพิ่มขึ้นและใชเจาหนาที่ประจำหองเสนอราคาเพิ่มขึ้นตามลำดับ สิ่งที่สำคัญคือไมสามารถปองกัน การฮั้วงานได กรณีวงเงินเกิน 50 ลานใหกรมบัญชีกลางเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส มีขั้นตอน การดำเนินงานทางดานเอกสารแบบฟอรมมาก ทำใหเกิดความลาชา จึงไมสอดคลองกับยุทธศาสตรการกระจายอำนาจอยาง แทจริง GFMIS, e-Auction ควรมีหนวยงานกลางใหความรูอยางตอเนื่องอันเนื่องมาจากระบบยังไมหยุดนิ่ง เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพ ศักยภาพในการทำงานใหกับเจาหนาที่ของรัฐเกิดความมั่นใจ และปฏิบัติงานได ถูกตอง แมยำโดยเฉพาะการ บังคับใช e-Auction 2 มาตรฐานในปจจุบัน จากผลการศึกษาวิจัยและเปนศูนยการจัดประมูลดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกสที่ผานมา พบวา e-Auction ไมสามารถปองกันการฮั้วงานไดแลว ยังอาจจะเปนวิธีที่เอื้อใหผูคาฮั้วงานไดอยางโปรงใส แต e-Auction ก็มีจุดแข็งที่กระบวนการจัดหาดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส ปองกันเจาหนาพัสดุผูนอยใหปลอดภัยไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะมี e-Marketplace Service รับหนาแทนเจาหนาที่พัสดุ แนวทางแกไข ดานทรัพยากรมนุษย คือ เจาหนาที่ของรัฐควรสงเสริมใหไดรับการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ และซักซอมความเขาใจใหผู ปฏิบัติงานผูบริหารระดับตาง ๆ อยางตอเนื่อง อันเนื่องมาจากระเบียบและแนวปฏิบัติยังไมหยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยาง ตอเนื่อง โดยการใหความรู และเนนการใหความรูภาคปฏิบัติ มากกวาทฤษฎี นอกจากเจาหนาที่รัฐแลวควรจัดหลักสูตรให ความรูเกี่ยวกับวิธีเสนอราคาผานระบบอินเทอรเน็ตโดยโปรแกรมตลาดกลางสำหรับผูคาอยางทั่วถึง การเสนอราคาไมควร กำหนดใหผูคาเดินทางไปเสนอราคา ณ สถานที่ที่ขึ้นทะเบียนไวกับกรมบัญชีกลางเทานั้นเพราะจะทำใหเกิดการฮั้วงานได การเสนอราคาควรเสนอไดจากทุกสถานที่ตามประกาศกระทรวงการคลังป พ.ศ.2548 จะมีประสิทธิภาพมากกวาระเบียบฯ พ.ศ.2549 เอกสารอางอิง สมคิด พรมจุย.2549. เทคนิคการจัดฝกอบรม. ใน : เอกสารประกอบการฝกอบรมหลักสูตรเทคนิคการจัดฝกอบรม. 5-10 มีนาคม 2549. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชธานี. หนา 2 รัชชนนท แกะมา.2546.การวิเคราะหตนทุนการจางเหมากอสรางโดยวิธีประกวดราคาเทียบกับวิธีการประมูลดวยระบบ อิเล็กทรอนิกส. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย. 106 หนาเศรษฐศาสตร มหาบัณฑิต อัญชลี เทพรัตน. GFMIS Strategy against corruption or influence on Thai Government. สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ. แนวทางการจัดหาพัสดุโดยการประกวดราคาทางอิเล็กทรอนิกส.