SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๙ --
เสด็จไปรักษาพระวรกายที่เมืองไฮเดลเบิร์ก
การที่ทรงตรากตรําทุ่มเทพระวรกายเพื่องานการแพทย์และการอุดมศึกษาอย่างหนัก ได้ส่งผลให้
พระอนามัยทรุดโทรมลงอย่างมาก ดังที่มีบันทึกไว้โดย ดร. เอ จี เอลลิส ว่า “การที่ตองเจรจากับผูที่มี
ความเห็นขัดแยงกันมากมาย ในเรื่องตึก เรื่องบุคลากร การอํานวยการโรงเรียน และโรงพยาบาล และ
ปญหาพื้นฐานของมหาวิทยาลัยที่ยังแกไมตก มีผลตอสุขภาพของพระองค และเปนที่เห็นชัดวาไมทรงสบาย
อันที่จริงกอนจะเสด็จกลับสยาม ในป พ.ศ.๒๔๖๖ นายแพทยคนหนึ่งที่ยุโรปไดกราบทูลวาจะทรงมีพระชนม
อีกไมเกิน ๒ ป” จนเดือนเมษายน พ.ศ.๒๔๖๘ ได้มีแพทย์ที่กรุงเทพฯ หลายนายได้ตรวจพระวรกาย และ
กราบทูลแนะนําว่าให้เสด็จไปเสียจากอากาศ ให้ไปรักษาพระองค์ที่ยุโรปหรืออเมริกาซึ่งมีสภาพอากาศเหมาะ
กับพระสุขภาพมากกว่า
ผนวกกับการที่มีแพทย์ผู้หนึ่งกล่าวขึ้นในการประชุมวาง
แผนผังโรงเรียนแพทย์ ทํานองว่า ไม่ควรฟังพระราชดําริของพระองค์
มากนัก เพราะมิได้ทรงเป็นแพทย์ แต่มิได้ทรงกริ้วทั้งที่ทรงทราบเรื่อง
นั้นดีกว่าผู้อื่น ทรงตัดสินพระราชหฤทัยเรียนแพทย์ให้จบให้จง
ได้ ดังมีพระราชดํารัสว่า “….ฉันหวังว่าการรักษาตัวของฉันจะได้ผลดี
ขึ้น เท่าที่เป็นอยู่ในเวลานี้ยังไม่แน่ใจว่าควรจะเรียนต่อไปหรือไม่ แต่อย่างไร
ก็ดี ฉันรู้สึกว่า ถ้าฉันจะเกี่ยวข้องกับโรงเรียนแพทย์ต่อไปแล้ว ควรอย่างยิ่ง
ที่จะเรียนให้จบหลักสูตรแพทย์ ในระหว่างสองปีที่อยู่ในกรุงสยาม ฉัน
รู้สึกตัวว่าฉันยังเป็นรองอยู่มาก”
สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จยุโรปอีกครั้งในวันที่ ๒๔
มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๘ พร้อมกับพระชายา พระธิดา (หม่อมเจ้าหญิง
กัลยาณิวัฒนา มหิดล) คุณแหนน๗๒
พระพี่เลี้ยง เจ้าคุณชนินทรภักดี และนายบุญชัย ณ ป้อมเพชร
เจ้าหน้าที่ในแผนกฟิสิกส์ที่ตามเสด็จด้วยทุนส่วนพระองค์ โดยกําหนดเป้าหมายการเดินทางไว้ที่เมืองไฮเด
ลเบิร์ก ประเทศเยอรมนี เพื่อรับการตรวจรักษาพระอาการแห่งพระวักกะของพระองค์จากแพทย์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านซึ่งสมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทรฯ ได้แนะนํา อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นการเสด็จ
๗๒
นางสาวเนื่อง จินตดุล พระสหายสนิทของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งคบหาสนิทสนมกันมา แต่ครั้งยัง
เป็นนักเรียนพยาบาล ที่โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์ และหญิงพยาบาลแห่งศิริราช ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ (แม้จะมีอายุมากกว่า
สมเด็จพระศรีนครินทราฯ ถึงรอบกว่า) ภายหลังเมื่อสมเด็จฯ พระบรมราชชนกได้เสด็จกลับมารับตําแหน่งเป็นอธิบดีกรม
มหาวิทยาลัย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ชักชวนขอให้นางสาวเนื่อง จินตดุล ลาออกจากการเป็นนาง
พยาบาลพิเศษที่ศิริราช มาช่วยเลี้ยงพระราชธิดา ซึ่งทรงพระเยาว์มาก และเป็นที่มาของชื่อ “แหนน” เนื่องจากเด็กเล็กออก
เสียง “เนื่อง” ลําบาก พระพี่เลี้ยงแหนนยังได้เลี้ยงดูพระราชโอรสอีก ๒ พระองค์ ซึ่งต่อมาทรงถวัลยราชเป็น รัชกาลที่ ๘
และรัชกาลที่ ๙ ทั้งยังได้ทรงเลี้ยงดูเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตน์ฯ ในขณะทรงพระเยาว์อีกด้วย ต่อมา พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชรักาลที่ ๙ ได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคุณแหนนเป็น ท้าวอินทรสุริยา ในปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ในบั้นปลาย
ชีวิตท้าวอินทรสุริยาได้บวชชี และไปประจําที่วัดต่างๆ
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๖๐ --
ไปเพื่อการรักษาพระองค์ แต่ก็ยังทรงแวะเมืองสงขลาในวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๘ เพื่อวางรากฐาน
ทางการแพทย์ และเปิดโรงพยาบาลซึ่งทรงพระราชทานนามว่า “สงขลาพยาบาล”๗๓
ก่อนที่จะเสด็จเลยไป
ยังเมืองปีนัง เพื่อต่อเรือเดินสมุทรไปยังประเทศเยอรมันนี
พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล
เรือที่ประทับถึงเมืองแฟรงเฟิร์ต ประเทศเยอรมัน ในวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๘ ก่อนเสด็จไป
ประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยไฮเดลเบอร์ก และที่โรงพยาบาลแห่งนี้เอง ที่สมเด็จพระ
บรมราชชนนีได้มีพระประสูติกาลเจ้าฟ้าชายอานันทมหิดล ในวัน
อาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๘ เวลา ๐๑.๔๕ น. ด้วยพระ
น้ําหนักแรกประสูติ ๒ กิโลกรัมครึ่ง
ส่วนอาการพระวักกะของพระองค์ก็ได้รับการตรวจจาก
แพทย์เยอรมัน ดังมีพระราชหัตถเลขาถึง ดร. เอลลิส ว่า “……
โดยทั่วๆ ไป การทํานายโรคของดอกเตอร…เปนที่พอใจ เขา
แนะใหฉันรูวา กําลังออนของฉันนั้นอาจไมเปลี่ยนแปลงไปได
แตฉันควรจะทําการโดยทางใดทางหนึ่ง ใหดีใหเหมาะแกความ
เปนอยู ไมใหออกกําลังกายหรือความคิดมากเกินไป เมื่อฉันถาม
ความเห็นเขาวา ฉันสามารถจะเรียนวิชาแพทยอีก ๒ ป ให
สําเร็จไดหรือไม เขาตอบวา ได….”
หลังจากนั้น ได้ทรงพาครอบครัวเสด็จออกจากเมืองไฮเดลเบิร์ก ในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๔๖๘ ไปประทับที่สถานทูตฝรั่งเศส อย่างไรก็ตาม ในเดือนพฤศจิกายนปีนั้น สมเด็จฯ พระบรมราชชนก
ต้องเสด็จนิวัติพระนครโดยลําพังพระองค์ (พระชายา พระราชโอรส และพระราชธิดา ประทับที่โลซาน
สวิตเซอร์แลนด์) เพื่อร่วมงานถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่ง
สวรรคตในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ เรือที่ทรงประทับกลับถึงพระนครในวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์
๒๔๖๙ และได้ทรงประทับอยู่ในพระนครต่อเพื่อร่วมงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๙๗๔
๗๓
เป็นโรงพยาบาลซึ่งสมเด็จเจ้าฟ้า กรมขุนลพบุรีราเมศร์ ทรงชักชวนเรี่ยไรข้าราชการและประชาชนจัดสร้างขึ้น หลังจาก
ทําพิธีเปิดตึกได้ทรงรับไว้ในอุปถัมภ์โดยทรงประทานเงินให้แก่โรงพยาบาลปีละ ๕ พันบาท นับจากปี พ.ศ.๒๔๕๙ จนกระทั่ง
เสด็จทิวงคต
๗๔
ในระหว่างนี้เอง ที่ดร. แซร์ (Dr. Sayre) ชาวอเมริกัน ที่ปรึกษากระทรวงกลาโหมของสยาม ได้เล่าถวายเรื่องสถานเลี้ยง
เด็กชอง โซเล่ย์ (Champ Soleil) เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ที่มีการดูแลอนามัยเด็กเป็นอย่างดี จึงโปรดให้
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๖๑ --
แม้จะเป็นการประทับในสยามเพียงช่วงเวลาสั้นๆ แต่ได้มีพระราชดําริจะจัดซื้อที่ดินติดต่อทางด้าน
เหนือของโรงพยาบาลศิริราช เพื่อจะได้ปลูกที่อยู่สําหรับนักเรียนแพทย์ (แต่เจ้าของที่ดินบริเวณนั้นไม่ยินยอม
ขาย) ทั้งยังได้กราบบังคมทูลขอเงินค่าก่อสร้างตึกอายุรศาสตร์ (ตึกอัษฎางค์) จากพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว๗๕
ซึ่งทรงรับพระมรดกจากสมเด็จเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา
พระชายา และพระโอรส เสด็จจากฝรั่งเศสไปประทับที่โลซานน์ ในวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๙ ก่อนที่พระองค์จะเสด็จ
ตามมาในเดือนกรกฎาคม
๗๕
พลตรีพระศักดาพลรักษ์เล่าว่า “... ทรงสร้างตึกอัษฎางค์ แต่ยังไม่ทรงติดป้ายพระนามที่ตัวตึก เพราะว่าทรงไปทูลขอเงิน
สร้างตึกไว้ และทูลกระหม่อมอัษฎางค์รับสั่งว่าจะให้ แต่พระองค์สิ้นพระชนม์ในเวลาก่อสร้างยังไม่เสร็จเรียบร้อย ... ทรง
รับสั่งปรารภว่าจะเอาเงินค่าก่อสร้างที่ทูลกระหม่อมอัษฎางค์รับสั่งให้ไว้ด้วยวาจาได้อย่างไร เพราะไม่หลักฐานลายพระหัตถ์
สั่งไว้ ข้าพเจ้า (พลตรีพระศักดาพลรักษ์) ทูลออกความเห็นไปว่า เพราะว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ ทรงรับ
พระมรดก ก็ควรทูลเล่าเรื่องให้พระองค์ทราบ รับสั่งว่าดีเหมือนกัน ต่อมาเมื่อทรงเสด็จไปเสวยพระกระยาหารคํ่ากับพระ
เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ ก็ได้ทรงตรัสเล่าถึงผลว่า “สําเร็จได้ค่าก่อสร้างตึกอัษฎางค์แน่ ฉันจะได้เอาเงินจํานวนนี้ไปสร้างตึกหลังอื่นๆ
เตรียมไว้อีก และบอกขายให้เจ้านายฝ่ายในที่มีเงินมากๆ ต่อไป”

More Related Content

More from สุรพล ศรีบุญทรง

ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่นสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรสุรพล ศรีบุญทรง
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล  ริเวอร์
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 7/2552 ณ รอยัล ริเวอร์
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวรเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 6/2552 ณ ม.นเรศวร
 
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552  ณ  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เอกสารประกอบการประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 5/2552 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 

14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๙ -- เสด็จไปรักษาพระวรกายที่เมืองไฮเดลเบิร์ก การที่ทรงตรากตรําทุ่มเทพระวรกายเพื่องานการแพทย์และการอุดมศึกษาอย่างหนัก ได้ส่งผลให้ พระอนามัยทรุดโทรมลงอย่างมาก ดังที่มีบันทึกไว้โดย ดร. เอ จี เอลลิส ว่า “การที่ตองเจรจากับผูที่มี ความเห็นขัดแยงกันมากมาย ในเรื่องตึก เรื่องบุคลากร การอํานวยการโรงเรียน และโรงพยาบาล และ ปญหาพื้นฐานของมหาวิทยาลัยที่ยังแกไมตก มีผลตอสุขภาพของพระองค และเปนที่เห็นชัดวาไมทรงสบาย อันที่จริงกอนจะเสด็จกลับสยาม ในป พ.ศ.๒๔๖๖ นายแพทยคนหนึ่งที่ยุโรปไดกราบทูลวาจะทรงมีพระชนม อีกไมเกิน ๒ ป” จนเดือนเมษายน พ.ศ.๒๔๖๘ ได้มีแพทย์ที่กรุงเทพฯ หลายนายได้ตรวจพระวรกาย และ กราบทูลแนะนําว่าให้เสด็จไปเสียจากอากาศ ให้ไปรักษาพระองค์ที่ยุโรปหรืออเมริกาซึ่งมีสภาพอากาศเหมาะ กับพระสุขภาพมากกว่า ผนวกกับการที่มีแพทย์ผู้หนึ่งกล่าวขึ้นในการประชุมวาง แผนผังโรงเรียนแพทย์ ทํานองว่า ไม่ควรฟังพระราชดําริของพระองค์ มากนัก เพราะมิได้ทรงเป็นแพทย์ แต่มิได้ทรงกริ้วทั้งที่ทรงทราบเรื่อง นั้นดีกว่าผู้อื่น ทรงตัดสินพระราชหฤทัยเรียนแพทย์ให้จบให้จง ได้ ดังมีพระราชดํารัสว่า “….ฉันหวังว่าการรักษาตัวของฉันจะได้ผลดี ขึ้น เท่าที่เป็นอยู่ในเวลานี้ยังไม่แน่ใจว่าควรจะเรียนต่อไปหรือไม่ แต่อย่างไร ก็ดี ฉันรู้สึกว่า ถ้าฉันจะเกี่ยวข้องกับโรงเรียนแพทย์ต่อไปแล้ว ควรอย่างยิ่ง ที่จะเรียนให้จบหลักสูตรแพทย์ ในระหว่างสองปีที่อยู่ในกรุงสยาม ฉัน รู้สึกตัวว่าฉันยังเป็นรองอยู่มาก” สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จยุโรปอีกครั้งในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๘ พร้อมกับพระชายา พระธิดา (หม่อมเจ้าหญิง กัลยาณิวัฒนา มหิดล) คุณแหนน๗๒ พระพี่เลี้ยง เจ้าคุณชนินทรภักดี และนายบุญชัย ณ ป้อมเพชร เจ้าหน้าที่ในแผนกฟิสิกส์ที่ตามเสด็จด้วยทุนส่วนพระองค์ โดยกําหนดเป้าหมายการเดินทางไว้ที่เมืองไฮเด ลเบิร์ก ประเทศเยอรมนี เพื่อรับการตรวจรักษาพระอาการแห่งพระวักกะของพระองค์จากแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านซึ่งสมเด็จกรมพระยาชัยนาทนเรนทรฯ ได้แนะนํา อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็นการเสด็จ ๗๒ นางสาวเนื่อง จินตดุล พระสหายสนิทของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งคบหาสนิทสนมกันมา แต่ครั้งยัง เป็นนักเรียนพยาบาล ที่โรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์ และหญิงพยาบาลแห่งศิริราช ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ (แม้จะมีอายุมากกว่า สมเด็จพระศรีนครินทราฯ ถึงรอบกว่า) ภายหลังเมื่อสมเด็จฯ พระบรมราชชนกได้เสด็จกลับมารับตําแหน่งเป็นอธิบดีกรม มหาวิทยาลัย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ชักชวนขอให้นางสาวเนื่อง จินตดุล ลาออกจากการเป็นนาง พยาบาลพิเศษที่ศิริราช มาช่วยเลี้ยงพระราชธิดา ซึ่งทรงพระเยาว์มาก และเป็นที่มาของชื่อ “แหนน” เนื่องจากเด็กเล็กออก เสียง “เนื่อง” ลําบาก พระพี่เลี้ยงแหนนยังได้เลี้ยงดูพระราชโอรสอีก ๒ พระองค์ ซึ่งต่อมาทรงถวัลยราชเป็น รัชกาลที่ ๘ และรัชกาลที่ ๙ ทั้งยังได้ทรงเลี้ยงดูเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตน์ฯ ในขณะทรงพระเยาว์อีกด้วย ต่อมา พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชรักาลที่ ๙ ได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคุณแหนนเป็น ท้าวอินทรสุริยา ในปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ในบั้นปลาย ชีวิตท้าวอินทรสุริยาได้บวชชี และไปประจําที่วัดต่างๆ
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๖๐ -- ไปเพื่อการรักษาพระองค์ แต่ก็ยังทรงแวะเมืองสงขลาในวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๘ เพื่อวางรากฐาน ทางการแพทย์ และเปิดโรงพยาบาลซึ่งทรงพระราชทานนามว่า “สงขลาพยาบาล”๗๓ ก่อนที่จะเสด็จเลยไป ยังเมืองปีนัง เพื่อต่อเรือเดินสมุทรไปยังประเทศเยอรมันนี พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล เรือที่ประทับถึงเมืองแฟรงเฟิร์ต ประเทศเยอรมัน ในวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๘ ก่อนเสด็จไป ประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยไฮเดลเบอร์ก และที่โรงพยาบาลแห่งนี้เอง ที่สมเด็จพระ บรมราชชนนีได้มีพระประสูติกาลเจ้าฟ้าชายอานันทมหิดล ในวัน อาทิตย์ที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๘ เวลา ๐๑.๔๕ น. ด้วยพระ น้ําหนักแรกประสูติ ๒ กิโลกรัมครึ่ง ส่วนอาการพระวักกะของพระองค์ก็ได้รับการตรวจจาก แพทย์เยอรมัน ดังมีพระราชหัตถเลขาถึง ดร. เอลลิส ว่า “…… โดยทั่วๆ ไป การทํานายโรคของดอกเตอร…เปนที่พอใจ เขา แนะใหฉันรูวา กําลังออนของฉันนั้นอาจไมเปลี่ยนแปลงไปได แตฉันควรจะทําการโดยทางใดทางหนึ่ง ใหดีใหเหมาะแกความ เปนอยู ไมใหออกกําลังกายหรือความคิดมากเกินไป เมื่อฉันถาม ความเห็นเขาวา ฉันสามารถจะเรียนวิชาแพทยอีก ๒ ป ให สําเร็จไดหรือไม เขาตอบวา ได….” หลังจากนั้น ได้ทรงพาครอบครัวเสด็จออกจากเมืองไฮเดลเบิร์ก ในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ไปประทับที่สถานทูตฝรั่งเศส อย่างไรก็ตาม ในเดือนพฤศจิกายนปีนั้น สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ต้องเสด็จนิวัติพระนครโดยลําพังพระองค์ (พระชายา พระราชโอรส และพระราชธิดา ประทับที่โลซาน สวิตเซอร์แลนด์) เพื่อร่วมงานถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่ง สวรรคตในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ เรือที่ทรงประทับกลับถึงพระนครในวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๙ และได้ทรงประทับอยู่ในพระนครต่อเพื่อร่วมงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๙๗๔ ๗๓ เป็นโรงพยาบาลซึ่งสมเด็จเจ้าฟ้า กรมขุนลพบุรีราเมศร์ ทรงชักชวนเรี่ยไรข้าราชการและประชาชนจัดสร้างขึ้น หลังจาก ทําพิธีเปิดตึกได้ทรงรับไว้ในอุปถัมภ์โดยทรงประทานเงินให้แก่โรงพยาบาลปีละ ๕ พันบาท นับจากปี พ.ศ.๒๔๕๙ จนกระทั่ง เสด็จทิวงคต ๗๔ ในระหว่างนี้เอง ที่ดร. แซร์ (Dr. Sayre) ชาวอเมริกัน ที่ปรึกษากระทรวงกลาโหมของสยาม ได้เล่าถวายเรื่องสถานเลี้ยง เด็กชอง โซเล่ย์ (Champ Soleil) เมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ที่มีการดูแลอนามัยเด็กเป็นอย่างดี จึงโปรดให้
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๖๑ -- แม้จะเป็นการประทับในสยามเพียงช่วงเวลาสั้นๆ แต่ได้มีพระราชดําริจะจัดซื้อที่ดินติดต่อทางด้าน เหนือของโรงพยาบาลศิริราช เพื่อจะได้ปลูกที่อยู่สําหรับนักเรียนแพทย์ (แต่เจ้าของที่ดินบริเวณนั้นไม่ยินยอม ขาย) ทั้งยังได้กราบบังคมทูลขอเงินค่าก่อสร้างตึกอายุรศาสตร์ (ตึกอัษฎางค์) จากพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว๗๕ ซึ่งทรงรับพระมรดกจากสมเด็จเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา พระชายา และพระโอรส เสด็จจากฝรั่งเศสไปประทับที่โลซานน์ ในวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๙ ก่อนที่พระองค์จะเสด็จ ตามมาในเดือนกรกฎาคม ๗๕ พลตรีพระศักดาพลรักษ์เล่าว่า “... ทรงสร้างตึกอัษฎางค์ แต่ยังไม่ทรงติดป้ายพระนามที่ตัวตึก เพราะว่าทรงไปทูลขอเงิน สร้างตึกไว้ และทูลกระหม่อมอัษฎางค์รับสั่งว่าจะให้ แต่พระองค์สิ้นพระชนม์ในเวลาก่อสร้างยังไม่เสร็จเรียบร้อย ... ทรง รับสั่งปรารภว่าจะเอาเงินค่าก่อสร้างที่ทูลกระหม่อมอัษฎางค์รับสั่งให้ไว้ด้วยวาจาได้อย่างไร เพราะไม่หลักฐานลายพระหัตถ์ สั่งไว้ ข้าพเจ้า (พลตรีพระศักดาพลรักษ์) ทูลออกความเห็นไปว่า เพราะว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ ทรงรับ พระมรดก ก็ควรทูลเล่าเรื่องให้พระองค์ทราบ รับสั่งว่าดีเหมือนกัน ต่อมาเมื่อทรงเสด็จไปเสวยพระกระยาหารคํ่ากับพระ เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๗ ก็ได้ทรงตรัสเล่าถึงผลว่า “สําเร็จได้ค่าก่อสร้างตึกอัษฎางค์แน่ ฉันจะได้เอาเงินจํานวนนี้ไปสร้างตึกหลังอื่นๆ เตรียมไว้อีก และบอกขายให้เจ้านายฝ่ายในที่มีเงินมากๆ ต่อไป”