SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
101
เพราะฉะนั้นเขาก็จะเอาเงินเดือนตรงนั้นมาใส อันนี้อาจจะทำใหทานมองเห็นภาพวา ถาเชนนั้นก็มีความเปนไปไดใชไหมที่
โครงสรางบัญชีเงินเดือนของสายวิชาการ อาจจะเหมือนของ ก.พ. ในประเภทวิชาการใชหรือไม ยังไมมีใครใหคำตอบได
แตผมอาจจะชี้ใหเห็นวา มันมีความเปนไปไดมากนอยแคไหน จะสูงไหมที่เงินเดือน เรามาดูกลุมสุดทายคือ กลุมทั่วไป กลุมนี้ก็
คือกลุมของสายสนับสนุนวิชาการนั่นเอง เพียงแตวาในสายสนับสนุนวิชาการตรงนี้ จะเปนกลุมของบริหาร หรือกลุมสนับสนุน
วิชาการโดยตรง ใชไหมครับ และกลุมเหลานี้มีทั้งที่ใชคุณวุฒิต่ำกวาปริญญาตรี และปริญญาตรีขึ้นไป แลวกลุมปริญญาตรีขึ้น
ไปก็มีทั้งวิชาชีพและไมใชวิชาชีพ ถามวาที่ผมกลาวทั้งหมดนี้ อยูในนี้ทั้งหมดไหม มันอาจจะไมใช เพราะฉะนั้นนี่คือการ
วิเคราะหเบื้องตน หมดจากบัญชีเงินเดือน 4 บัญชี ที่วากำหนดขั้นต่ำ ขั้นสูง ก็มาถึงเงินประจำตำแหนง และเงินประจำ
ตำแหนงผูบริหาร ก็ไมตางไปจากเดิม คือ ปลัดกระทรวง และอธิบดี มีสิ่งที่คิดวา นาจะตองกลับไปดูนิดหนึ่งวา เผอิญมันไมมีซี
ซีนี้เดิมทีมีเงินประจำตำแหนง ซึ่งผูกกับซี แตขณะนี้เงินประจำตำแหนงจะไมผูกกับซีแลว มันไปตามตำแหนง เพราะฉะนั้น
ตำแหนงระดับสูงมันขึ้นอยูกับที่เขากำหนดวา มันหมายถึงตำแหนงปลัดกระทรวงตำแหนงเดียวใชไหม ถาใชก็รับเงินประจำ
ตำแหนงตรงนี้ และถาเปนอธิบดี หรือ รองปลัดฯ มันเปนระดับตนหรือเปลา ถาใช มันก็เปนดังที่วา ก็คือ 14,500 บาท ที่นี้
ของเราไมใชตำแหนงผูบริหารเหมือนกับของพลเรือนเขา เพราะในสภาพปจจุบันไมใชอยูแลว เพราะไมมีตำแหนงที่มีอัตรา
เงินเดือนรองรับ ถาใครเปนอธิการบดี จะไมมีตำแหนงอธิการบดีที่มีอัตราเงินเดือนเลย ไมมีหรอกครับ มีแตเงินประจำตำแหนง
ให 15,000 บาท แลวสมทบอีกเทาตัวคือ 30,000 บาท เพราะฉะนั้นเงินประจำตำแหนงตรงนี้เอามาใชกับเราไมไดในตำแหนงผู
บริหาร เมื่อใชไมได แนนอน ก.พ.อ. ก็ตองใชของเดิม หรืออาจจะออกแบบเหมือนเดิม สำหรับผูบริหารตั้งแตหัวหนาภาคขึ้น
ไปจนกระทั่งถึงอธิการบดี
ประเภทที่ 2 คือ ประเภทอำนวยการตรงนี้ไดแก สายบริหารที่เปนสายสนับสนุนวิชาการ ทั้งหลาย เชน หัวหนากอง
หัวหนาสำนักงานอธิการบดี เงินประจำตำแหนง เทียบไดตรงนี้ เพียงแต ใชชื่อตำแหนงเพื่อใหไดรับเงินประจำตำแหนงเทานั้น
เอง ซีไมมีแลว ตรงนี้ที่ผมบอกวา ทำไมผมถึงคิดวา โครงสรางบัญชีเงินเดือนของสายวิชาการของขาราชการพลเรือนสามัญ
เรานาจะตองอิงหรือใชของเขา เพราะอะไร ก็เพราะวา ถาเราดูเงินประจำตำแหนงควบคูกับบัญชีเงินเดือนเราจะพบวา ในปจจุบัน
การรับเงินประจำตำแหนงของเราเริ่มตั้งแต 3,500 บาท จนกระทั่ง 15,600 บาท หรือ 13,000 บาท ทานสังเกตไหมครับวา มันมี
เงินประจำตำแหนงผูทรงคุณวุฒิ 2 อัตรา และถาทานยอนกลับไปดูบัญชีเงินเดือนใหม อะไรจะเกิดขึ้นกับโครงสรางบัญชี
เงินเดือนใหม ถาหากเงินประจำตำแหนงมี 2 อัตรา นั่นหมายถึง เงินเดือนสูงสุดใครก็ตามที่ไปถึงจุดนั้น นาจะรับเงินประจำ
ตำแหนงสูงสุดใชหรือไม ถามวาแลวใครจะรับเงินประจำตำแหนง 13,000 บาท ก็แสดงวา ผูที่เริ่มไปที่ผูทรงคุณวุฒิขั้นตน ก็นา
จะรับ 13,000 บาท และทำไมไมรับเงินเดือนใหทะลุไปทั้งหมด แปลวา มันจะมีบารอยูใชหรือไม เทาที่ผมวิเคราะหและสังเกตดู
เมื่อเงินประจำตำแหนงมันมี 2 อัตรา แนนอนมันนาจะตองมีบารหรือเปลา เงินเดือนขั้นสูงสุด จากเงินประจำตำแหนงที่มี 2
อัตรา มันไมลบเหลืออัตราเดียวแลว
เมื่อมาดูที่ขาราชการของเราขณะนี้ไดเสนอกฎหมายเขาไปแลว ถามวากฎหมายของเรากลุมแรก เราเปลี่ยนอะไรไหม
ไมไดเปลี่ยน กลุมที่ 2 ก็ไมไดเปลี่ยน มีปรับเพียงเขียนวา ใหมีหัวหนาสำนักงานอธิการบดี หรือผูอำนวยการสำนักงาน
อธิการบดี ไวในนี้ และเพิ่มตำแหนงบริหารเขาไป เพราะฉะนั้น ตำแหนงผูบริหารตั้งแตซี 6 ขึ้นไปถึง วงเล็บ 1 เปนตำแหนงผู
บริหารที่แตงตั้งตามพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยแตละแหง เดิมทานไมมีเงินเดือนถูกไหม ของใหมก็คงหนีไมพนคือ ไมมี
เงินเดือน ทานคงสงสัยวาแลวรับเงินเดือนไดอยางไร เมื่อไมมีเงินเดือน ทานก็รับเงินเดือนของทานอยูเดิม ทานมีตำแหนงทาง
วิชาการ ถูกไหมครับ ทานก็รับตำแหนงทางวิชาการ เพราะฉะนั้นของใหมไมไดหมายความวา เราจะมีโครงสรางบัญชีเงินเดือน
ตำแหนงประเภทผูบริหารมหาวิทยาลัย ซึ่งไมเหมือนพลเรือน ซึ่งตองหลุดจากเกาอี้ตัวเดิมไปนั่งเกาอี้ตัวใหม แนนอนครับ
เพราะหนาที่ความรับผิดชอบมันเปลี่ยนไปชัดเจน แตในมหาวิทยาลัยมันเปนบริหารงานวิชาการมากกวาจะบริหารงานเหมือน
พลเรือนทั่วไป เพราะฉะนั้นก็แปลวา โครงสรางบัญชีเงินเดือนก็คงจะไมมีเหมือนเดิม เงินประจำตำแหนงคิดวาคงไมตางจากเดิม
เพราะถาตางจากเดิม เราจะอธิบายไดอยางไร แตอยางไรก็ตามเราอาจจะตองไปดูสักนิดหนึ่งวา ถาจะไปเทากับปลัดกระทรวงก็
คงไมได ตองดูวาของเดิม อธิการบดีอยูที่ 15,000 บาท ถาอธิบดีอยูที่ 14,500 บาท เราจะไปปรับเราก็ไมรูจะหาเหตุผลอะไร
มาอธิบาย เพราะตำแหนงอธิบดีก็เทียบเทาอธิการบดี แตถาเขามีการปรับตรงนี้ เราก็ตองปรับแนนอน อยางนอยก็ตองไมนอย
กวาอธิบดี เพราะฉะนั้นหลักการอยูที่ตรงนี้ ก็แปลวา อาจารยในสายวิชาการนั้น ก็จะมีแตเงินประจำตำแหนง ไมมีเงินเดือน
แนนอน แตตั้งแตระดับ 7 ลงมาจนถึงระดับ 8 ในตำแหนงอื่นที่ ก.พ. กำหนดซึ่งอาจจะกำหนดตำแหนงบริหาร ไวที่ระดับ 7
102
ตรงนี้ ประเด็นแรกถามวา จะมีโครงสรางบัญชีเงินเดือนไหม ถามวา ลักษณะงานในปจจุบันของเรา ตำแหนงผูบริหารระดับ
กอง หรือ หัวหนาสำนักงานอธิการบดี ถาจะแยกโครงสรางบัญชีเงินเดือน ออกมาตางหาก โดยใช บัญชีเงินเดือนของ
ผูอำนวยการ หรือที่เรียกชื่ออื่น ๆ จะทำไดไหม ถาดูโดยหลักแลวก็นาจะทำได แตถามันมีวิธีการสรางบัญชีเงินเดือนขึ้นมารอง
รับ ทั้งประเภท ผูอำนวยการ และประเภททั่วไป แลวใหประเภท ผูอำนวยการ ไปไดเหมือนกับพลเรือน มันก็อาจจะใชบัญชีเดียว
ได เพราะการแยกบัญชีตองดูใหดี เพราะวากลุมคนเหลานี้ ถาแยกบัญชีก็หมายถึงวา การขามประเภทนั้นจะตองขามประเภท
ไดดวย ถาแยกบัญชีแลว เกิดความรูสึกไหมวา จะขามประเภทไมได ก็คืออยูประเภทอำนวยการ หรือเราบอกวา เราอยู
ประเภททั่วไป อยางนี้จะขามมาประเภทอำนวยการ คือเปนผูอำนวยการกอง เลขา ไดหรือเปลาอันนี้ตองไปตอบเขาอีก แตถา
อยูดวยกัน คำตอบไมตองตอบมีแคนั้น ก็ตองวิเคราะหดูวา จริง ๆ มันควรจะทำไหม ถาจะทำคงจะเหมือนพลเรือนใชไหม
แตถาไมทำ ถึงแมไมเหมือน เงินเดือนเขาไมตางจากพลเรือนทำไดใชไหม ก็ตองไปดูวาเราควรจะมีกี่บัญชี อาจจะไมเหมือน
เขาทั้งหมด แตวิชาการมันคอนขางเห็นภาพ อยางที่ผมอธิบายถูกไหมครับ
ตอนนี้มาดูคราว ๆ นิดหนึ่ง มาถึงตำแหนงตรงนี้ของสายสนับสนุน มันมีชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษอยู
ทุกวัน นี้ ระบบเปนอยางนั้น จะมีอยู 2 กลุม กลุมที่ใชวิชาชีพ คือพวกแพทย พยาบาลทั้งหลาย ไมใชอาจารยแพทยนะ
พวกที่เปนวิศวะ กับกลุมที่ไมใชวิชาชีพ ของพลเรือนก็คือเปนประเภทวิชาการ แตของเราคงไมใช กลุมนี้เองถามวา บัญชี
เงินเดือนจะใชบัญชีไหน เมื่อสายวิชาการโดยหลัก นาจะใชประเภทวิชาการไปแลว ซึ่งถึง 61,860 ตรงนี้เวลาวิเคราะหก็ตองดู
ระบบเดิมวาเขาไปไดแคไหนเหมือนกับสายวิชาการ เอาละก็พูดมานาน เรามาดูสายวิชาการของเรา ของเดิมมีทั้งหมด 4
ตำแหนง ใน 4 ตำแหนง ระบบเดิม ตำแหนง บวกซีในระหวางตำแหนง บวกอันดับเงินเดือนที่ทานจะไดรับ บวกเงินประจำ
ตำแหนง ดวยใชไหม 4 อยาง ตอไปนี้มันจะเหลือแค 3 อยาง มันจะเหลือตำแหนง เหลือเงินเดือน เหลือเงินประจำตำแหนง
3 อยาง คำถามงาย ๆ ถาซีมันหมดไปแลว มันจะมีผลกระทบกับเงื่อนอะไรของสายวิชาการ ผมบอกวา ไมมีผลกระทบ เพราะ
ตำแหนงวิชาการมันมีการประเมินผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนตำแหนง ไมใชเพื่อเลื่อนซี ในสภาพปจจุบัน ที่เอาซีไปใสแตละ
ตำแหนงนั้น ก็เพื่อสิทธิประโยชนของทานบางอยาง ตอนนี้ก็ตองตั้งคำถามกลับวา เมื่อไมมีซีแลวสิทธิประโยชนบางอยางที่
กลาว มันจะหมดไปดวยหรือเปลา การปรับอะไรก็ตามมันตองไมมีผลกระทบตอสิทธิประโยชนของคน เพราะฉะนั้น เขาตอง
เทียบใหเราครับวา ตำแหนง ผศ. เดิมทีมันไดเครื่องราชฯ แตละชั้นถึงชั้นสูงสุด แคไหน เราคงตองไดเหมือนกันและแตละขั้น
ควรจะเอาอะไรเปนตัวกำหนด ระยะเวลาเปนตัวกำหนดใชไหม คงใชไดอยูหรือเปลา ถาระยะเวลาเปนตัวกำหนดก็ไมเห็นอะไร
แปลก ก็เหมือนเดิมและ ตำแหนง ผศ. สูงสุดเดิมซี 8 ชั้นอะไรก็ตองไดชั้นนั้น แตก็มีปญหาตามมาอีกวา เดิมที ผศ. ซี 6
ขึ้นเครื่องบินไมได มาถึงตรงนี้สิทธิประโยชน เรื่องคาเดินทาง คาเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ตาง ๆ เหลานี้ ตรงนี้เอาก็คงตองมีการเทียบ
เหมือนกัน หลักก็คงตองอิงของพลเรือนเขา เทียบอยางไรก็คงจะหนีไมพนตำแหนงชำนาญการของเขากับตำแหนงทางวิชาการ
ของเรา มันแตกตางกันตรงไหน ชำนาญการเขาถาดูเงิน เริ่มที่ 3,500 บาท ก็เหมือนของเรา ตอนนี้ผมยังไมถึงเงินประจำ
ตำแหนงที่จะชี้ใหเห็น ผศ. จะเริ่มที่จุดนี้ที่ของเดิม ( ชี้ภาพ ) และ รศ. ทั้ง 2 อยางนี้ คือชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ
ของพลเรือน เพราะเงินประจำตำแหนงมันเหมือนกัน ผศ. ก็คือชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ และ รศ. ก็คือเชี่ยวชาญ ศ.
ก็คือทรงคุณวุฒิ ถาจะเทียบอยางนี้ เพราะวาเราจะมาบอกวา ผศ. ตรงนี้ก็ไมได รศ. ก็ไมได มันผิด ทำไมผมถึงบอกวา 2
อยางรวมกัน ก็คือเอาเงินตำแหนงที่เราจาย ผศ. เทาไรมาเทียบนี่คือ ในตำแหนงทางวิชาการ ถาเอาซีออกแลวสิทธิประโยชน
บางอยางตองเทียบสิ่งที่มีผลกระทบกับตำแหนงทางวิชาการถามวามีผลกระทบไหม จากโครงสรางบัญชีเงินเดือนที่กำหนดไว
ขั้นต่ำ ขั้นสูง ระบบการขอตำแหนงวิชาการของเรามีทั้งที่เปนกรณีปกติ และวิธีพิเศษถูกไหม หลักก็คือวาถาใครเลื่อนตำแหนงไป
คาตอบแทนมันก็นาจะตองตามตำแหนงไปดวย เมื่อมีการกำหนดขั้นต่ำอยางนี้แลว แปลวาผลกระทบไมนาจะเกิด เพราะอะไร
ครับ ถาอาจารยทานใดก็ตาม ถาอยูในกลุมแรก สมมติวาเปนอาจารยเบื้องตนเขามา ถาเกิด ขอตำแหนงทางวิชาการแลว
ไปขอตำแหนง รศ. ขึ้นมา หลักก็คือ ถาเงินเดือนหางขั้นต่ำ ก็ตองไปรับเงินเดือนขั้นต่ำของตำแหนงนี้ ถาเงินเดือน
เขากำหนดเปนแทง เห็นอยางนี้มันคอนขางเปนแทงแนนอน ถูกไหม เพราะฉะนั้น อาจารย ผศ. รศ. ศ. ก็นาจะเปนแทงของมัน
ขึ้นไปก็คือวา มันก็มีโอกาสที่จะขยับเงินเดือน ถาใครจะขอโดยวิธีพิเศษ ถาใครขอกรณีปกติเงินเดือนไมถึง มันก็ขยับเงินเดือน
ไดเชนกัน นี่คือ ขอดีของการมีอัตราขั้นต่ำ มันก็มีขอเสียของมันอยูเหมือนกัน เคยมีคนเขาบอกวา ขอชาเงินเดือนมันก็เกินขั้น
ต่ำแลว ก็ไดตำแหนง เงินไมไดแลวใชไหมครับ ถาคนที่ถึงแลวขอเลยก็จะไดเปรียบ ไดจ้ำเงินเดือนอยางนี้เปนตน นี่คือขอเสีย
ของการมีขั้นต่ำ แตผมคิดวา มันมีขอดีมากกวาขอเสีย เพราะหลักก็คือวาเมื่อตำแหนงมันเปลี่ยนไป คาตอบแทนก็ควรจะตอง
103
เปลี่ยนไปดวยกลับสิ่งที่เขาไดตำแหนงเหลานั้น เพราะฉะนั้น ผมก็เชื่อวาในระบบของ ก.พ.อ. เองก็คงจะมีขั้นต่ำ ขั้นสูงอยางที่วา
เมื่อมีขั้นต่ำ ขั้นสูง เราไมเคยเห็นเลยวา มันจะมีสักกี่ขั้นถูกไหม ไมมีนะ ในนี้ไมมี ถามวาโครงสรางบัญชีเงินเดือนของเรา
จะออกแบบใหมีไดไหม คำตอบคือ มันได ถึงแม ก.ม. มันไมไดเขียน แตใหออกเปนพระราชกฤษฎีกา ออกได แตถามวามัน
ควรจะออกไหมละ ถาออก ปญหามันมีก็คือ ขั้นเงินเดือนมันคงไมเทากัน เหมือนอยางระบบปจจุบัน เวลาใครไปก็ตองปรับ
เงินเดือนเพิ่ม นั่นอาจจะเปนขอดีของคนที่ได แตขอเสียของมันคือ ก็ไมไดทำอะไร อยู ๆ มันก็ไดขึ้นเงินเดือน ก็ไมนาจะเปน
เชนนั้น เพราะฉะนั้น ผมคิดวา ไมนาจะมีขั้นเงินเดือนครับ พอไมมีขั้นเงินเดือนก็ไมตองหวงเลย ของใครของมัน ใครเคยไดรับ
เทาไรอยูอยางนั้น ไมมีปญหา ตรงที่ไมมีขั้นเงินเดือน ตรงนี้แหละ ทำใหระบบการพิจารณาขึ้นเงินเดือนเปลี่ยนไปแนนอน
ทานอยูมหาวิทยาลัยในกำกับจะทราบดี เพราะฉะนั้นระบบการเลื่อนขั้นเงินเดือน มันจะเปลี่ยนไปแลว ที่คอยจอง 1 ขั้น จะไมมี
แลว ก็คือ มันจะไมมีโควตาแลว ไมมีขั้นแตมันจะมีแตเม็ดเงินใหไมเกินกี่เปอรเซ็นต เพราะฉะนั้น ตรงนี้ระบบการประเมินของ
อาจารยจะตองเคลียรกันขางใน เปนปญหาหนักสำหรับประธานสภาอาจารยและมหาวิทยาลัย ดวย ที่วาจะไปกำหนดอยางไร
ก็คือถามวา ภารกิจของอาจารยจริง ๆ มีทั้งงานสอน วิจัย บริการทางวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานเหลานี้ทั้งหมด
100% ถามวาทานจะใหคาน้ำหนักตรงไหนหรือไมเปนไรหรอกรวมกันแลวใหมันได 100% ถาทานสอบมาก งานวิชาการตรงนี้
ก็นอยลงไป ก็สุดแลวแตทานจะไปคิดไปทำ เพราะฉะนั้นระบบประเมินตรงนี้ ก.พ.อ. คงไมไปยุง เพียงแตอาจจะใหเกณฑ
มาตรฐานกลาง ๆ ไป วาอยางนอยที่สุดทานจะตองมีการประเมินอยางนอยหรือเปลา ไมไปยุงในรายละเอียด เพราะฉะนั้นจะ
เห็นวาโครงสรางบัญชีเงินเดือนที่คิดวาผมวิเคราะหมาเบื้องตน แนวโนมที่จะใชบัญชีนี้มีคอนขางมาก แลวไมมีผลกระทบตอ
ระบบการประเมินตำแหนงทางวิชาการ ถาผมวิเคราะหนะครับ ระบบการประเมินฯ ทางวิชาการตอนที่ที่กำหนดอายุ ระยะเวลา
ตาง ๆ เหลานี้ แลวก็ใหประเมินกรณีพิเศษได ตาง ๆ นี้ มันไมมีผลกระทบ คิดวา ระบบตรงนั้นไมตองไปปรับอะไร เพียงแตวา
เวลานี้เรามี ศ. ระดับ 11 อยู ( เมื่อกี้ทานเห็นตรงนี้แลวใชไหม ) ก็คือ ผูทรงคุณวุฒิ เมื่อกี้ผมบอกวา มันนาจะมีอะไรตรงนี้ไหม
เหตุที่บอกวานาจะมีอะไร ก็เพราะวาอัตราเงินประจำตำแหนงมันมี 2 อัตรา สำหรับ ผูทรงคุณวุฒิ เพราะฉะนั้น ตำแหนงทาง
วิชาการเรานาจะมีบารตรงนี้อยูดวย ถาพลเรือนเขามี นั่นก็หมายความวา ใครก็ตามที่จะไดรับเงินประจำตำแหนง 15,600
อาจจะมีบารตรงนั้น แลวก็รับเงินเดือน ไปถึงขั้นสูงสุด 60,000 กวาได เพราะโดยเหตุที่ออกแบบมาเชนนี้ มันบงบอกใหเรา
วิเคราะหไดวา ไมไดหมายความวา ผูทรงคุณวุฒิ จะไปถึงขั้นสูงสุดไดทุกคน จากเงินประจำตำแหนงนี้ ทำใหเราวิเคราะหและก็
เห็นภาพที่คอยขางเปนไปไดสูงวา เปนผูทรงคุณวุฒิ และเปน ศ. แลว จะไมไดรับเงินเดือนสูงสุดทุกคนแตจะตองมีรายการ
ประเมินความเชี่ยวชาญหรืออะไรตอไปอีก ถึงจะไดรับเงิน 15,600 บาท
จากเงินเดือนเราก็มาดู ถึงเงินประจำตำแหนงของสายวิชาการในระบบปจจุบันเปนอยางไร ถาจะใหเขียนถึงในระบบ
ปจจุบัน ในระบบปจจุบัน ตำแหนงทางวิชาการคือ ผศ. ของเรา มันมี 2 ระดับก็คือ ผศ. 6,7 เราจาย 3,500 บาท ผศ. ซี 8
จาย 5,600 บาท ตรงนี้สำคัญ เมื่อมันไมมีซีแลว ถามวา ผศ. เราจะจาย 3,500 บาท หรือ 5,600 บาท อยางที่อาจารยบอกหลัก
คือตองไปดูเงินเดือน ก็ตองกลับไปดูตรงที่วาชำนาญการของเขา เงินเดือนเทาไร แลวชำนาญการพิเศษเงินเดือน ขั้นตนเขา
เทาไร ถาสมมติเขาไมยอมเรา บอกวา ผมไมมีหรอกครับ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ผมมีแต ผศ. รศ. ศ. และอาจจะมี
ศ. เชี่ยวชาญ ผมจะไมรับตรงนี้ไดไหม คือรับ 5,600 บาท แลวตำแหนงทางวิชาการ รศ. ก็ 9,900 บาท ตำแหนง ศ. ก็
13,000 บาท และตำแหนง ศ. พิเศษก็ 15,000 บาท ถาเราจะอธิบายเพื่อพนตรงนี้ไป เราจะอธิบายอยางไรในเมื่อ เขาก็บอก
วา เขาก็มีฐานเงินเดือนให ถาคุณจะไดรับเงินประจำตำแหนง คุณก็ตองไดรับขั้นต่ำตรงนี้ นี่คือสิ่งที่เขากำลังจะบอกกับเรา
แตถาใหผมคิดนะ ผมไมอยากจะหยุมหยิมมากเกินไป เราก็จะอธิบายใหเขาฟงวา ก็เปนเพราะโครงสรางตำแหนง ของคุณเปน
อยางนี้นี่ โครงสรางตำแหนงผมไมใชอยางนี้ เราจะมีเหตุผลเพียงพอไหม แลวมันชัดวา โครงสรางตำแหนงนั้น กฎหมาย
บัญญัติไวชัด อาจารย ผศ. รศ. และ ศ. แคนี้ นี่คือสิ่งที่เราจะตองอธิบายใหเขาฟง และหาเหตุผลใหดี ถูกไหม เพราะฉะนั้นใคร
ที่เปน ผศ. 6,7 ก็อาจจะไดอานิสงคเปน 5,600 ก็อยากีดกันกันเลย ก็คือวาเปนอานิสงคที่ไดมาจากการปรับระบบครั้งนี้
อะไรอยางนี้เปนตน นี่คือสิ่งที่มันจะเกิดขึ้น แลวเราจะตองอธิบาย มองดูทีแรกเหมือนจะไมมีปญหา แตถาเราวิเคราะหดู เราจะ
ตอบ ก.พ. วาอยางไร ในระบบเดิมมันก็ลักลั่น เมื่อเวลาเปน ผศ. 8 รับ 5,600 บาท ประเมินเปน รศ. ได แตเผอิญเงินเดือนยัง
ไมถึงขั้นต่ำของซี 9 ทานก็ยังรับเงินประจำตำแหนง 5,600 บาทอยู จริงไหม คำถามคือมันถูกไหม ทั้งที่ตำแหนงมันเปลี่ยน
นี่คือระบบเดิมมันก็ลักลั่น และมันก็ไมถูก ตอนนั้นผมยอมรับวา ผมพยายามอธิบายใหคุณหญิงทิพาวดี วาระบบเราไมเหมือน
กัน เราขอจายตามฐานะ เขาก็บอกวา คุณก็มีซีเหมือนกัน ผมบอกผมไมไดเลื่อนซีนะทาน ทานก็ยืนยันอยางเดียว
104
เพราะฉะนั้น มันถึงออกมาในภาพนี้ ทั้งที่เราวิเคราะหใหเห็นแลววา การกำหนดซีแลว มันจะเกิดปญหาความลักลั่นกันในระบบ
เดิม ก็คือ เปน รศ. 7-8 ตำแหนงเปลี่ยนแตเงินประจำตำแหนงคงเดิมทั้งที่ประเมินตำแหนงทางวิชาการไปแลว แตตอไปนี้
เรากำลังจะใหเงินประจำตำแหนงจายตามฐานะตำแหนงทางวิชาการไมจายตามซี นี่คือสิ่งที่มันจะเปลี่ยนไป ลองแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นกันดู
ผูเขาประชุม : อันนี้นอกจากจะใชกับอาจารยที่เปนขาราชการแลว อาจารยที่เปนพนักงานเหมือนกันดวยไหม
นายโอภาส เขียววิชัย : ขึ้นอยูกับสภามหาวิทยาลัยเพราะวาระบบพนักงานนั้น สภามหาวิทยาลัย สามารถที่จะนำ
ของพลเรือนหรือของขาราชการพลเรือนในอุดมศึกษา มาใชกับพนักงานมหาวิทยาลัย ดังเชน ตำแหนงทาง
วิชาการเกณฑจะชัดเลย ถาหากจะนำโครงสรางนี้มาใชกับพนักงานมหาวิทยาลัย ใชไดครับ แตถาใชทานคิด
ใหดี ผมจะวิเคราะหใหทานเห็นคือ อาจารยที่เขามาใหม 9,000 กวา แลวก็ฐานตรงนี้ 20,000 กวาบาท
ทานก็ดูวาขั้นต่ำ ขั้นสูง โดยเฉพาะขั้นสูงที่มันหางกันนี้ มันหางกันสักกี่สตางค ผมกำลังจะบอกวา
คนที่แรกเขามาเขาตองการใชเงินมากใชไหม เพราะวา คาครองชีพสิ่งตาง ๆ เราจำเปนตองใหคาตอบแทน
สูงใชไหม ถามวาขั้นต่ำที่ทานกำหนดเอาไวนี้ มันเหมาะหรือเปลา ทานเอามาใชไดแตกอนที่จะใช
ทานลองวิเคราะหดู แลวถาเราจะเอาขั้นสูงเขามาใช ตองดูอีกที ผมกำลังจะบอกวา ถาตรงนี้เขาใหเงินสูง
ขึ้น ขั้นสูงถาขยับนิดหนอย หรือไมขยับแลวสมมติ ตรงนี้พยายามใหมันแตกตางกันใหมากหนอย เพราะ
อะไรครับ โดยเฉพาะในระดับแรกเขา มันเหมือนกับเรงใหอาจารยจะตองสรางผลงาน เพราะฉะนั้นเงินเดือน
คุณตัน ถูกไหม แตพอสูงขึ้น ก็ใหชวงเวลาเขาหายใจใหมากขึ้น อยางนี้เปนตน เวลาเราจะวิเคราะห
โครงสรางบัญชีเงินเดือน ผมวานาจะเอาจุดเหลานี้มาดูและก็วิเคราะหถึงลักษณะงาน วาชวงไหนที่เราคิดวา
คนเมื่อเขามาแลว ชวงไหนควรไดคาตอบแทนสูงและควรจะเรงเขาตรงจุดนั้นใหเขาเขาสูตำแหนงทาง
วิชาการ ไมใชอยูตอไปจนกระทั่งไมจำเปน จะตองทำวิชาการ เพราะอยางไรก็เงินเดือนก็ใกลเคียงกัน
เพราะถาหาก เงินเดือนมันใกลเคียงกัน มันจะไมจูงใจใหสรางผลงานทางวิชาการดวย ถาเปนขั้นสูงมันหาง
กันไมมาก เพราะฉะนั้นมันก็เปนจุดหนึ่ง เวลาทานจะสรางอะไร ตองวิเคราะหดูดวยวา วาจริง ๆ แลวมัน
เหมาะสมไหม คือ ใหเขาดำรงชีพอยูไดเหมือนคนอื่น ไมตองไปวิ่งรอก อยางไรก็ทำงานอุทิศให
มหาวิทยาลัยได ตรงนี้สำคัญ ผมยอมรับวา ขาราชการเอาแตได อยากไดคนดี แตเงินจายนอย จริง ๆ
ถาถามวาเราเอาคนเกงเขาสูระบบไดไหม คำตอบคือ ได ถาถามผมวา แลวจะไดสักกี่คนในระบบราชการ
คำตอบของผมคือ ผมทำงานมาเกือบ 30 ป ไดไมถึง 10 คน คนเกงที่จะเอยชื่อนี้ อาจารยคงรูจัก
ตั้งแต..(ใสชื่อ).... ถามวา เราจายเงินเดือนเขาเทาไร ประมาณ 20,000 – 30,000 บาทเอง อยาคิดวาเขามี
เงินแลวไมตองใชเงิน ถามวาเราใหคาตอบแทน เขาเหมาะสมหรือยัง แลวคนสุดทาย ดร. ปราโมทย
ที่จุฬาฯ วิศวกรจากองคการนาซา นาอายมาก เงินที่เราใหคือเศษที่เขาไปรับงานวิจัยยังไมไดเลย แตเปน
เพราะวาเขาจะมาชวยมหาวิทยาลัย ตรงนี้สำคัญ และในระบบราชการตองเรียนวา มันตองมีสัญชาติไทยที่
เรามาบรรจุตองมีสัญชาติไทย คนที่ไมมีสัญชาติไทย เราบรรจุไมไดจริง ๆ ถึงแมเขาเกง แตพนักงาน
มหาวิทยาลัยไมมีปญหาครับ แตทำอยางไรจึงจะใหเหมาะสม รัฐก็ไมไดใหอะไรเรามาก ทุกวันนี้จริง ๆ
เราอยากใหคืนเงินเกษียณอายุใหเต็ม เขาก็ไมใหอีกซึ่งก็มีผลกระทบไปทั่วเพราะฉะนั้น โดยสรางบัญชี
เงินเดือนมันก็สำคัญ แลวตอไประบบการเลื่อนขั้นเงินเดือน เมื่อมันเปลี่ยน ตอไปนี้เงินเดือนของใครจะรู
ไหม คำสั่งจะออกอยางไร
ผูเขาประชุม : มันจะมีปญหาอะไรไหมที่วา จะโยนเรื่องการประเมินไปใหหนวยงาน มันจะยิ่งกวาเกาหรือไม
นายโอภาส เขียววิชัย : ถามวา จริงถาเกรงวามันจะมีปญหา เราจะสรางกลไกอยางไร ที่จะใหระบบการ ประเมิน
มันเปนไปตามกลไกเหลานั้น และผูบริหารสุดทายเปนคนที่ดูออกคำสั่ง มันอยูที่เครื่องมือ กลไกที่ทานใช
อยู เพราะฉะนั้นตองสรางสิ่งเหลานี้ขึ้นมา แตเชื่อเถอะครับวา ไมวาเราจะสรางขึ้นมาอยางไร มันก็ไมได
100% อยางที่วา แตคิดวา ทำอยางไรใหเสียงบนนอยลงก็เพียงพอแลว พอมาพูดเรื่องเงินเดือน มันก็โยง
ไปวา ที่มหาวิทยาลัย เราก็มีความแตกแยกระหวางขาราชการกับพนักงาน ซึ่งบรรจุพรอมกัน แต
ขาราชการ ไดเงินเดือนนอยกวา ยิ่งมาเอาเรื่องนี้ และบวกกับที่ รศ. มัลลิกา ถามวา ถามหาวิทยาลัย จะเอา
105
พนักงานมาระบบนี้ดวยมันจะยิ่งไปกันใหญ คือ มันแตกแยกตรงที่วา เงินเดือนไมเทากันแตทำงานก็ไม
ตางกัน ที่ สกอ. เองมีการแกไขตรงจุดนี้อยางไร
นายโอภาส เขียววิชัย : ในเรื่องของ พนักงานมหาวิทยาลัย เปนเรื่องของสภามหาวิทยาลัยโดยตรง เพียงแตวา เกณฑ
มาตรฐานตาง ๆ มันนาจะมีเกณฑมาตรฐานเดียวกันหมดไมควรจะมา 2 เกณฑมาตรฐาน ถามวาจะใช
เกณฑของขาราชการไดไหม คิดวาไมนาจะมีปญหา ถาเกณฑมาตรฐานของเราที่ออก ที่เปนราชการก็สราง
โดยสภามหาวิทยาลัย เรามีแตมาตรฐานกลางไปให เพราะฉะนั้นเวลาทานสรางทานก็นาจะสรางและใชกับ
พนักงานดวย ประเด็นก็คือถามวา บัญชีนี้จะเอาไปใช ใชอยางไร เมื่อบัญชีนี้มันไมมีขั้น ถาหากตำแหนง
เหมือนกันก็ใชได ก็รับเงินเดือนตามนั้น เพียงแตวาขั้นสูงนั้นเดิมทีมหาวิทยาลัยมีการกำหนดไวเทาไร
ถาทุกวันนี้ไมไดกำหนด ก็แสดงวา เพดานมากกวา ขาราชการ ใชหรือไม มันก็ตองกำหนด ไมเชนนั้นทุก
คนไปกันหมด มันก็ตองตีคางานของตำแหนงที่ใชคุณวุฒิที่ต่ำกวาปริญญาตรี ปกติเขาจางแลวสูงสุดเทาไร
ในระบบอื่น เราก็นาจะวิเคราะหตรงนี้ออกมา
ผูเขาประชุม : ในกรณีที่พูดถึงพนักงาน จะ เขามาในกลุมตรงนี้ คือ จะมองเห็นวา ในสายวิชาการก็จะ มีระดับปฏิบัติการกับ
ชำนาญการในการแรกเขา พนักงานมหาวิทยาลัย ของ สจพ. ถาจบปริญญาโทจะไดรับ 16,000 บาท
ปริญญา ปริญญาเอก ไดรับ 19,000 บาท เพราะฉะนั้น จริง ๆ แลวเขาไมจำเปนตองเขาระดับ
ปฏิบัติการ เพราะชำนาญการ จะเริ่ม start ที่ 13,000 บาท ซึ่งเขาก็มีสิทธิที่จะเขาตรงจุดนั้นได พอเขาไป
แลว เราจะ matching อยางไรระหวาง ขาราชการกับพนักงาน ดิฉันวา มีคนทั้ง 2 ระบบก็มีทั้งดีและไม
ดี เปนไปไดทั้งนั้น เพราะฉะนั้นระบบประเมินผลงานคือสิ่งสำคัญ ซึ่งตองมีการประเมินอยางเปนธรรม
ก็คงตองใชเกณฑเดียวกัน เพราะอยูดวยกัน และเขาก็ทำงานดวยกัน แตเกณฑนั้นก็ตองเปนเกณฑที่
โปรงใส ตรวจสอบไดจริง ๆ ไมใชเปนอยางที่วา มันอาจจะเกิดความแตกแยกอีก ที่วาสงทุกอยางไปที่ผู
บริหาร ถูกตองไหมคะ จึงตองคิดเกณฑที่ชัดเจน และเราก็ define วาเราอยูตรงไหน เราไมไดเพราะอะไร
ตองอธิบายได ไมใชบอกวา คุณไมไดเพราะมีโควตาแคนี้ นี่คือ สิ่งที่เราไดรับคำตอบอยูประจำ จึงเห็นวา
ระบบประเมินนาจะเปนตัวจักรสำคัญที่จะแกไขจุดนี้ได
ผูเขาประชุม : คงจะสอดคลองกัน แตผมมีความเห็นตางเล็กนอย ในกรณีของพนักงานมหาวิทยาลัย ถาหากจะเอา เขาระบบนี้
แลวเอาเงินเดือนขั้นต่ำมาเทียบเทากับเราเลย มันไมนาจะถูกตองนัก เพราะถาหากคนที่เขามาครั้งแรก
แลวไดเงินเดือน 16,000 บาท คงไมไดหมายความวาเขาเปนผูชำนาญการทันที ถาเกิดจะมารวมตรงนี้ก็
ตองมาเทียบ มาทอนใหเทากับระบบนี้กอน แปลวาเขาตองยอมลดเงินเดือนลงมาใหเทากับระบบนี้ที่
เงินเดือนใดในระบบของขาราชการ ไมใชเอาเงินเดือน 16,000 บาท มาเทียบเงินเดือนชำนาญการไดเลย
คงไมได ถาเชนนั้นก็คนละมาตรฐานอยางที่อาจารยวา มาตรฐานที่ดีก็คือวา ถาเต็มใจจะเปลี่ยนสภาพจาก
พนักงานมาเปนขาราชการในระบบใหม ก็ตองยอมเทียบเงินเดือนหมื่นหก อาจจะเปน 9,320 บาทนั่นแหละ
คือ เขามาพรอมกัน ถาเพียงแตเลือกวาจะอยูระบบไหน พอเขามาในระบบพนักงานแลวจะมาเปลี่ยนเปน
ขาราชการในระบบใหม แลวมาเทียบ 16,000 บาท เปนผูชำนาญการเลยคงไมได ผมคิดอยางนี้แตไม
แนใจวาจะเปนไปไดหรือเปลา
นายโอภาส เขียววิชัย : ผมสรางความเขาใจผิดหนึ่งวา ในระดับปฏิบัติการของพลเรือนเขาเปนอยางนี้ครับ เมื่อไปดูที่ประเภท
วิชาการ เขาบอกวา ตำแหนงที่จะตองใชผูสำเร็จปริญญาทางวิชาการตามที่ ก.พ. กำหนด คำวา ปริญญา
ทางวิชาการในที่นี้ก็คือ ปริญญาตรี ขึ้นไป ถาปริญญาตรีขึ้นไป ระดับแรกเขาตรงนี้ มันก็หมายความวา
วุฒิปริญญาตรี เพราะฉะนั้น โทและเอกมันไมไดอยูตรงนี้ ก็ตองเปนอัตราคาของมันวาอยูตรงไหน
เพราะฉะนั้น ถาเราใชบัญชีนี้มาเปน 4 ตำแหนง ก็ตองมาดูวา เราจะปรับระหวางตรงนี้อยางไรหรือวา
ชำนาญการพิเศษอยางไร เชี่ยวชาญ ก็ รศ. แลว เพียงแตวา 3 ตำแหนงนี้ มันจะเหลือแค 2 จะปรับ
อยางไร ไมไดหมายความวาอาจารยโทหรือเอกบรรจุตรงนี้ ไมใช แตคือระดับอาจารยแรกเขา คลาย ๆ
เชนนั้น ตองสรางความเขาใจนิดหนึ่ง แตขณะนี้พลเรือนมากกวาเรา ที่นี้เราจะปรับอยางไร
106
ผูเขาประชุม : แสดงวาคนที่จบปริญญาเอกมา ถาเทียบเงินเดือน เทากับชำนาญการเลย ก็ไดชำนาญการเลย ใชหรือไม
จำเปนตองเปน ผศ. อยางนั้นใชไหม ถาเทียบในแงของวุฒิและเงินเดือน
นายโอภาส เขียววิชัย : จริงๆ วุฒิปริญญาเอก ทานจะตีคาของวุฒินี้ ตองดูวาพลเรือนเขาตีไวเทาใด ถาบรรจุพนักงาน หลักวา
มันควรจะสูงกวาพลเรือนเทาไร นั่นคือมาตรฐาน แตไมไดหมายความวา ปริญญาเอก จะตองบรรจุตาม
มาตรฐานนี้ทุกสาขาไป ถาสาขาไหนมันจำเปนจะตองแขงขันปริญญาเอกนั้นอาจจะสูงกวาคามาตรฐานที่
มหาวิทยาลัยกำหนดไว ตรงนี้ก็เหมือนกับตอนที่ผมบรรจุคนเกง ๆ เขามา เราตีประสบการณรวมดวย
ถึงแมปริญญาเอกไมมีประสบการณ แตปริญญาเอกเวลานี้เราตองแขงขันกับผูอื่น เราก็ตองจายคาตอบแทน
มากกวาสาขาอื่น อยาคิดวาเปนราชการ ตองมีมาตรฐานเดียวกันหมด ก็อยากใหคิดตรงนี้ดวย แตมาตรฐาน
ขั้นต่ำ คือ ใชอยางที่พูด
ผูเขาประชุม : ที่บอกวา สาขาใด ถามีความขาดแคลนและก็ใหเงินเดือนมากกวา ผมมองอีกมุมหนึ่งครับวา ควรจะแยกตัว
เงินเดือนที่นำมาใชในการปรับตำแหนงดวย กับเรื่องของคาวิชาชีพและคาความขาดแคลนเฉพาะ ออกไป
เปนคนละสวนกัน เพราะถาเราเอามารวมกัน สมมติอีก 10 ป แลวสาขานั้นมันไมขาดแคลน แลวจะทำ
อยางไร เพราะฉะนั้นในทางปฏิบัติเมื่อมารวมกัน มันจะมีปญหาในเรื่องของการตั้งตนในการวัดและในระยะ
ยาว มันไมเปนสิ่งที่ยั่งยืน เพราะวา ความขาดแคลนมันไมไดยั่งยืนตลอดไป อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงจาก
สาขาหนึ่งไปอีกสาขาหนึ่งได เพราะฉะนั้น การแยกเงินเดือนที่เปนฐาน อยางเชน วิศวกร ก็ตองเทากัน
ถาสาขานั้นขาดแคลนก็ใหสาขานั้นไปอีกเทาไรก็ได ผมวานาจะเปนแนวทางอยางนั้นมากกวาครับ
ผูเขาประชุม : ระหวางคำวา พนักงาน พนักงานวิชาการ และขาราชการ สามารถจะเปลี่ยนมาเปน ขาราชการอยางที่วา
เปลี่ยนสายไดไหม และแตละตำแหนงตางกันอยางไร
นายโอภาส เขียววิชัย : จริง ๆ ตองเรียนทานวา ที่เราบอกวา ขาราชการ พนักงาน พนักงานวิชาการ จริง ๆ ที่เราเรียกกัน
ถามวานั่นคือตำแหนงทางวิชาการใชไหม อาจารย ผศ. รศ. ศ. ไมวาจะเปนระบบราชการหรือไมใชระบบ
ราชการ ถาคนนั้นไมวาจะเปนขาราชการหรือไมใช เมื่อเขาสูตำแหนงทางวิชาการ ก็คือ ผศ. รศ. ศ. ถา
เราเรียกอยางนี้ความรูสึกก็คงจะนอยลง มันไมมีความรูสึกวาตัวเปนอาจารยขาราชการนะ ฉันเปนอาจารย
พนักงานนะ แตถาทุกคนรูและเขาใจวาทุกคนมีตำแหนงทางวิชาการ ความรูสึกที่วา มันจะนอยลง ผมคิดวา
เชนนั้น ไมรูถูกหรือไม อันที่ 2 อยางที่อาจารยใหขอคิดนั้นก็เปนแนวทางหนึ่งที่ถูกตอง คือเราไมรวมไป
ในเงินเดือน เปนเงินเพิ่มพิเศษก็ได เปนทางเลือกทางหนึ่งครับ
ผูเขาประชุม : ผมขอเลาของ มจธ. ใหฟงเล็กนอย สำหรับ มจธ. ตอนนี้ทำระบบพนักงาน ทั้ง 2 ฝาย คือพนักงานและ
และขาราชการ ซึ่งจะตองถูกประเมินดวยกันทั้งคู โดยที่การประเมินผลการทำงาน ดูจากตำแหนงทาง
วิชาการเปนหลัก กอนวา อาจารยตองทำอะไรบาง ผศ. ตองทำอะไรบาง รศ. ตองทำอะไรบาง
ขาราชการจะกำหนดไวอยางไรก็ขึ้นอยูกับ ก.พ. และ ก.พ.อ. วากำหนดไวอยาง ก็เปนไปตามเกณฑของ
ก.พ.อ คงไมมีปญหา ผมคงไมเขาใจมากนักเพราะมองเรื่อง พนักงาน มากกวา แตพนักงานในสาย
วิชาการของ มจธ. ตอนนี้ประกอบไปดวย ผูสอนในวิชาตางๆ คือตัวอาจารยทั่วไป อีกกรณีหนึ่งคือ
ขยับเอานักวิจัยมาอยูในบล็อกนี้ทั้งหมด ดังนั้น นักวิจัยจะอยูในบล็อกของอาจารยดวย การทำงานของ
อาจารย นักวิจัย มีตำแหนงทางวิชาการเหมือนกัน คือถาใครที่เปนคนสอน ก็จะเปนตั้งแต อ. ผศ. รศ.
และ ศ. สำหรับนักวิจัย เมื่อวานเพิ่งประชุมสภามหาวิทยาลัย กำหนดออกมาแลววา เราจะใหตำแหนงเขา
คือ นักวิจัย, ผศ. วิจัย, รศ. วิจัย และ ศ. วิจัย มีกำหนดเงินคาตอบแทนในนั้นเบ็ดเสร็จเรียบรอย รวมถึง
ตำแหนงทางวิชาการที่เริ่มตนจาก ว 1 มี 6 กลอง ว ยอมาจากวิชาการ ว 1 คุณสมบัติอยางนอยที่สุด
ตองจบปริญญาโท เพราะจะไมรับผูที่ต่ำกวาปริญญาตรีแลว แลวก็คนที่เปนปริญญาตรีอยู อายุการทำงาน
มากเกินพอแลว ก็จะเปน ว 1 จาก ว 1 คนที่จะขยับ ว ได ตองอยูอยางนอยใน ว นั้น 3 ป เงินเดือนก็ขยับ
ตาม ว แตละ ว แตถามีเงินประจำตำแหนงทางวิชาการก็จะบวกเขาไปตางหาก สมมติคนที่จบปริญญา
เอกมาทำงาน 2 ป แลวขอเสนอผลงาน และประเมินผาน ผศ. ก็จะขยับเปน ว 3 ทันที ถือเปนการ fast
track คือมีความสามารถพิเศษ ทำงานและขึ้นเปน ว 3 และก็อยูในระบบตอ พอขึ้นเปน ว 3
107
มีตำแหนงทางวิชาการ ก็จะไดรับเงินตำแหนงทางวิชาการไปดวยเหมือนกัน สมมติวา เปน ผศ. ใน ว 3
ก็จะไดรับเงินทางวิชาการ 3,500 บาท ถา ว 4 เปน ผศ. อยูหมายถึงคุณทำงาน ผศ. ประเมินผลงานปกติ
ทำงานตามหนาที่ตนเองไปเรื่อย ๆ ไมมีอะไรที่พิเศษ ก็คือ คลาย กับ ซีคือมีอายุงานไปเรื่อย แตพอถามี
ตำแหนงทางวิชาการปรับ ว ได รศ. เริ่มตนที่ ว 4 ก็จะมีเงินประจำตำแหนง แตฐานเงินเดือนก็คงไปตาม
track ของเขาเหมือนเดิม คือทุกคนจะมี Career ผานของตนเองอยูแลว ศ. ก็จะมี 2 ระดับ คือ ว 5 และ ว
6 ตองอยูในแตละ ว ไมต่ำกวา 3 ป เพื่อใหคลุกคลี ทำความเขาใจ และขอผลงาน ถาผานก็ขยับ ว ตอไป
เหลานี้ที่เปนของ มจธ. เพราะฉะนั้นเราเคยคุยกันวา ถาเราอยากจะไดเงินประจำตำแหนงอยางที่อาจารย
บอกวา พนักงานเงินเดือนสูง เพราะวา เงินเดือนสูงนี่แหละ มหาวิทยาลัยจึงตองขยับเกณฑขึ้นไป เหตุผล
ของการขยับไมใชอยางที่วาครับ ไมมีเงินให มหาวิทยาลัยตอนนี้เกือบทุกมหาวิทยาลัย ไดเปน Block
grant ถาใหเยอะ ๆ อยางต่ำ ๆ สมมติให 16,000 บาท และไดรับเงินประจำตำแหนงดวย มหาวิทยาลัยไม
มีเงินใหหรอกครับ มหาวิทยาลัยลมละลายแน ๆ เพราะฉะนั้นตอนนี้ก็เลยปรับใหมในสวนของวิชาการ
เราดูวา ทำงานระดับนั้น ๆ จะไมสนใจเงินเดือนครับวา เงินเดือนของคุณสูงระดับไหน ถาหากวาคุณอยูใน
ระดับเงินเดือนไหน อายุงานเทาไร มีผลงานสม่ำเสมอ สมมติวาถาเปน รศ. มีผลงานสม่ำเสมอ 3 ป
มีผลงานโดดเดน ปรับเปน ว 6 ได ว 6 ก็ปรับฐานเงินเดือนใหมเลย ปรับ Track ใหมและก็มีเงินประจำ
ตำแหนงใหม เพราะถือวาที่ผานมาทำงานตามความสามารถไดดีอยูแลว การขอกำหนดตำแหนงทาง
วิชาการก็จะคลาย ๆ ราชการเหมือนเดิม จึงเรียนใหทราบอยางนี้กอน
ผูเขาประชุม : สูงสุดคือ ว. อะไร
ผูเขาประชุม : ว. 6 ครับ
ผูเขาประชุม : สามารถขึ้นไปไดอีกไหม ว. 7, 8, 9
ผูเขาประชุม : มีครับ เปนการตกลงกันเปนกรณีพิเศษ
ผูเขาประชุม : แลวเปนไปไดไหมวา กรณีที่วา แตละคนโดยเงื่อนไขตองอยูอยางนอย 3 ป แลวจะขยับ
ไปตาม ว. แตถาสมมติเขาอยู ว. 4 แตตำแหนงทางวิชาการ ไมสัมพันธกันก็ไดใชไหม ก็อาจจะขอจาก
ผศ. เปน รศ. พิเศษ จาก ว. 4 แลวไปเปน รศ. พิเศษ ถาเขาทำผลงานไดมากมายมหาศาลทำไดไหม
ผูเขาประชุม : ถาเราประเมินแลวเปนอยางนั้นจริง ก็ทำได
ผูเขาประชุม : แสดงวามันอิสระตอกัน
ผูเขาประชุม : ถามั่นใจนะครับ แตผมเชื่อมั่นวา แคปจจุบันก็เหนื่อยแลว เราเคยคุยกันวาเปนไปไดหรือไมที่อาจารยสอน
หนังสือธรรมดาจะไดเปน ศ. คำตอบคือได ถาประเมินแลวเขียนหนังสือมาเลมหนึ่ง และสามารถใชได
world wide และทุกคนเห็นพรอมตองกัน เปนประโยชนตอสังคม จริง ๆ ก็เอา ศ. ไปเลย สำหรับ มจธ.
ของเราเปนอยางนั้น เพิ่มเติมนิดหนึ่งวา การไดรับตำแหนง ศ. ทางวิชาการ สำหรับสายอาจารย ยังตอง
โปรดเกลาฯ อยูดี เมื่อวันนี้คุยกัน และก็อนุมัติในหลักการไวกอน ใหมีถึง ระดับ ศ. วิจัย แตกำลังทำความ
เขาใจวาเปฯไปไดหรือไมที่เราจะขอโปรดเกลา ฯ ถาทำได ผมวาตอไป มจธ. จะมีนักวิจัยอยางเดียวก็ได
ผูเขาประชุม : ตามที่อาจารย Present มาทั้งหมดวา เสนอจายตามตำแหนงไมจายตามซี ตามที่อาจารยเสนอมา
มันเกิดขึ้น แลวหรือยัง หรือกำลังจะขอเสนอ
นายโอภาส เขียววิชัย: ตรงนี้ผมเขาใจวา ก.พ. เขามีบทเฉพาะกาลไปอีก เพราะฉะนั้นป 51 นี้ ยังไมแน เขาตองมาจัดกลุม
กันอีก ที่มันกระจัดกระจายกันอยูทุกวันนี้ วามันควรเขาไปอยูตรงไหน ตอนนี้เขามีแนวทางในการ
วิเคราะหแลว ของเรานาจะงายกวาเพราะราชการไมจำเปนจะตองไปจัดอะไรอีก เพียงแตวาจะทำอยางไร
กับบัญชีเงินเดือน และก็สายสนับสนุน ok วาอาจยากสักหนอย คือสายสนับสนุน เขาก็มีคำถามวาเขาก็มี
ตำแหนงผูชำนาญการ ผูเชี่ยวชาญ จะใหเขาใชโครงสรางบัญชีเงินเดือนไหน ทุกวันนี้ก็คลายหรือลอของ
อาจารยมา มันก็ใช บัญชีเงินเดือนเดียวกัน แลวจะไปสรางบัญชีเงินเดือนใหมทำไม ใหเขารับเงินเดือน
ตรงนั้นเลยไหม หรือไมได หรือตองสรางบัญชีเงินเดือนขึ้นมาใหม อยางนี้เปนตน เพราะฉะนั้น เราคงตอง
ไปดู โดยเหตุที่สายอาจารยเปนสายหลักแนนอนเขาจะตองมีโครงสรางบัญชีเงินเดือนของตัวเองแน แตใน
108
สายสนับสนุน ตำแหนงทางวิชาการ ผูชำนาญ ผูเชี่ยวชาญ จะมีไหม ถามีมันก็ไมตางกับสายวิชาการอยู
แลว มันเหมือนกัน กับผูอำนวยการกอง ผูปฏิบัติงานทั่วไป ถามวาจะแยกบัญชีไหม ถาไมแยกบัญชี
เรากำหนดอะไรสักอยางที่ใหเห็นและสามารถไปได ก็จะรูสึกงายขึ้น แตถามันอยูดวยกันทั้งหมดได จะยิ่งดี
ใหญ มีแค 2 บัญชี คือ มันจะไดมีขอแตกตางปองกันการซักถามวาจะไปอยูตรงไหนไดหรือเปลา
เหมือนในระบบของ ก.พ. ที่ทานเห็น ความกาวหนาในอาชีพของเขา ตามลูกศรวามันหมุนไป
ทางไหน มันไปทั้งผูบริหารได ไปทั้งขึ้นตรงได จะเห็นวาของ ก.พ. ไปขามกลุมได ของเราไมมีปญหา
ทุกวันนี้มันก็ไปขามกลุมไดอยูแลวเพราะฉะนั้น
หลักของเราถามวาสภาพปจจุบันเปนอยางไร
ผูเขาประชุม : ได เพียงแตวา ทัศนคติของผูบริหารมองเราวาอยางไร เชน เปนผูอำนวยการแลว ขึ้นเปนผูบริหารระดับสูง
มันทำได แตถึงเวลาจริง เขาคิดในแงอื่น ๆ คือ ขึ้นไปแลว กลับมาจะอยูที่ไหน มันกระทบกระเทือนกับ
หนวยงาน ถาเชนนั้นทางที่ดีที่สุดไมใหขึ้นดีกวา คือตัดปญหาไป
ผูเขาประชุม : ยกตัวอยางเชน ในภาควิชา ถามวา คนที่เปน Lab boy แลวเขาเกิดไปเรียนตอ ตรี โท เอก จบมา แลวเขา
บอก วา ขอขามไปเปนสายอาจารย ในทางปฏิบัติ เขาทำไดไหม แตในปจจุบัน ทำไดยาก ถึงแมเขาจะ
จบปริญญาโทมาก็ตาม เขาก็ยังนั่งคุม Lab อยู
ผูเขาประชุม : ภายใตกรอบเขาทำไดหรือไม คำตอบคือ จะตองมีกรอบที่รองรับอยู ไมใชไปกัน หรือกระโดดขามเปลี่ยนจาก
Lab boy ไปเปนอาจารย ของใหมจะไดหรือไมได
นายโอภาส เขียววิชัย : หลักคือ ถามงานกอน งานควรมีอาจารยเพิ่มไหม ถางานควรจะมีอาจารย และวุฒิมันตรง แลว
คุณลักษณะของคนที่จะมาเปนอาจารย จะตองเลือกใหดี ไมใช หมายความวา โทและเอกเปนไดหมดใชไหม
เพราะฉะนั้นตองดูนะครับ ถาคนในเปน ถามวาแลว Lab เขายังตองทำอยูไหม ไมใชทิ้งแลวใหคนอื่น
มารับผิดชอบ นี่คือ สิ่งตามมา มันตองชัด ไมไดหมายความวา ฉันเปนอาจารยแลวฉันไมทำงานเหลานี้
แลว ทานตองหาคนใหมมาทำ ถามวามันถูกหรือไม ใชไหมครับ เพราะฉะนั้น หลักก็คืออาจารยควรจะมี
เพิ่มหรือไม ไมเชนนั้นจะเปนเฉพาะบุคคลไป
ผูเขาประชุม : มีคำถามอยูวา ถึงแมตองการมีอาจารยเพิ่มแตระหวางรับเอาคนใหมเขามา กับเอาคนในแลวเพิ่มวุฒิ พึ่ง
ปรับวุฒิได จะเลือกอันไหน เพราะคนในก็บอกวา ทำไมไมเอาเขา แลวหา Lab boy คนใหมที่มีฝมือเขามา
ไดแลวฉันอยากจะปรับวุฒเปนอาจารย เมื่อเทียบกับมีอัตราวางอยูพอดี มหาวิทยาลัยจะเลือกอยางไหน
นายโอภาส เขียววิชัย : เรื่องนี้อาจารยตองดูใหดี อาจารยมหาวิทยาลัย โดยหลักตองไมต่ำกวา ปริญญาเอก ถามวาคนใน
ที่บอกวาควรจะได กับคนนอก วุฒปริญญาโทเทากัน ดูใหดีวาคนในจะพัฒนา ตอปริญญาเอกไดหรือไม
อายุจะเกินหรือยัง เราจะใชงานเขาไดกี่ป คนนอกสามารถที่จะไปศึกษาตอปริญญาเอกไดเลยใชไหม ตรงนี้
ตองมอง อยากจะใหมองหลาย ๆ อยางดวย
ผูเขาประชุม : ตอนนี้กำลังจะถามในแงของสิทธิดวย จากคนที่เปนคนในตั้งแตอายุยังนอย ๆ เริ่มอายุ 18 ป จบ ปวส. เขามา
เขามี career pass ที่จะเปนศาสตราจารย เขามี motivation ขนาดไหนที่เราจะผลักดันเขาใหทำเชนนั้นได
เราบล็อกเขาไวเลยหรือเปลา หรือมีชองทางอื่นไดไหม ผมขอถามในประเด็นนี้ แตก็ดูดุลพินิจอยางที่
อาจารยวา ที่เขามาใหม สดจริง ๆ คนเกานี้ 40 แลว แนนอนครับ จะตองเลือกคนที่มีศักยภาพสูงในระยะ
ยาวแนนอน แตผมหมายถึงคนที่มีศักยภาพเทากันนี่แหละ แตเขามีโอกาสหรือไม ที่จะเดินไปถึงจุดหมาย
ขางหนา
ผูเขาประชุม : ในฐานะอยู ปอมท. มานาน เห็นวาเราคงจะตองมามองภาพรวมใหเห็นทั้งหมดเลย ยกตัวอยางเชน มีขอมูลใหม
มากกวานี้อีก ซึ่งที่เปลี่ยน ผมคิดวาคงเปลี่ยนชั่วคราว มีขอมูลใหมซึ่งจะเปลี่ยนมากกวานี้เยอะเลย ในระบบ
มหาวิทยาลัยหรือระบบการศึกษาทั้งหมดเลย คือ 4 ป ของทานนายกที่พูด 4 ป++ คงจะตองนำมาใชเต็มที่
เพราะมีการพูดกันเยอะในหลายเรื่อง เหมือนที่กำลังบนกันที่วา ไดเงินประจำตำแหนงแลวทำไมจะตอง
มาทำงาน จริงๆ แลวถามองยอนกลับไป เขาบอกวาตองทำงานถึงจะได จริงๆ แลว เรา delay มา ตอนนี้
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100

More Related Content

Viewers also liked

ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
สภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมา
สภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมาสภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมา
สภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมาสุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...สุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
Ireland & Italy slideshow
Ireland & Italy slideshowIreland & Italy slideshow
Ireland & Italy slideshowlgossen
 
Operating system tutorial
Operating system tutorialOperating system tutorial
Operating system tutorialGanesh Raja
 

Viewers also liked (11)

ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
Test
TestTest
Test
 
สภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมา
สภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมาสภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมา
สภาคณาจารย์ บทบาทและความเป็นมา
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
Test
TestTest
Test
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
หนังสือสรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประธาน สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (...
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
Ireland & Italy slideshow
Ireland & Italy slideshowIreland & Italy slideshow
Ireland & Italy slideshow
 
Operating system tutorial
Operating system tutorialOperating system tutorial
Operating system tutorial
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่นสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพาเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพาสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดลเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดลสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552 ที่ มช.
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552  ที่ มช.เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552  ที่ มช.
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552 ที่ มช.สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพาเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552  ณ ม.บูรพา
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 4/2552 ณ ม.บูรพา
 
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดลเอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552  ณ ม.มหิดล
เอกสารประกอบการประชุม ปอมท. สมัยสามัญ 3/2552 ณ ม.มหิดล
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552 ที่ มช.
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552  ที่ มช.เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552  ที่ มช.
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 2/2552 ที่ มช.
 

5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียววิชัย (หน้า100

  • 1.
  • 2. 101 เพราะฉะนั้นเขาก็จะเอาเงินเดือนตรงนั้นมาใส อันนี้อาจจะทำใหทานมองเห็นภาพวา ถาเชนนั้นก็มีความเปนไปไดใชไหมที่ โครงสรางบัญชีเงินเดือนของสายวิชาการ อาจจะเหมือนของ ก.พ. ในประเภทวิชาการใชหรือไม ยังไมมีใครใหคำตอบได แตผมอาจจะชี้ใหเห็นวา มันมีความเปนไปไดมากนอยแคไหน จะสูงไหมที่เงินเดือน เรามาดูกลุมสุดทายคือ กลุมทั่วไป กลุมนี้ก็ คือกลุมของสายสนับสนุนวิชาการนั่นเอง เพียงแตวาในสายสนับสนุนวิชาการตรงนี้ จะเปนกลุมของบริหาร หรือกลุมสนับสนุน วิชาการโดยตรง ใชไหมครับ และกลุมเหลานี้มีทั้งที่ใชคุณวุฒิต่ำกวาปริญญาตรี และปริญญาตรีขึ้นไป แลวกลุมปริญญาตรีขึ้น ไปก็มีทั้งวิชาชีพและไมใชวิชาชีพ ถามวาที่ผมกลาวทั้งหมดนี้ อยูในนี้ทั้งหมดไหม มันอาจจะไมใช เพราะฉะนั้นนี่คือการ วิเคราะหเบื้องตน หมดจากบัญชีเงินเดือน 4 บัญชี ที่วากำหนดขั้นต่ำ ขั้นสูง ก็มาถึงเงินประจำตำแหนง และเงินประจำ ตำแหนงผูบริหาร ก็ไมตางไปจากเดิม คือ ปลัดกระทรวง และอธิบดี มีสิ่งที่คิดวา นาจะตองกลับไปดูนิดหนึ่งวา เผอิญมันไมมีซี ซีนี้เดิมทีมีเงินประจำตำแหนง ซึ่งผูกกับซี แตขณะนี้เงินประจำตำแหนงจะไมผูกกับซีแลว มันไปตามตำแหนง เพราะฉะนั้น ตำแหนงระดับสูงมันขึ้นอยูกับที่เขากำหนดวา มันหมายถึงตำแหนงปลัดกระทรวงตำแหนงเดียวใชไหม ถาใชก็รับเงินประจำ ตำแหนงตรงนี้ และถาเปนอธิบดี หรือ รองปลัดฯ มันเปนระดับตนหรือเปลา ถาใช มันก็เปนดังที่วา ก็คือ 14,500 บาท ที่นี้ ของเราไมใชตำแหนงผูบริหารเหมือนกับของพลเรือนเขา เพราะในสภาพปจจุบันไมใชอยูแลว เพราะไมมีตำแหนงที่มีอัตรา เงินเดือนรองรับ ถาใครเปนอธิการบดี จะไมมีตำแหนงอธิการบดีที่มีอัตราเงินเดือนเลย ไมมีหรอกครับ มีแตเงินประจำตำแหนง ให 15,000 บาท แลวสมทบอีกเทาตัวคือ 30,000 บาท เพราะฉะนั้นเงินประจำตำแหนงตรงนี้เอามาใชกับเราไมไดในตำแหนงผู บริหาร เมื่อใชไมได แนนอน ก.พ.อ. ก็ตองใชของเดิม หรืออาจจะออกแบบเหมือนเดิม สำหรับผูบริหารตั้งแตหัวหนาภาคขึ้น ไปจนกระทั่งถึงอธิการบดี ประเภทที่ 2 คือ ประเภทอำนวยการตรงนี้ไดแก สายบริหารที่เปนสายสนับสนุนวิชาการ ทั้งหลาย เชน หัวหนากอง หัวหนาสำนักงานอธิการบดี เงินประจำตำแหนง เทียบไดตรงนี้ เพียงแต ใชชื่อตำแหนงเพื่อใหไดรับเงินประจำตำแหนงเทานั้น เอง ซีไมมีแลว ตรงนี้ที่ผมบอกวา ทำไมผมถึงคิดวา โครงสรางบัญชีเงินเดือนของสายวิชาการของขาราชการพลเรือนสามัญ เรานาจะตองอิงหรือใชของเขา เพราะอะไร ก็เพราะวา ถาเราดูเงินประจำตำแหนงควบคูกับบัญชีเงินเดือนเราจะพบวา ในปจจุบัน การรับเงินประจำตำแหนงของเราเริ่มตั้งแต 3,500 บาท จนกระทั่ง 15,600 บาท หรือ 13,000 บาท ทานสังเกตไหมครับวา มันมี เงินประจำตำแหนงผูทรงคุณวุฒิ 2 อัตรา และถาทานยอนกลับไปดูบัญชีเงินเดือนใหม อะไรจะเกิดขึ้นกับโครงสรางบัญชี เงินเดือนใหม ถาหากเงินประจำตำแหนงมี 2 อัตรา นั่นหมายถึง เงินเดือนสูงสุดใครก็ตามที่ไปถึงจุดนั้น นาจะรับเงินประจำ ตำแหนงสูงสุดใชหรือไม ถามวาแลวใครจะรับเงินประจำตำแหนง 13,000 บาท ก็แสดงวา ผูที่เริ่มไปที่ผูทรงคุณวุฒิขั้นตน ก็นา จะรับ 13,000 บาท และทำไมไมรับเงินเดือนใหทะลุไปทั้งหมด แปลวา มันจะมีบารอยูใชหรือไม เทาที่ผมวิเคราะหและสังเกตดู เมื่อเงินประจำตำแหนงมันมี 2 อัตรา แนนอนมันนาจะตองมีบารหรือเปลา เงินเดือนขั้นสูงสุด จากเงินประจำตำแหนงที่มี 2 อัตรา มันไมลบเหลืออัตราเดียวแลว เมื่อมาดูที่ขาราชการของเราขณะนี้ไดเสนอกฎหมายเขาไปแลว ถามวากฎหมายของเรากลุมแรก เราเปลี่ยนอะไรไหม ไมไดเปลี่ยน กลุมที่ 2 ก็ไมไดเปลี่ยน มีปรับเพียงเขียนวา ใหมีหัวหนาสำนักงานอธิการบดี หรือผูอำนวยการสำนักงาน อธิการบดี ไวในนี้ และเพิ่มตำแหนงบริหารเขาไป เพราะฉะนั้น ตำแหนงผูบริหารตั้งแตซี 6 ขึ้นไปถึง วงเล็บ 1 เปนตำแหนงผู บริหารที่แตงตั้งตามพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัยแตละแหง เดิมทานไมมีเงินเดือนถูกไหม ของใหมก็คงหนีไมพนคือ ไมมี เงินเดือน ทานคงสงสัยวาแลวรับเงินเดือนไดอยางไร เมื่อไมมีเงินเดือน ทานก็รับเงินเดือนของทานอยูเดิม ทานมีตำแหนงทาง วิชาการ ถูกไหมครับ ทานก็รับตำแหนงทางวิชาการ เพราะฉะนั้นของใหมไมไดหมายความวา เราจะมีโครงสรางบัญชีเงินเดือน ตำแหนงประเภทผูบริหารมหาวิทยาลัย ซึ่งไมเหมือนพลเรือน ซึ่งตองหลุดจากเกาอี้ตัวเดิมไปนั่งเกาอี้ตัวใหม แนนอนครับ เพราะหนาที่ความรับผิดชอบมันเปลี่ยนไปชัดเจน แตในมหาวิทยาลัยมันเปนบริหารงานวิชาการมากกวาจะบริหารงานเหมือน พลเรือนทั่วไป เพราะฉะนั้นก็แปลวา โครงสรางบัญชีเงินเดือนก็คงจะไมมีเหมือนเดิม เงินประจำตำแหนงคิดวาคงไมตางจากเดิม เพราะถาตางจากเดิม เราจะอธิบายไดอยางไร แตอยางไรก็ตามเราอาจจะตองไปดูสักนิดหนึ่งวา ถาจะไปเทากับปลัดกระทรวงก็ คงไมได ตองดูวาของเดิม อธิการบดีอยูที่ 15,000 บาท ถาอธิบดีอยูที่ 14,500 บาท เราจะไปปรับเราก็ไมรูจะหาเหตุผลอะไร มาอธิบาย เพราะตำแหนงอธิบดีก็เทียบเทาอธิการบดี แตถาเขามีการปรับตรงนี้ เราก็ตองปรับแนนอน อยางนอยก็ตองไมนอย กวาอธิบดี เพราะฉะนั้นหลักการอยูที่ตรงนี้ ก็แปลวา อาจารยในสายวิชาการนั้น ก็จะมีแตเงินประจำตำแหนง ไมมีเงินเดือน แนนอน แตตั้งแตระดับ 7 ลงมาจนถึงระดับ 8 ในตำแหนงอื่นที่ ก.พ. กำหนดซึ่งอาจจะกำหนดตำแหนงบริหาร ไวที่ระดับ 7
  • 3. 102 ตรงนี้ ประเด็นแรกถามวา จะมีโครงสรางบัญชีเงินเดือนไหม ถามวา ลักษณะงานในปจจุบันของเรา ตำแหนงผูบริหารระดับ กอง หรือ หัวหนาสำนักงานอธิการบดี ถาจะแยกโครงสรางบัญชีเงินเดือน ออกมาตางหาก โดยใช บัญชีเงินเดือนของ ผูอำนวยการ หรือที่เรียกชื่ออื่น ๆ จะทำไดไหม ถาดูโดยหลักแลวก็นาจะทำได แตถามันมีวิธีการสรางบัญชีเงินเดือนขึ้นมารอง รับ ทั้งประเภท ผูอำนวยการ และประเภททั่วไป แลวใหประเภท ผูอำนวยการ ไปไดเหมือนกับพลเรือน มันก็อาจจะใชบัญชีเดียว ได เพราะการแยกบัญชีตองดูใหดี เพราะวากลุมคนเหลานี้ ถาแยกบัญชีก็หมายถึงวา การขามประเภทนั้นจะตองขามประเภท ไดดวย ถาแยกบัญชีแลว เกิดความรูสึกไหมวา จะขามประเภทไมได ก็คืออยูประเภทอำนวยการ หรือเราบอกวา เราอยู ประเภททั่วไป อยางนี้จะขามมาประเภทอำนวยการ คือเปนผูอำนวยการกอง เลขา ไดหรือเปลาอันนี้ตองไปตอบเขาอีก แตถา อยูดวยกัน คำตอบไมตองตอบมีแคนั้น ก็ตองวิเคราะหดูวา จริง ๆ มันควรจะทำไหม ถาจะทำคงจะเหมือนพลเรือนใชไหม แตถาไมทำ ถึงแมไมเหมือน เงินเดือนเขาไมตางจากพลเรือนทำไดใชไหม ก็ตองไปดูวาเราควรจะมีกี่บัญชี อาจจะไมเหมือน เขาทั้งหมด แตวิชาการมันคอนขางเห็นภาพ อยางที่ผมอธิบายถูกไหมครับ ตอนนี้มาดูคราว ๆ นิดหนึ่ง มาถึงตำแหนงตรงนี้ของสายสนับสนุน มันมีชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษอยู ทุกวัน นี้ ระบบเปนอยางนั้น จะมีอยู 2 กลุม กลุมที่ใชวิชาชีพ คือพวกแพทย พยาบาลทั้งหลาย ไมใชอาจารยแพทยนะ พวกที่เปนวิศวะ กับกลุมที่ไมใชวิชาชีพ ของพลเรือนก็คือเปนประเภทวิชาการ แตของเราคงไมใช กลุมนี้เองถามวา บัญชี เงินเดือนจะใชบัญชีไหน เมื่อสายวิชาการโดยหลัก นาจะใชประเภทวิชาการไปแลว ซึ่งถึง 61,860 ตรงนี้เวลาวิเคราะหก็ตองดู ระบบเดิมวาเขาไปไดแคไหนเหมือนกับสายวิชาการ เอาละก็พูดมานาน เรามาดูสายวิชาการของเรา ของเดิมมีทั้งหมด 4 ตำแหนง ใน 4 ตำแหนง ระบบเดิม ตำแหนง บวกซีในระหวางตำแหนง บวกอันดับเงินเดือนที่ทานจะไดรับ บวกเงินประจำ ตำแหนง ดวยใชไหม 4 อยาง ตอไปนี้มันจะเหลือแค 3 อยาง มันจะเหลือตำแหนง เหลือเงินเดือน เหลือเงินประจำตำแหนง 3 อยาง คำถามงาย ๆ ถาซีมันหมดไปแลว มันจะมีผลกระทบกับเงื่อนอะไรของสายวิชาการ ผมบอกวา ไมมีผลกระทบ เพราะ ตำแหนงวิชาการมันมีการประเมินผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนตำแหนง ไมใชเพื่อเลื่อนซี ในสภาพปจจุบัน ที่เอาซีไปใสแตละ ตำแหนงนั้น ก็เพื่อสิทธิประโยชนของทานบางอยาง ตอนนี้ก็ตองตั้งคำถามกลับวา เมื่อไมมีซีแลวสิทธิประโยชนบางอยางที่ กลาว มันจะหมดไปดวยหรือเปลา การปรับอะไรก็ตามมันตองไมมีผลกระทบตอสิทธิประโยชนของคน เพราะฉะนั้น เขาตอง เทียบใหเราครับวา ตำแหนง ผศ. เดิมทีมันไดเครื่องราชฯ แตละชั้นถึงชั้นสูงสุด แคไหน เราคงตองไดเหมือนกันและแตละขั้น ควรจะเอาอะไรเปนตัวกำหนด ระยะเวลาเปนตัวกำหนดใชไหม คงใชไดอยูหรือเปลา ถาระยะเวลาเปนตัวกำหนดก็ไมเห็นอะไร แปลก ก็เหมือนเดิมและ ตำแหนง ผศ. สูงสุดเดิมซี 8 ชั้นอะไรก็ตองไดชั้นนั้น แตก็มีปญหาตามมาอีกวา เดิมที ผศ. ซี 6 ขึ้นเครื่องบินไมได มาถึงตรงนี้สิทธิประโยชน เรื่องคาเดินทาง คาเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ตาง ๆ เหลานี้ ตรงนี้เอาก็คงตองมีการเทียบ เหมือนกัน หลักก็คงตองอิงของพลเรือนเขา เทียบอยางไรก็คงจะหนีไมพนตำแหนงชำนาญการของเขากับตำแหนงทางวิชาการ ของเรา มันแตกตางกันตรงไหน ชำนาญการเขาถาดูเงิน เริ่มที่ 3,500 บาท ก็เหมือนของเรา ตอนนี้ผมยังไมถึงเงินประจำ ตำแหนงที่จะชี้ใหเห็น ผศ. จะเริ่มที่จุดนี้ที่ของเดิม ( ชี้ภาพ ) และ รศ. ทั้ง 2 อยางนี้ คือชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ ของพลเรือน เพราะเงินประจำตำแหนงมันเหมือนกัน ผศ. ก็คือชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ และ รศ. ก็คือเชี่ยวชาญ ศ. ก็คือทรงคุณวุฒิ ถาจะเทียบอยางนี้ เพราะวาเราจะมาบอกวา ผศ. ตรงนี้ก็ไมได รศ. ก็ไมได มันผิด ทำไมผมถึงบอกวา 2 อยางรวมกัน ก็คือเอาเงินตำแหนงที่เราจาย ผศ. เทาไรมาเทียบนี่คือ ในตำแหนงทางวิชาการ ถาเอาซีออกแลวสิทธิประโยชน บางอยางตองเทียบสิ่งที่มีผลกระทบกับตำแหนงทางวิชาการถามวามีผลกระทบไหม จากโครงสรางบัญชีเงินเดือนที่กำหนดไว ขั้นต่ำ ขั้นสูง ระบบการขอตำแหนงวิชาการของเรามีทั้งที่เปนกรณีปกติ และวิธีพิเศษถูกไหม หลักก็คือวาถาใครเลื่อนตำแหนงไป คาตอบแทนมันก็นาจะตองตามตำแหนงไปดวย เมื่อมีการกำหนดขั้นต่ำอยางนี้แลว แปลวาผลกระทบไมนาจะเกิด เพราะอะไร ครับ ถาอาจารยทานใดก็ตาม ถาอยูในกลุมแรก สมมติวาเปนอาจารยเบื้องตนเขามา ถาเกิด ขอตำแหนงทางวิชาการแลว ไปขอตำแหนง รศ. ขึ้นมา หลักก็คือ ถาเงินเดือนหางขั้นต่ำ ก็ตองไปรับเงินเดือนขั้นต่ำของตำแหนงนี้ ถาเงินเดือน เขากำหนดเปนแทง เห็นอยางนี้มันคอนขางเปนแทงแนนอน ถูกไหม เพราะฉะนั้น อาจารย ผศ. รศ. ศ. ก็นาจะเปนแทงของมัน ขึ้นไปก็คือวา มันก็มีโอกาสที่จะขยับเงินเดือน ถาใครจะขอโดยวิธีพิเศษ ถาใครขอกรณีปกติเงินเดือนไมถึง มันก็ขยับเงินเดือน ไดเชนกัน นี่คือ ขอดีของการมีอัตราขั้นต่ำ มันก็มีขอเสียของมันอยูเหมือนกัน เคยมีคนเขาบอกวา ขอชาเงินเดือนมันก็เกินขั้น ต่ำแลว ก็ไดตำแหนง เงินไมไดแลวใชไหมครับ ถาคนที่ถึงแลวขอเลยก็จะไดเปรียบ ไดจ้ำเงินเดือนอยางนี้เปนตน นี่คือขอเสีย ของการมีขั้นต่ำ แตผมคิดวา มันมีขอดีมากกวาขอเสีย เพราะหลักก็คือวาเมื่อตำแหนงมันเปลี่ยนไป คาตอบแทนก็ควรจะตอง
  • 4. 103 เปลี่ยนไปดวยกลับสิ่งที่เขาไดตำแหนงเหลานั้น เพราะฉะนั้น ผมก็เชื่อวาในระบบของ ก.พ.อ. เองก็คงจะมีขั้นต่ำ ขั้นสูงอยางที่วา เมื่อมีขั้นต่ำ ขั้นสูง เราไมเคยเห็นเลยวา มันจะมีสักกี่ขั้นถูกไหม ไมมีนะ ในนี้ไมมี ถามวาโครงสรางบัญชีเงินเดือนของเรา จะออกแบบใหมีไดไหม คำตอบคือ มันได ถึงแม ก.ม. มันไมไดเขียน แตใหออกเปนพระราชกฤษฎีกา ออกได แตถามวามัน ควรจะออกไหมละ ถาออก ปญหามันมีก็คือ ขั้นเงินเดือนมันคงไมเทากัน เหมือนอยางระบบปจจุบัน เวลาใครไปก็ตองปรับ เงินเดือนเพิ่ม นั่นอาจจะเปนขอดีของคนที่ได แตขอเสียของมันคือ ก็ไมไดทำอะไร อยู ๆ มันก็ไดขึ้นเงินเดือน ก็ไมนาจะเปน เชนนั้น เพราะฉะนั้น ผมคิดวา ไมนาจะมีขั้นเงินเดือนครับ พอไมมีขั้นเงินเดือนก็ไมตองหวงเลย ของใครของมัน ใครเคยไดรับ เทาไรอยูอยางนั้น ไมมีปญหา ตรงที่ไมมีขั้นเงินเดือน ตรงนี้แหละ ทำใหระบบการพิจารณาขึ้นเงินเดือนเปลี่ยนไปแนนอน ทานอยูมหาวิทยาลัยในกำกับจะทราบดี เพราะฉะนั้นระบบการเลื่อนขั้นเงินเดือน มันจะเปลี่ยนไปแลว ที่คอยจอง 1 ขั้น จะไมมี แลว ก็คือ มันจะไมมีโควตาแลว ไมมีขั้นแตมันจะมีแตเม็ดเงินใหไมเกินกี่เปอรเซ็นต เพราะฉะนั้น ตรงนี้ระบบการประเมินของ อาจารยจะตองเคลียรกันขางใน เปนปญหาหนักสำหรับประธานสภาอาจารยและมหาวิทยาลัย ดวย ที่วาจะไปกำหนดอยางไร ก็คือถามวา ภารกิจของอาจารยจริง ๆ มีทั้งงานสอน วิจัย บริการทางวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานเหลานี้ทั้งหมด 100% ถามวาทานจะใหคาน้ำหนักตรงไหนหรือไมเปนไรหรอกรวมกันแลวใหมันได 100% ถาทานสอบมาก งานวิชาการตรงนี้ ก็นอยลงไป ก็สุดแลวแตทานจะไปคิดไปทำ เพราะฉะนั้นระบบประเมินตรงนี้ ก.พ.อ. คงไมไปยุง เพียงแตอาจจะใหเกณฑ มาตรฐานกลาง ๆ ไป วาอยางนอยที่สุดทานจะตองมีการประเมินอยางนอยหรือเปลา ไมไปยุงในรายละเอียด เพราะฉะนั้นจะ เห็นวาโครงสรางบัญชีเงินเดือนที่คิดวาผมวิเคราะหมาเบื้องตน แนวโนมที่จะใชบัญชีนี้มีคอนขางมาก แลวไมมีผลกระทบตอ ระบบการประเมินตำแหนงทางวิชาการ ถาผมวิเคราะหนะครับ ระบบการประเมินฯ ทางวิชาการตอนที่ที่กำหนดอายุ ระยะเวลา ตาง ๆ เหลานี้ แลวก็ใหประเมินกรณีพิเศษได ตาง ๆ นี้ มันไมมีผลกระทบ คิดวา ระบบตรงนั้นไมตองไปปรับอะไร เพียงแตวา เวลานี้เรามี ศ. ระดับ 11 อยู ( เมื่อกี้ทานเห็นตรงนี้แลวใชไหม ) ก็คือ ผูทรงคุณวุฒิ เมื่อกี้ผมบอกวา มันนาจะมีอะไรตรงนี้ไหม เหตุที่บอกวานาจะมีอะไร ก็เพราะวาอัตราเงินประจำตำแหนงมันมี 2 อัตรา สำหรับ ผูทรงคุณวุฒิ เพราะฉะนั้น ตำแหนงทาง วิชาการเรานาจะมีบารตรงนี้อยูดวย ถาพลเรือนเขามี นั่นก็หมายความวา ใครก็ตามที่จะไดรับเงินประจำตำแหนง 15,600 อาจจะมีบารตรงนั้น แลวก็รับเงินเดือน ไปถึงขั้นสูงสุด 60,000 กวาได เพราะโดยเหตุที่ออกแบบมาเชนนี้ มันบงบอกใหเรา วิเคราะหไดวา ไมไดหมายความวา ผูทรงคุณวุฒิ จะไปถึงขั้นสูงสุดไดทุกคน จากเงินประจำตำแหนงนี้ ทำใหเราวิเคราะหและก็ เห็นภาพที่คอยขางเปนไปไดสูงวา เปนผูทรงคุณวุฒิ และเปน ศ. แลว จะไมไดรับเงินเดือนสูงสุดทุกคนแตจะตองมีรายการ ประเมินความเชี่ยวชาญหรืออะไรตอไปอีก ถึงจะไดรับเงิน 15,600 บาท จากเงินเดือนเราก็มาดู ถึงเงินประจำตำแหนงของสายวิชาการในระบบปจจุบันเปนอยางไร ถาจะใหเขียนถึงในระบบ ปจจุบัน ในระบบปจจุบัน ตำแหนงทางวิชาการคือ ผศ. ของเรา มันมี 2 ระดับก็คือ ผศ. 6,7 เราจาย 3,500 บาท ผศ. ซี 8 จาย 5,600 บาท ตรงนี้สำคัญ เมื่อมันไมมีซีแลว ถามวา ผศ. เราจะจาย 3,500 บาท หรือ 5,600 บาท อยางที่อาจารยบอกหลัก คือตองไปดูเงินเดือน ก็ตองกลับไปดูตรงที่วาชำนาญการของเขา เงินเดือนเทาไร แลวชำนาญการพิเศษเงินเดือน ขั้นตนเขา เทาไร ถาสมมติเขาไมยอมเรา บอกวา ผมไมมีหรอกครับ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ผมมีแต ผศ. รศ. ศ. และอาจจะมี ศ. เชี่ยวชาญ ผมจะไมรับตรงนี้ไดไหม คือรับ 5,600 บาท แลวตำแหนงทางวิชาการ รศ. ก็ 9,900 บาท ตำแหนง ศ. ก็ 13,000 บาท และตำแหนง ศ. พิเศษก็ 15,000 บาท ถาเราจะอธิบายเพื่อพนตรงนี้ไป เราจะอธิบายอยางไรในเมื่อ เขาก็บอก วา เขาก็มีฐานเงินเดือนให ถาคุณจะไดรับเงินประจำตำแหนง คุณก็ตองไดรับขั้นต่ำตรงนี้ นี่คือสิ่งที่เขากำลังจะบอกกับเรา แตถาใหผมคิดนะ ผมไมอยากจะหยุมหยิมมากเกินไป เราก็จะอธิบายใหเขาฟงวา ก็เปนเพราะโครงสรางตำแหนง ของคุณเปน อยางนี้นี่ โครงสรางตำแหนงผมไมใชอยางนี้ เราจะมีเหตุผลเพียงพอไหม แลวมันชัดวา โครงสรางตำแหนงนั้น กฎหมาย บัญญัติไวชัด อาจารย ผศ. รศ. และ ศ. แคนี้ นี่คือสิ่งที่เราจะตองอธิบายใหเขาฟง และหาเหตุผลใหดี ถูกไหม เพราะฉะนั้นใคร ที่เปน ผศ. 6,7 ก็อาจจะไดอานิสงคเปน 5,600 ก็อยากีดกันกันเลย ก็คือวาเปนอานิสงคที่ไดมาจากการปรับระบบครั้งนี้ อะไรอยางนี้เปนตน นี่คือสิ่งที่มันจะเกิดขึ้น แลวเราจะตองอธิบาย มองดูทีแรกเหมือนจะไมมีปญหา แตถาเราวิเคราะหดู เราจะ ตอบ ก.พ. วาอยางไร ในระบบเดิมมันก็ลักลั่น เมื่อเวลาเปน ผศ. 8 รับ 5,600 บาท ประเมินเปน รศ. ได แตเผอิญเงินเดือนยัง ไมถึงขั้นต่ำของซี 9 ทานก็ยังรับเงินประจำตำแหนง 5,600 บาทอยู จริงไหม คำถามคือมันถูกไหม ทั้งที่ตำแหนงมันเปลี่ยน นี่คือระบบเดิมมันก็ลักลั่น และมันก็ไมถูก ตอนนั้นผมยอมรับวา ผมพยายามอธิบายใหคุณหญิงทิพาวดี วาระบบเราไมเหมือน กัน เราขอจายตามฐานะ เขาก็บอกวา คุณก็มีซีเหมือนกัน ผมบอกผมไมไดเลื่อนซีนะทาน ทานก็ยืนยันอยางเดียว
  • 5. 104 เพราะฉะนั้น มันถึงออกมาในภาพนี้ ทั้งที่เราวิเคราะหใหเห็นแลววา การกำหนดซีแลว มันจะเกิดปญหาความลักลั่นกันในระบบ เดิม ก็คือ เปน รศ. 7-8 ตำแหนงเปลี่ยนแตเงินประจำตำแหนงคงเดิมทั้งที่ประเมินตำแหนงทางวิชาการไปแลว แตตอไปนี้ เรากำลังจะใหเงินประจำตำแหนงจายตามฐานะตำแหนงทางวิชาการไมจายตามซี นี่คือสิ่งที่มันจะเปลี่ยนไป ลองแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันดู ผูเขาประชุม : อันนี้นอกจากจะใชกับอาจารยที่เปนขาราชการแลว อาจารยที่เปนพนักงานเหมือนกันดวยไหม นายโอภาส เขียววิชัย : ขึ้นอยูกับสภามหาวิทยาลัยเพราะวาระบบพนักงานนั้น สภามหาวิทยาลัย สามารถที่จะนำ ของพลเรือนหรือของขาราชการพลเรือนในอุดมศึกษา มาใชกับพนักงานมหาวิทยาลัย ดังเชน ตำแหนงทาง วิชาการเกณฑจะชัดเลย ถาหากจะนำโครงสรางนี้มาใชกับพนักงานมหาวิทยาลัย ใชไดครับ แตถาใชทานคิด ใหดี ผมจะวิเคราะหใหทานเห็นคือ อาจารยที่เขามาใหม 9,000 กวา แลวก็ฐานตรงนี้ 20,000 กวาบาท ทานก็ดูวาขั้นต่ำ ขั้นสูง โดยเฉพาะขั้นสูงที่มันหางกันนี้ มันหางกันสักกี่สตางค ผมกำลังจะบอกวา คนที่แรกเขามาเขาตองการใชเงินมากใชไหม เพราะวา คาครองชีพสิ่งตาง ๆ เราจำเปนตองใหคาตอบแทน สูงใชไหม ถามวาขั้นต่ำที่ทานกำหนดเอาไวนี้ มันเหมาะหรือเปลา ทานเอามาใชไดแตกอนที่จะใช ทานลองวิเคราะหดู แลวถาเราจะเอาขั้นสูงเขามาใช ตองดูอีกที ผมกำลังจะบอกวา ถาตรงนี้เขาใหเงินสูง ขึ้น ขั้นสูงถาขยับนิดหนอย หรือไมขยับแลวสมมติ ตรงนี้พยายามใหมันแตกตางกันใหมากหนอย เพราะ อะไรครับ โดยเฉพาะในระดับแรกเขา มันเหมือนกับเรงใหอาจารยจะตองสรางผลงาน เพราะฉะนั้นเงินเดือน คุณตัน ถูกไหม แตพอสูงขึ้น ก็ใหชวงเวลาเขาหายใจใหมากขึ้น อยางนี้เปนตน เวลาเราจะวิเคราะห โครงสรางบัญชีเงินเดือน ผมวานาจะเอาจุดเหลานี้มาดูและก็วิเคราะหถึงลักษณะงาน วาชวงไหนที่เราคิดวา คนเมื่อเขามาแลว ชวงไหนควรไดคาตอบแทนสูงและควรจะเรงเขาตรงจุดนั้นใหเขาเขาสูตำแหนงทาง วิชาการ ไมใชอยูตอไปจนกระทั่งไมจำเปน จะตองทำวิชาการ เพราะอยางไรก็เงินเดือนก็ใกลเคียงกัน เพราะถาหาก เงินเดือนมันใกลเคียงกัน มันจะไมจูงใจใหสรางผลงานทางวิชาการดวย ถาเปนขั้นสูงมันหาง กันไมมาก เพราะฉะนั้นมันก็เปนจุดหนึ่ง เวลาทานจะสรางอะไร ตองวิเคราะหดูดวยวา วาจริง ๆ แลวมัน เหมาะสมไหม คือ ใหเขาดำรงชีพอยูไดเหมือนคนอื่น ไมตองไปวิ่งรอก อยางไรก็ทำงานอุทิศให มหาวิทยาลัยได ตรงนี้สำคัญ ผมยอมรับวา ขาราชการเอาแตได อยากไดคนดี แตเงินจายนอย จริง ๆ ถาถามวาเราเอาคนเกงเขาสูระบบไดไหม คำตอบคือ ได ถาถามผมวา แลวจะไดสักกี่คนในระบบราชการ คำตอบของผมคือ ผมทำงานมาเกือบ 30 ป ไดไมถึง 10 คน คนเกงที่จะเอยชื่อนี้ อาจารยคงรูจัก ตั้งแต..(ใสชื่อ).... ถามวา เราจายเงินเดือนเขาเทาไร ประมาณ 20,000 – 30,000 บาทเอง อยาคิดวาเขามี เงินแลวไมตองใชเงิน ถามวาเราใหคาตอบแทน เขาเหมาะสมหรือยัง แลวคนสุดทาย ดร. ปราโมทย ที่จุฬาฯ วิศวกรจากองคการนาซา นาอายมาก เงินที่เราใหคือเศษที่เขาไปรับงานวิจัยยังไมไดเลย แตเปน เพราะวาเขาจะมาชวยมหาวิทยาลัย ตรงนี้สำคัญ และในระบบราชการตองเรียนวา มันตองมีสัญชาติไทยที่ เรามาบรรจุตองมีสัญชาติไทย คนที่ไมมีสัญชาติไทย เราบรรจุไมไดจริง ๆ ถึงแมเขาเกง แตพนักงาน มหาวิทยาลัยไมมีปญหาครับ แตทำอยางไรจึงจะใหเหมาะสม รัฐก็ไมไดใหอะไรเรามาก ทุกวันนี้จริง ๆ เราอยากใหคืนเงินเกษียณอายุใหเต็ม เขาก็ไมใหอีกซึ่งก็มีผลกระทบไปทั่วเพราะฉะนั้น โดยสรางบัญชี เงินเดือนมันก็สำคัญ แลวตอไประบบการเลื่อนขั้นเงินเดือน เมื่อมันเปลี่ยน ตอไปนี้เงินเดือนของใครจะรู ไหม คำสั่งจะออกอยางไร ผูเขาประชุม : มันจะมีปญหาอะไรไหมที่วา จะโยนเรื่องการประเมินไปใหหนวยงาน มันจะยิ่งกวาเกาหรือไม นายโอภาส เขียววิชัย : ถามวา จริงถาเกรงวามันจะมีปญหา เราจะสรางกลไกอยางไร ที่จะใหระบบการ ประเมิน มันเปนไปตามกลไกเหลานั้น และผูบริหารสุดทายเปนคนที่ดูออกคำสั่ง มันอยูที่เครื่องมือ กลไกที่ทานใช อยู เพราะฉะนั้นตองสรางสิ่งเหลานี้ขึ้นมา แตเชื่อเถอะครับวา ไมวาเราจะสรางขึ้นมาอยางไร มันก็ไมได 100% อยางที่วา แตคิดวา ทำอยางไรใหเสียงบนนอยลงก็เพียงพอแลว พอมาพูดเรื่องเงินเดือน มันก็โยง ไปวา ที่มหาวิทยาลัย เราก็มีความแตกแยกระหวางขาราชการกับพนักงาน ซึ่งบรรจุพรอมกัน แต ขาราชการ ไดเงินเดือนนอยกวา ยิ่งมาเอาเรื่องนี้ และบวกกับที่ รศ. มัลลิกา ถามวา ถามหาวิทยาลัย จะเอา
  • 6. 105 พนักงานมาระบบนี้ดวยมันจะยิ่งไปกันใหญ คือ มันแตกแยกตรงที่วา เงินเดือนไมเทากันแตทำงานก็ไม ตางกัน ที่ สกอ. เองมีการแกไขตรงจุดนี้อยางไร นายโอภาส เขียววิชัย : ในเรื่องของ พนักงานมหาวิทยาลัย เปนเรื่องของสภามหาวิทยาลัยโดยตรง เพียงแตวา เกณฑ มาตรฐานตาง ๆ มันนาจะมีเกณฑมาตรฐานเดียวกันหมดไมควรจะมา 2 เกณฑมาตรฐาน ถามวาจะใช เกณฑของขาราชการไดไหม คิดวาไมนาจะมีปญหา ถาเกณฑมาตรฐานของเราที่ออก ที่เปนราชการก็สราง โดยสภามหาวิทยาลัย เรามีแตมาตรฐานกลางไปให เพราะฉะนั้นเวลาทานสรางทานก็นาจะสรางและใชกับ พนักงานดวย ประเด็นก็คือถามวา บัญชีนี้จะเอาไปใช ใชอยางไร เมื่อบัญชีนี้มันไมมีขั้น ถาหากตำแหนง เหมือนกันก็ใชได ก็รับเงินเดือนตามนั้น เพียงแตวาขั้นสูงนั้นเดิมทีมหาวิทยาลัยมีการกำหนดไวเทาไร ถาทุกวันนี้ไมไดกำหนด ก็แสดงวา เพดานมากกวา ขาราชการ ใชหรือไม มันก็ตองกำหนด ไมเชนนั้นทุก คนไปกันหมด มันก็ตองตีคางานของตำแหนงที่ใชคุณวุฒิที่ต่ำกวาปริญญาตรี ปกติเขาจางแลวสูงสุดเทาไร ในระบบอื่น เราก็นาจะวิเคราะหตรงนี้ออกมา ผูเขาประชุม : ในกรณีที่พูดถึงพนักงาน จะ เขามาในกลุมตรงนี้ คือ จะมองเห็นวา ในสายวิชาการก็จะ มีระดับปฏิบัติการกับ ชำนาญการในการแรกเขา พนักงานมหาวิทยาลัย ของ สจพ. ถาจบปริญญาโทจะไดรับ 16,000 บาท ปริญญา ปริญญาเอก ไดรับ 19,000 บาท เพราะฉะนั้น จริง ๆ แลวเขาไมจำเปนตองเขาระดับ ปฏิบัติการ เพราะชำนาญการ จะเริ่ม start ที่ 13,000 บาท ซึ่งเขาก็มีสิทธิที่จะเขาตรงจุดนั้นได พอเขาไป แลว เราจะ matching อยางไรระหวาง ขาราชการกับพนักงาน ดิฉันวา มีคนทั้ง 2 ระบบก็มีทั้งดีและไม ดี เปนไปไดทั้งนั้น เพราะฉะนั้นระบบประเมินผลงานคือสิ่งสำคัญ ซึ่งตองมีการประเมินอยางเปนธรรม ก็คงตองใชเกณฑเดียวกัน เพราะอยูดวยกัน และเขาก็ทำงานดวยกัน แตเกณฑนั้นก็ตองเปนเกณฑที่ โปรงใส ตรวจสอบไดจริง ๆ ไมใชเปนอยางที่วา มันอาจจะเกิดความแตกแยกอีก ที่วาสงทุกอยางไปที่ผู บริหาร ถูกตองไหมคะ จึงตองคิดเกณฑที่ชัดเจน และเราก็ define วาเราอยูตรงไหน เราไมไดเพราะอะไร ตองอธิบายได ไมใชบอกวา คุณไมไดเพราะมีโควตาแคนี้ นี่คือ สิ่งที่เราไดรับคำตอบอยูประจำ จึงเห็นวา ระบบประเมินนาจะเปนตัวจักรสำคัญที่จะแกไขจุดนี้ได ผูเขาประชุม : คงจะสอดคลองกัน แตผมมีความเห็นตางเล็กนอย ในกรณีของพนักงานมหาวิทยาลัย ถาหากจะเอา เขาระบบนี้ แลวเอาเงินเดือนขั้นต่ำมาเทียบเทากับเราเลย มันไมนาจะถูกตองนัก เพราะถาหากคนที่เขามาครั้งแรก แลวไดเงินเดือน 16,000 บาท คงไมไดหมายความวาเขาเปนผูชำนาญการทันที ถาเกิดจะมารวมตรงนี้ก็ ตองมาเทียบ มาทอนใหเทากับระบบนี้กอน แปลวาเขาตองยอมลดเงินเดือนลงมาใหเทากับระบบนี้ที่ เงินเดือนใดในระบบของขาราชการ ไมใชเอาเงินเดือน 16,000 บาท มาเทียบเงินเดือนชำนาญการไดเลย คงไมได ถาเชนนั้นก็คนละมาตรฐานอยางที่อาจารยวา มาตรฐานที่ดีก็คือวา ถาเต็มใจจะเปลี่ยนสภาพจาก พนักงานมาเปนขาราชการในระบบใหม ก็ตองยอมเทียบเงินเดือนหมื่นหก อาจจะเปน 9,320 บาทนั่นแหละ คือ เขามาพรอมกัน ถาเพียงแตเลือกวาจะอยูระบบไหน พอเขามาในระบบพนักงานแลวจะมาเปลี่ยนเปน ขาราชการในระบบใหม แลวมาเทียบ 16,000 บาท เปนผูชำนาญการเลยคงไมได ผมคิดอยางนี้แตไม แนใจวาจะเปนไปไดหรือเปลา นายโอภาส เขียววิชัย : ผมสรางความเขาใจผิดหนึ่งวา ในระดับปฏิบัติการของพลเรือนเขาเปนอยางนี้ครับ เมื่อไปดูที่ประเภท วิชาการ เขาบอกวา ตำแหนงที่จะตองใชผูสำเร็จปริญญาทางวิชาการตามที่ ก.พ. กำหนด คำวา ปริญญา ทางวิชาการในที่นี้ก็คือ ปริญญาตรี ขึ้นไป ถาปริญญาตรีขึ้นไป ระดับแรกเขาตรงนี้ มันก็หมายความวา วุฒิปริญญาตรี เพราะฉะนั้น โทและเอกมันไมไดอยูตรงนี้ ก็ตองเปนอัตราคาของมันวาอยูตรงไหน เพราะฉะนั้น ถาเราใชบัญชีนี้มาเปน 4 ตำแหนง ก็ตองมาดูวา เราจะปรับระหวางตรงนี้อยางไรหรือวา ชำนาญการพิเศษอยางไร เชี่ยวชาญ ก็ รศ. แลว เพียงแตวา 3 ตำแหนงนี้ มันจะเหลือแค 2 จะปรับ อยางไร ไมไดหมายความวาอาจารยโทหรือเอกบรรจุตรงนี้ ไมใช แตคือระดับอาจารยแรกเขา คลาย ๆ เชนนั้น ตองสรางความเขาใจนิดหนึ่ง แตขณะนี้พลเรือนมากกวาเรา ที่นี้เราจะปรับอยางไร
  • 7. 106 ผูเขาประชุม : แสดงวาคนที่จบปริญญาเอกมา ถาเทียบเงินเดือน เทากับชำนาญการเลย ก็ไดชำนาญการเลย ใชหรือไม จำเปนตองเปน ผศ. อยางนั้นใชไหม ถาเทียบในแงของวุฒิและเงินเดือน นายโอภาส เขียววิชัย : จริงๆ วุฒิปริญญาเอก ทานจะตีคาของวุฒินี้ ตองดูวาพลเรือนเขาตีไวเทาใด ถาบรรจุพนักงาน หลักวา มันควรจะสูงกวาพลเรือนเทาไร นั่นคือมาตรฐาน แตไมไดหมายความวา ปริญญาเอก จะตองบรรจุตาม มาตรฐานนี้ทุกสาขาไป ถาสาขาไหนมันจำเปนจะตองแขงขันปริญญาเอกนั้นอาจจะสูงกวาคามาตรฐานที่ มหาวิทยาลัยกำหนดไว ตรงนี้ก็เหมือนกับตอนที่ผมบรรจุคนเกง ๆ เขามา เราตีประสบการณรวมดวย ถึงแมปริญญาเอกไมมีประสบการณ แตปริญญาเอกเวลานี้เราตองแขงขันกับผูอื่น เราก็ตองจายคาตอบแทน มากกวาสาขาอื่น อยาคิดวาเปนราชการ ตองมีมาตรฐานเดียวกันหมด ก็อยากใหคิดตรงนี้ดวย แตมาตรฐาน ขั้นต่ำ คือ ใชอยางที่พูด ผูเขาประชุม : ที่บอกวา สาขาใด ถามีความขาดแคลนและก็ใหเงินเดือนมากกวา ผมมองอีกมุมหนึ่งครับวา ควรจะแยกตัว เงินเดือนที่นำมาใชในการปรับตำแหนงดวย กับเรื่องของคาวิชาชีพและคาความขาดแคลนเฉพาะ ออกไป เปนคนละสวนกัน เพราะถาเราเอามารวมกัน สมมติอีก 10 ป แลวสาขานั้นมันไมขาดแคลน แลวจะทำ อยางไร เพราะฉะนั้นในทางปฏิบัติเมื่อมารวมกัน มันจะมีปญหาในเรื่องของการตั้งตนในการวัดและในระยะ ยาว มันไมเปนสิ่งที่ยั่งยืน เพราะวา ความขาดแคลนมันไมไดยั่งยืนตลอดไป อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงจาก สาขาหนึ่งไปอีกสาขาหนึ่งได เพราะฉะนั้น การแยกเงินเดือนที่เปนฐาน อยางเชน วิศวกร ก็ตองเทากัน ถาสาขานั้นขาดแคลนก็ใหสาขานั้นไปอีกเทาไรก็ได ผมวานาจะเปนแนวทางอยางนั้นมากกวาครับ ผูเขาประชุม : ระหวางคำวา พนักงาน พนักงานวิชาการ และขาราชการ สามารถจะเปลี่ยนมาเปน ขาราชการอยางที่วา เปลี่ยนสายไดไหม และแตละตำแหนงตางกันอยางไร นายโอภาส เขียววิชัย : จริง ๆ ตองเรียนทานวา ที่เราบอกวา ขาราชการ พนักงาน พนักงานวิชาการ จริง ๆ ที่เราเรียกกัน ถามวานั่นคือตำแหนงทางวิชาการใชไหม อาจารย ผศ. รศ. ศ. ไมวาจะเปนระบบราชการหรือไมใชระบบ ราชการ ถาคนนั้นไมวาจะเปนขาราชการหรือไมใช เมื่อเขาสูตำแหนงทางวิชาการ ก็คือ ผศ. รศ. ศ. ถา เราเรียกอยางนี้ความรูสึกก็คงจะนอยลง มันไมมีความรูสึกวาตัวเปนอาจารยขาราชการนะ ฉันเปนอาจารย พนักงานนะ แตถาทุกคนรูและเขาใจวาทุกคนมีตำแหนงทางวิชาการ ความรูสึกที่วา มันจะนอยลง ผมคิดวา เชนนั้น ไมรูถูกหรือไม อันที่ 2 อยางที่อาจารยใหขอคิดนั้นก็เปนแนวทางหนึ่งที่ถูกตอง คือเราไมรวมไป ในเงินเดือน เปนเงินเพิ่มพิเศษก็ได เปนทางเลือกทางหนึ่งครับ ผูเขาประชุม : ผมขอเลาของ มจธ. ใหฟงเล็กนอย สำหรับ มจธ. ตอนนี้ทำระบบพนักงาน ทั้ง 2 ฝาย คือพนักงานและ และขาราชการ ซึ่งจะตองถูกประเมินดวยกันทั้งคู โดยที่การประเมินผลการทำงาน ดูจากตำแหนงทาง วิชาการเปนหลัก กอนวา อาจารยตองทำอะไรบาง ผศ. ตองทำอะไรบาง รศ. ตองทำอะไรบาง ขาราชการจะกำหนดไวอยางไรก็ขึ้นอยูกับ ก.พ. และ ก.พ.อ. วากำหนดไวอยาง ก็เปนไปตามเกณฑของ ก.พ.อ คงไมมีปญหา ผมคงไมเขาใจมากนักเพราะมองเรื่อง พนักงาน มากกวา แตพนักงานในสาย วิชาการของ มจธ. ตอนนี้ประกอบไปดวย ผูสอนในวิชาตางๆ คือตัวอาจารยทั่วไป อีกกรณีหนึ่งคือ ขยับเอานักวิจัยมาอยูในบล็อกนี้ทั้งหมด ดังนั้น นักวิจัยจะอยูในบล็อกของอาจารยดวย การทำงานของ อาจารย นักวิจัย มีตำแหนงทางวิชาการเหมือนกัน คือถาใครที่เปนคนสอน ก็จะเปนตั้งแต อ. ผศ. รศ. และ ศ. สำหรับนักวิจัย เมื่อวานเพิ่งประชุมสภามหาวิทยาลัย กำหนดออกมาแลววา เราจะใหตำแหนงเขา คือ นักวิจัย, ผศ. วิจัย, รศ. วิจัย และ ศ. วิจัย มีกำหนดเงินคาตอบแทนในนั้นเบ็ดเสร็จเรียบรอย รวมถึง ตำแหนงทางวิชาการที่เริ่มตนจาก ว 1 มี 6 กลอง ว ยอมาจากวิชาการ ว 1 คุณสมบัติอยางนอยที่สุด ตองจบปริญญาโท เพราะจะไมรับผูที่ต่ำกวาปริญญาตรีแลว แลวก็คนที่เปนปริญญาตรีอยู อายุการทำงาน มากเกินพอแลว ก็จะเปน ว 1 จาก ว 1 คนที่จะขยับ ว ได ตองอยูอยางนอยใน ว นั้น 3 ป เงินเดือนก็ขยับ ตาม ว แตละ ว แตถามีเงินประจำตำแหนงทางวิชาการก็จะบวกเขาไปตางหาก สมมติคนที่จบปริญญา เอกมาทำงาน 2 ป แลวขอเสนอผลงาน และประเมินผาน ผศ. ก็จะขยับเปน ว 3 ทันที ถือเปนการ fast track คือมีความสามารถพิเศษ ทำงานและขึ้นเปน ว 3 และก็อยูในระบบตอ พอขึ้นเปน ว 3
  • 8. 107 มีตำแหนงทางวิชาการ ก็จะไดรับเงินตำแหนงทางวิชาการไปดวยเหมือนกัน สมมติวา เปน ผศ. ใน ว 3 ก็จะไดรับเงินทางวิชาการ 3,500 บาท ถา ว 4 เปน ผศ. อยูหมายถึงคุณทำงาน ผศ. ประเมินผลงานปกติ ทำงานตามหนาที่ตนเองไปเรื่อย ๆ ไมมีอะไรที่พิเศษ ก็คือ คลาย กับ ซีคือมีอายุงานไปเรื่อย แตพอถามี ตำแหนงทางวิชาการปรับ ว ได รศ. เริ่มตนที่ ว 4 ก็จะมีเงินประจำตำแหนง แตฐานเงินเดือนก็คงไปตาม track ของเขาเหมือนเดิม คือทุกคนจะมี Career ผานของตนเองอยูแลว ศ. ก็จะมี 2 ระดับ คือ ว 5 และ ว 6 ตองอยูในแตละ ว ไมต่ำกวา 3 ป เพื่อใหคลุกคลี ทำความเขาใจ และขอผลงาน ถาผานก็ขยับ ว ตอไป เหลานี้ที่เปนของ มจธ. เพราะฉะนั้นเราเคยคุยกันวา ถาเราอยากจะไดเงินประจำตำแหนงอยางที่อาจารย บอกวา พนักงานเงินเดือนสูง เพราะวา เงินเดือนสูงนี่แหละ มหาวิทยาลัยจึงตองขยับเกณฑขึ้นไป เหตุผล ของการขยับไมใชอยางที่วาครับ ไมมีเงินให มหาวิทยาลัยตอนนี้เกือบทุกมหาวิทยาลัย ไดเปน Block grant ถาใหเยอะ ๆ อยางต่ำ ๆ สมมติให 16,000 บาท และไดรับเงินประจำตำแหนงดวย มหาวิทยาลัยไม มีเงินใหหรอกครับ มหาวิทยาลัยลมละลายแน ๆ เพราะฉะนั้นตอนนี้ก็เลยปรับใหมในสวนของวิชาการ เราดูวา ทำงานระดับนั้น ๆ จะไมสนใจเงินเดือนครับวา เงินเดือนของคุณสูงระดับไหน ถาหากวาคุณอยูใน ระดับเงินเดือนไหน อายุงานเทาไร มีผลงานสม่ำเสมอ สมมติวาถาเปน รศ. มีผลงานสม่ำเสมอ 3 ป มีผลงานโดดเดน ปรับเปน ว 6 ได ว 6 ก็ปรับฐานเงินเดือนใหมเลย ปรับ Track ใหมและก็มีเงินประจำ ตำแหนงใหม เพราะถือวาที่ผานมาทำงานตามความสามารถไดดีอยูแลว การขอกำหนดตำแหนงทาง วิชาการก็จะคลาย ๆ ราชการเหมือนเดิม จึงเรียนใหทราบอยางนี้กอน ผูเขาประชุม : สูงสุดคือ ว. อะไร ผูเขาประชุม : ว. 6 ครับ ผูเขาประชุม : สามารถขึ้นไปไดอีกไหม ว. 7, 8, 9 ผูเขาประชุม : มีครับ เปนการตกลงกันเปนกรณีพิเศษ ผูเขาประชุม : แลวเปนไปไดไหมวา กรณีที่วา แตละคนโดยเงื่อนไขตองอยูอยางนอย 3 ป แลวจะขยับ ไปตาม ว. แตถาสมมติเขาอยู ว. 4 แตตำแหนงทางวิชาการ ไมสัมพันธกันก็ไดใชไหม ก็อาจจะขอจาก ผศ. เปน รศ. พิเศษ จาก ว. 4 แลวไปเปน รศ. พิเศษ ถาเขาทำผลงานไดมากมายมหาศาลทำไดไหม ผูเขาประชุม : ถาเราประเมินแลวเปนอยางนั้นจริง ก็ทำได ผูเขาประชุม : แสดงวามันอิสระตอกัน ผูเขาประชุม : ถามั่นใจนะครับ แตผมเชื่อมั่นวา แคปจจุบันก็เหนื่อยแลว เราเคยคุยกันวาเปนไปไดหรือไมที่อาจารยสอน หนังสือธรรมดาจะไดเปน ศ. คำตอบคือได ถาประเมินแลวเขียนหนังสือมาเลมหนึ่ง และสามารถใชได world wide และทุกคนเห็นพรอมตองกัน เปนประโยชนตอสังคม จริง ๆ ก็เอา ศ. ไปเลย สำหรับ มจธ. ของเราเปนอยางนั้น เพิ่มเติมนิดหนึ่งวา การไดรับตำแหนง ศ. ทางวิชาการ สำหรับสายอาจารย ยังตอง โปรดเกลาฯ อยูดี เมื่อวันนี้คุยกัน และก็อนุมัติในหลักการไวกอน ใหมีถึง ระดับ ศ. วิจัย แตกำลังทำความ เขาใจวาเปฯไปไดหรือไมที่เราจะขอโปรดเกลา ฯ ถาทำได ผมวาตอไป มจธ. จะมีนักวิจัยอยางเดียวก็ได ผูเขาประชุม : ตามที่อาจารย Present มาทั้งหมดวา เสนอจายตามตำแหนงไมจายตามซี ตามที่อาจารยเสนอมา มันเกิดขึ้น แลวหรือยัง หรือกำลังจะขอเสนอ นายโอภาส เขียววิชัย: ตรงนี้ผมเขาใจวา ก.พ. เขามีบทเฉพาะกาลไปอีก เพราะฉะนั้นป 51 นี้ ยังไมแน เขาตองมาจัดกลุม กันอีก ที่มันกระจัดกระจายกันอยูทุกวันนี้ วามันควรเขาไปอยูตรงไหน ตอนนี้เขามีแนวทางในการ วิเคราะหแลว ของเรานาจะงายกวาเพราะราชการไมจำเปนจะตองไปจัดอะไรอีก เพียงแตวาจะทำอยางไร กับบัญชีเงินเดือน และก็สายสนับสนุน ok วาอาจยากสักหนอย คือสายสนับสนุน เขาก็มีคำถามวาเขาก็มี ตำแหนงผูชำนาญการ ผูเชี่ยวชาญ จะใหเขาใชโครงสรางบัญชีเงินเดือนไหน ทุกวันนี้ก็คลายหรือลอของ อาจารยมา มันก็ใช บัญชีเงินเดือนเดียวกัน แลวจะไปสรางบัญชีเงินเดือนใหมทำไม ใหเขารับเงินเดือน ตรงนั้นเลยไหม หรือไมได หรือตองสรางบัญชีเงินเดือนขึ้นมาใหม อยางนี้เปนตน เพราะฉะนั้น เราคงตอง ไปดู โดยเหตุที่สายอาจารยเปนสายหลักแนนอนเขาจะตองมีโครงสรางบัญชีเงินเดือนของตัวเองแน แตใน
  • 9. 108 สายสนับสนุน ตำแหนงทางวิชาการ ผูชำนาญ ผูเชี่ยวชาญ จะมีไหม ถามีมันก็ไมตางกับสายวิชาการอยู แลว มันเหมือนกัน กับผูอำนวยการกอง ผูปฏิบัติงานทั่วไป ถามวาจะแยกบัญชีไหม ถาไมแยกบัญชี เรากำหนดอะไรสักอยางที่ใหเห็นและสามารถไปได ก็จะรูสึกงายขึ้น แตถามันอยูดวยกันทั้งหมดได จะยิ่งดี ใหญ มีแค 2 บัญชี คือ มันจะไดมีขอแตกตางปองกันการซักถามวาจะไปอยูตรงไหนไดหรือเปลา เหมือนในระบบของ ก.พ. ที่ทานเห็น ความกาวหนาในอาชีพของเขา ตามลูกศรวามันหมุนไป ทางไหน มันไปทั้งผูบริหารได ไปทั้งขึ้นตรงได จะเห็นวาของ ก.พ. ไปขามกลุมได ของเราไมมีปญหา ทุกวันนี้มันก็ไปขามกลุมไดอยูแลวเพราะฉะนั้น หลักของเราถามวาสภาพปจจุบันเปนอยางไร ผูเขาประชุม : ได เพียงแตวา ทัศนคติของผูบริหารมองเราวาอยางไร เชน เปนผูอำนวยการแลว ขึ้นเปนผูบริหารระดับสูง มันทำได แตถึงเวลาจริง เขาคิดในแงอื่น ๆ คือ ขึ้นไปแลว กลับมาจะอยูที่ไหน มันกระทบกระเทือนกับ หนวยงาน ถาเชนนั้นทางที่ดีที่สุดไมใหขึ้นดีกวา คือตัดปญหาไป ผูเขาประชุม : ยกตัวอยางเชน ในภาควิชา ถามวา คนที่เปน Lab boy แลวเขาเกิดไปเรียนตอ ตรี โท เอก จบมา แลวเขา บอก วา ขอขามไปเปนสายอาจารย ในทางปฏิบัติ เขาทำไดไหม แตในปจจุบัน ทำไดยาก ถึงแมเขาจะ จบปริญญาโทมาก็ตาม เขาก็ยังนั่งคุม Lab อยู ผูเขาประชุม : ภายใตกรอบเขาทำไดหรือไม คำตอบคือ จะตองมีกรอบที่รองรับอยู ไมใชไปกัน หรือกระโดดขามเปลี่ยนจาก Lab boy ไปเปนอาจารย ของใหมจะไดหรือไมได นายโอภาส เขียววิชัย : หลักคือ ถามงานกอน งานควรมีอาจารยเพิ่มไหม ถางานควรจะมีอาจารย และวุฒิมันตรง แลว คุณลักษณะของคนที่จะมาเปนอาจารย จะตองเลือกใหดี ไมใช หมายความวา โทและเอกเปนไดหมดใชไหม เพราะฉะนั้นตองดูนะครับ ถาคนในเปน ถามวาแลว Lab เขายังตองทำอยูไหม ไมใชทิ้งแลวใหคนอื่น มารับผิดชอบ นี่คือ สิ่งตามมา มันตองชัด ไมไดหมายความวา ฉันเปนอาจารยแลวฉันไมทำงานเหลานี้ แลว ทานตองหาคนใหมมาทำ ถามวามันถูกหรือไม ใชไหมครับ เพราะฉะนั้น หลักก็คืออาจารยควรจะมี เพิ่มหรือไม ไมเชนนั้นจะเปนเฉพาะบุคคลไป ผูเขาประชุม : มีคำถามอยูวา ถึงแมตองการมีอาจารยเพิ่มแตระหวางรับเอาคนใหมเขามา กับเอาคนในแลวเพิ่มวุฒิ พึ่ง ปรับวุฒิได จะเลือกอันไหน เพราะคนในก็บอกวา ทำไมไมเอาเขา แลวหา Lab boy คนใหมที่มีฝมือเขามา ไดแลวฉันอยากจะปรับวุฒเปนอาจารย เมื่อเทียบกับมีอัตราวางอยูพอดี มหาวิทยาลัยจะเลือกอยางไหน นายโอภาส เขียววิชัย : เรื่องนี้อาจารยตองดูใหดี อาจารยมหาวิทยาลัย โดยหลักตองไมต่ำกวา ปริญญาเอก ถามวาคนใน ที่บอกวาควรจะได กับคนนอก วุฒปริญญาโทเทากัน ดูใหดีวาคนในจะพัฒนา ตอปริญญาเอกไดหรือไม อายุจะเกินหรือยัง เราจะใชงานเขาไดกี่ป คนนอกสามารถที่จะไปศึกษาตอปริญญาเอกไดเลยใชไหม ตรงนี้ ตองมอง อยากจะใหมองหลาย ๆ อยางดวย ผูเขาประชุม : ตอนนี้กำลังจะถามในแงของสิทธิดวย จากคนที่เปนคนในตั้งแตอายุยังนอย ๆ เริ่มอายุ 18 ป จบ ปวส. เขามา เขามี career pass ที่จะเปนศาสตราจารย เขามี motivation ขนาดไหนที่เราจะผลักดันเขาใหทำเชนนั้นได เราบล็อกเขาไวเลยหรือเปลา หรือมีชองทางอื่นไดไหม ผมขอถามในประเด็นนี้ แตก็ดูดุลพินิจอยางที่ อาจารยวา ที่เขามาใหม สดจริง ๆ คนเกานี้ 40 แลว แนนอนครับ จะตองเลือกคนที่มีศักยภาพสูงในระยะ ยาวแนนอน แตผมหมายถึงคนที่มีศักยภาพเทากันนี่แหละ แตเขามีโอกาสหรือไม ที่จะเดินไปถึงจุดหมาย ขางหนา ผูเขาประชุม : ในฐานะอยู ปอมท. มานาน เห็นวาเราคงจะตองมามองภาพรวมใหเห็นทั้งหมดเลย ยกตัวอยางเชน มีขอมูลใหม มากกวานี้อีก ซึ่งที่เปลี่ยน ผมคิดวาคงเปลี่ยนชั่วคราว มีขอมูลใหมซึ่งจะเปลี่ยนมากกวานี้เยอะเลย ในระบบ มหาวิทยาลัยหรือระบบการศึกษาทั้งหมดเลย คือ 4 ป ของทานนายกที่พูด 4 ป++ คงจะตองนำมาใชเต็มที่ เพราะมีการพูดกันเยอะในหลายเรื่อง เหมือนที่กำลังบนกันที่วา ไดเงินประจำตำแหนงแลวทำไมจะตอง มาทำงาน จริงๆ แลวถามองยอนกลับไป เขาบอกวาตองทำงานถึงจะได จริงๆ แลว เรา delay มา ตอนนี้