SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๗ --
ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
โรงพยาบาล “วชิรพยาบาล” ก่อกําเนิดในวันที่ ๒ มกราคม ๒๔๕๕ โดยมีจุดเริ่มจากการที่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดซื้อที่ดินพร้อมตึก
และสิ่งก่อสร้างจากเอกชนผู้หนึ่งเพื่อจัดทําเป็นโรงพยาบาล แล้วทรงมอบให้กรมสุขาภิบาล กระทรวงนคร
บาลเป็นผู้ปกปักษ์รักษา๑๐๑
นับเป็นโรงพยาบาลที่ทันสมัยมากในยุคสมัยนั้น โดยเฉพาะทางด้านสูติกรรม
ทั้งนี้เป็นผลมาจากพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จฯ พระบรมราชชนกที่ได้ทรงวางโครงการพัฒนาวชริ
พยาบาลไว้อย่างมั่นคง ด้วยพระเนตรที่กว้างไกล
เริ่มจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง
คณะกรรมการปกครองวชิรพยาบาลขึ้นใน ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยมีสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจีพระบรม
ราชินีเป็นสภานายิกา และมีสมเด็จฯ พระบรมราชชนกเป็นหนึ่งในคณะกรรมการดังกล่าว โดยในช่วงแรก
นั้น วชิรพยาบาลมุ่งแก้ปัญหาภาวะการเสียชีวิตของทารกแรกคลอด ได้เปิดการอบรมหมอตําแย๑๐๒
ภายใน
เวลา ๓ สัปดาห์ งวดละ ๒๐ คน ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ก่อนส่งผู้อบรมกลับภูมิลําเนาเดิมเพื่อ
ลดอัตราการตายจากการคลอดบุตรให้น้อยลง
ครั้นถึงปี พ.ศ. ๒๔๗๒ สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ได้ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลให้เป็น
ศูนย์กลางการศึกษาของกรมสาธารณสุข นอกเหนือไปจากการเป็นโรงเรียนอบรมหมอตําแย ทรงกําหนดให้มี
การจัดโรงเรียนพยาบาลที่เข้ามาตรฐาน เป็นสถานที่ศึกษาเพิ่มเติมของผู้สําเร็จวิชาแพทย์เพื่อเตรียมตัวไป
ปฏิบัติงานสาธารณสุข โดยเอกสารโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลที่ทรงวางรูปแบบไว้นั้น ประกอบไปด้วย
โครงการย่อย ๔ โครงการด้วยกัน ได้แก่
๑) โครงการว่าด้วยกิจการของโรงพยาบาล
๒) โครงการว่าด้วยเรื่องการเงิน
๓) โครงการว่าด้วยเจ้าหน้าที่
๔) โครงการว่าด้วยการก่อสร้าง
มีรายละเอียดโดยย่อในแต่ละโครงการ ดังนี้
๑) โครงการวาดวยกิจการของโรงพยาบาล๑๐๓
ก) กิจการโรงพยาบาลโดยเฉพาะ มีผูปวยในสถานที่สวนใหญเปนผปวยสูติกรรม จําพวกคลอด
ผิดปรกติ และผูปวยรายปรกติที่อาจจะชวยชําระเงินคารักษาพยาบาลไดบาง มีตึกสําหรับผูปวยเด็กซึ่งมีงาน
๑๐๑
ก่อนจะโอนย้ายมาอยู่ในความดูแลของกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๖
๑๐๒
คําว่า ”หมอตําแย” นี้ เชื่อว่าเป็นการเรียกตามชื่อเชื้อพระวงค์ผู้หนึ่งซึ่งทรงเป็นครูผู้สอนวิชานี้ เพื่อเป็นการแสดง
กตเวทิตาต่อครูผู้เป็นเจ้าของตํารา
๑๐๓
อ้างอิงจาก “โครงการพัฒนาวชิรพยาบาล” ๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้าที่
๑๓๗ – ๑๓๙ อัมรินทร์พรินติ้งกรุ๊พ จํากัด ๒๕๓๔
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๘ --
ประสานกับแผนกสูติกรรม ผูปวยเหลานี้จะไดใชเปนประโยชนในการศึกาของนักเรียนดวย นอกจากนั้น มีตึก
ผูปวยศัลยกรรม โอสถกรรม และนรีเวชกรรม สําหรับผูปวยทั่วไปดวย กับยังมีตึกพิเศษสําหรับผูปวยที่อาจ
ชําระเงินใหแกโรงพยาบาลได
ข) การศึกษา วชิรพยาบาลควรใหเปนศูนยการศึกษาของกรมสาธารณสุข โดยมีโรงเรียนอบรม
หมอตําแย โรงเรียนพยาบาลที่เขาขั้นมาตรฐานซึ่งจะรวมการผดุงครรภ การพยาบาลสาธารณสุข กับงาน
สังคมสงเคราะหไวดวย ผูสําเร็จการศึกษาแลวจะไดรับประกาศณียบัตรในสาขาตางๆ คือ การพยาบาลทั่วไป
การผดุงครรภ การพยาบาลสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห และหมอตําแย พวกสําเร็จอบรมหมอตําแยจะ
ไดสงไปสวนภูมิภาคประจําตามตําบลตางๆ การศึกษาเพิ่มเติมของผูสําเร็จวิชาแพทยหากจะฝกฝนเฉพาะใน
สาขาสูตินรีเวชและการเลี้ยงเด็กออนรวมทั้งแพทยที่เตรียมตัวจะไปปฏิบัติงานาธารณสุขเหลานี้ จะไดใชวชิรพ
ยาบาลเปนสถานศึกษาอบรม
ค) การสาธารณสุข นอกจากจะมีการตรวจรักษาใหแกผูปวยนอกแลว วชิรพยาบาลควรเปน
สถานีกลางของการอนามัยในยานสามเสน โดยการกําหนดการตรวจผูปวยประเภทตางๆ ไวตามวันที่กําหนด
ในรอบสัปดาห มีทั้งผูปวยทั่วไป การฝากครรภ การตรวจสุขภาพเด็กดี การตรวจนักเรียนตามโรงเรียนตางๆ
รวมกับกองอนามัยโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการเฉพาะในเขตสามเสน กับการตรวจและรักษากามโรคดวย
สวนการรักษาผูปวยปจจุบันทันดวน หรือฉุกเฉินใหเปดทําการทุกวันและตลอดเวลา
นอกจากนั้น ในโครงการยังไดกําหนดงานของเจาหนาที่ฝายสาธารณสุขใหปฏิบัติงานกวางขวาง
อกไปถึงการชวยเหลือผูมีครรภตามหมูบาน การติดตามผูปวยที่ยากจน และติดตามการเลี้ยงดูเด็กออนตาม
หมูบานในเขตสามเสน โดยมิใหงานนี้ซ้ํากับสภากาชาด
สวนการสังคมสงเคราะห ก็ใหรวมมือประสานกับการรักษาผูปวยทั้งในสถานที่และนอกสถานที่ดวย
เปนอยางดี
ง) การวิจัย เปนงานที่จัดขึ้นไดยาก ตามโครงการใหเริ่มตนดวยการเขียนรายงานผูปวยให
สมบูรณเปนความสําคัญเบื้องตน และขั้นตอไปเจะเปนงานสถิติแลวจึงจะถึงการวิจัย งานวิจัยนี้จะสําเร็จไดก็
ดวยโอกาสตัวผูวิจัย และเงินทุน การวิจัยควรมุงไปในเรื่องที่เกี่ยวกับการตายของเด็กออน โรคไขภายหลัง
การคลอด โรคพิษแหงครรภ การใหนม เด็กออน การใหอาหารในเด็กเล็ก การแพรเชื้อกามโรค กับโรค
บิดในผูปวยตั้งครรภและแทง
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๙ --
๒) โครงการวาดวยเรื่องการเงิน การเงินของโรงพยาบาลมีความสําคัญมากรวมกับสมรรถภาพของเจาหนาที่
ในการที่จะใหโรงพยาบาลเจริญกาวหนา แตขณะนี้การแพทยแผนปจจุบันยังไมอยูในความนิยมของประชาชน
ฉะนั้นโรงพยาบาลควรไดรับเงินอุดหนุนทางเลือกอื่นอีก เชน
ก)เงินอุดหนุนจากรัฐ ไดแกเงินการจรเพื่อกอสราง และจัดซื้อเครื่องมือแพทยเปนครั้งคราว เงินคาใช
สอยเพื่อจายเปนเงินเดือน คาบํารุงรักษาสถานที่ คาใชจายในการกินอยูและรักษาตัวใหแกผูปวย และการ
ใชจายในรายวัน
ข)เงินรายไดประจําวันของโรงพยาบาล อาจไดจากคายาที่รัฐบาลจายขาดเพื่อจายยาฟรีใหแกผูปวย
แตผูปวยบางคนพอมีเงินชําระใหโรงพยาบาลไดบาง ดังเชนโรงพยาบาลศิริราช เงินจากผูปวยมีฐานะดียอม
ใหโรงพยาบาลคิดอัตราพิเศษตามระเบียบของโรงพยาบาล เงินที่มีผูบริจาคเพื่อเก็บดอกผลใหโรงพยาบาล
โดยเฉพาะผลประโยชนทางอื่นที่โรงพยาบาลสามารถหมุนหาไดเอง
ค)เงินรายไดพิเศษ เมื่อกิจการของโรงพยาบาลเจริญขึ้นและเปนที่เชื่อถือจนเกิดศรัทธา มีผูปวยพิเศษ
หรือองคการตางๆ ใหตึก ใหเครื่องใชในการแพทยหรือใหเงินทุนกอนใหญ อาจไดจากการเรี่ยไรชักนําห
ประชาชนมาบริจาคและรวบรวมมาเปนคาใชจาย อาจชักชวนหาทุนวิจัย ทุนการศึกษาทั้งภายในภายนอก
ประเทศ นับเปนเงินรายไดพิเศษทั้งสิ้น
ง) เงินเพิ่มพูนรายไดของโรงพยาบาล ควรมีคณะกรรมการวางวิธีการและควบคุมการปฏิบัติใหโร
พยาบาลมีรายไดเพิ่มพูนขึ้น ไดแกการโฆษณาหาเงินบํารุงเปนพิเศษ เงินลงทุนของโรงพยาบาลเพื่อเก็บดอก
ผล ที่ดินของโรงพยาบาลตอนริมถนนหากปลูกอาคารใหเชา จัดบริการรักษาตัวโดยไมคิดมูลคาใหแกผูสละ
เงินการกุศลใหแกโรงพยาบาลเปนจํานวนมากๆ ดังเชนโรงพยาบาลสภากาชาดจัดทําอยู
๓) โครงการวาดวยเจาหนาที่ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองรวมมือชวยเหลือกัน รูจักผอนหนักผอนเบา มีการ
เพิ่มปริมาณเจาหนาที่ปละเล็กละนอยโดยการตอรองกับกระทรวงพระคลัง ทั้งนี้ มีตําแหนงสําคัญๆ ซึ่งทรง
กําหนดคาเงินเดือนไวอยางชัดเจนดังนี้
ตําแหนง ผูดํารงตําแหนง ประมาณเงินเดือน
ผูอํานวยการโรงพยาบาล พระยาเวชสิทธิ์ ๖๐๐ – ๘๐๐ บาท
เลขานุการ (ขอตัวจากกรมฯ) ๒๐๐ – ๓๐๐ บาท
ศัลยแพทยผูเชี่ยวชาญ (เปนครั้งคราว) หลวงนิตย (เพิ่มจาก ง.ด.) ๑๐๐ บาท
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๐๐ --
อายุรแพทยผูเชี่ยวชาญ (เปนครั้งคราว) พระวรสุนทรฯ (เพิ่มจาก ง.ด.) ๑๐๐ บาท
สูติแพทยผูเชี่ยวชาญ (เปนครั้งคราว) มาดามศรีวิศาลฯ ๑๕๐ บาท
ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ
ทรงขอใหมีการยืมตัวที่ปรึกษาทางอายุรกรรมมาจากรมสาธารณสุข และกําหนดใหหัวหนาพยาบาล
ตองปกครองโรงเรียนผดุงครรภดวยเพื่อเนนใหเห็นความสําคัญ ทั้งยังทรงกําหนดใหเพิ่มจํานวนพยาบาลหญิง
ใหมากขึ้น พรอมไปกับการลดจํานวนพยาบาลชายใหเหลือแตในหนวยกามโรคเทานั้น ที่สําคัญ ทรง
วางแผนสรางความกาวหนาใหกับบุคลากรเหลานั้นดวยการเสนอวาการใหทุนไปศึกษาตอตางประเทศนั้นเปน
สิ่งจําเปน
๔) โครงการวาดวยตึก ไดวางโครงการเกี่ยวกับอาคารสิ่งปลูกสรางไว ๔ ประเภทคือ
ก) ตึกโรงพยาบาลเฉพาะ ไดแก ตึกศัลยกรรม ซึ่งมีหองตรวจเชื้อและงานพยาธิวิทยาภายใน
และตึกสูติกรรม ซึ่งมีหองคลอดปรกติ หองตรวจเชื้อ หองใหการบําบัด หองสอนนักเรียนภาคปฏิบัติ ครัว โรง
ซักฟอก คลัง พัสดุ หองกันหนูแมลงได ฯลฯ
ข) ตึกผูปวยนอก ตองรมหองปฐมพยาบาลและมีที่พักผูปวยประสบอุปทวเหตุ มีโรงเก็บรถพยาบาล
ดวย
ค) ตึกของโรงเรียน มีตึกนอน ตึกที่ทําการของครูซึ่งมีหองบรรยาย หองสมุด หองพิพิธภัณฑ
หองทํางานเจาหนาที่โรงเรียน หองอาหาร และตองมีสวนหนึ่งสําหรับอบรมนางผดุงครรภ
ง) ตึกจําพวกลงทุนหารายไดใหกับโรงพยาบาล ไดแกที่พักญาติมิตรของผูปวยที่มาจาก
ตางจังหวัด โดยโรงพยาบาลเก็บคาเชาเปนเงินบํารุง ที่ดินติดถนนควรสรางหองแถวไมใหเชาเก็บเงินเขาบํารุง
โรงพยาบาล
ทรงแนะนําใหถมที่ดินซึ่งมีลักษณะเปนหลุมบอภายในโรงพยาบาลเพื่อมิใหเปนแหลงเพาะพันธุยุง
แลวจัดทําเปนถนนเพื่อใหสะดวกแกการสัญจร อยางไรก็ตาม ทรงแนะนําไมใหสรางทางเดินเชื่อมระหวางตึก
ใหมากนักเพราะจะเปลืองงบประมาณ คาสรางและคาดุแลรักษา ทั้งยังทรงแนะนําใหสรางอาคารในรูป
สี่เหลี่ยมผืนผาเพื่อใหไดเนื้อที่ใชสอยเต็มประโยชน ไมควรมีเหลี่ยมมุมมาก ผูปวยพิเศษควรพักในตึกแยกเปน
หลังๆ เรียงกันใหสวยงามและสอดคลองกับเนื้อที่ดิน
โดยทรงแนะนําวาตึกอํานวยการ ที่พักแพทย หองสมุด หองเก็บรายงาน หองเรียน คลังพัสดุ หอง
ปรุงยา และที่ทําการฝายธุรการ ควรใชอาคารหลังใหญ และใชตึกขนาดเล็กเปนที่พักพยาบาล และดานหนา
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๐๑ --
ตึกอํานวยการควรใชเพื่อการดานผูปวยนอก สวนดานหลังนั้นควรสรางอาคารชั้นเดียวเรียงกัน ๕ หลัง เพื่อ
ใชเปนตึกผูปวยศัลยกรรม ตึกสูตินรีเวช เด็ก โอสถกรรม และตึกพักพยาบาล
ทรงลงในรายละเอียดแบบแปลนของสิ่งปลูกสรางวา หองผาตัดควรสรางที่พักผูปวยชาย ใหสราง
โรงรถติดกับศาลาผูปวยนอกทางดานเหนือของโรงพยาบาล และจัดสรางอาคารเกี่ยวกับสวนสนับสนุนการ
ดําเนินงานภายในโรงพยาบาล อยางเชน โรงครัว ซักลาง โรงงาน โรงไฟฟาสําหรับผลิตกระแสไฟฟาไว
ใขภายในโรงพยาบาล ฯลฯ๑๐๔
ใหเปนเอกเทศดวยการสรางอีกฟากหนึ่งของคลองดานใตสวนที่ติดกับ
ถนนสังคโลก สวนดานติดถนนทางทิศเหนือและใตนั้นทรงแนะนําใหปลูกหองแถวใหญาติผูปวย และผูที่
เดินทางมาจากตางจังหวัดเชา เพื่อเปนรายไดสนับสนุนกิจการของโรงพยาบาล ทั้งยังทรงคาดการณลวงหนา
ไปถึงผืนดินสวนที่ยังคงวางอยูในทิศตะวันตกวาจะตองวางเวนไวเพื่อการขยายขนาดโรงพยาบาลในอนาคต
๑๐๔
สําหรับผุ้ที่สนใจ หากจะได้ลองเดินสํารวจอาณาบริเวณของโรงพยาบาลวชิรพยาบาลในปัจจุบัน ก็จะพบว่านอกจาก
อาคารปลูกสร้างใหม่ๆ แล้ว ผังที่สมเด็จฯ พระบรมราชชนกทรงวางไว้ก้ยังคงมีเค้าให้สังเกตุได้

More Related Content

Viewers also liked

13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
สุรพล ศรีบุญทรง
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
สุรพล ศรีบุญทรง
 
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
สุรพล ศรีบุญทรง
 
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
สุรพล ศรีบุญทรง
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
สุรพล ศรีบุญทรง
 
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
สุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
สุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (11)

13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
 
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
 
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
 
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
 
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
สุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๗ -- ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล โรงพยาบาล “วชิรพยาบาล” ก่อกําเนิดในวันที่ ๒ มกราคม ๒๔๕๕ โดยมีจุดเริ่มจากการที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดซื้อที่ดินพร้อมตึก และสิ่งก่อสร้างจากเอกชนผู้หนึ่งเพื่อจัดทําเป็นโรงพยาบาล แล้วทรงมอบให้กรมสุขาภิบาล กระทรวงนคร บาลเป็นผู้ปกปักษ์รักษา๑๐๑ นับเป็นโรงพยาบาลที่ทันสมัยมากในยุคสมัยนั้น โดยเฉพาะทางด้านสูติกรรม ทั้งนี้เป็นผลมาจากพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จฯ พระบรมราชชนกที่ได้ทรงวางโครงการพัฒนาวชริ พยาบาลไว้อย่างมั่นคง ด้วยพระเนตรที่กว้างไกล เริ่มจากที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง คณะกรรมการปกครองวชิรพยาบาลขึ้นใน ปี พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยมีสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิ์ศจีพระบรม ราชินีเป็นสภานายิกา และมีสมเด็จฯ พระบรมราชชนกเป็นหนึ่งในคณะกรรมการดังกล่าว โดยในช่วงแรก นั้น วชิรพยาบาลมุ่งแก้ปัญหาภาวะการเสียชีวิตของทารกแรกคลอด ได้เปิดการอบรมหมอตําแย๑๐๒ ภายใน เวลา ๓ สัปดาห์ งวดละ ๒๐ คน ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ก่อนส่งผู้อบรมกลับภูมิลําเนาเดิมเพื่อ ลดอัตราการตายจากการคลอดบุตรให้น้อยลง ครั้นถึงปี พ.ศ. ๒๔๗๒ สมเด็จฯ พระบรมราชชนก ได้ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลให้เป็น ศูนย์กลางการศึกษาของกรมสาธารณสุข นอกเหนือไปจากการเป็นโรงเรียนอบรมหมอตําแย ทรงกําหนดให้มี การจัดโรงเรียนพยาบาลที่เข้ามาตรฐาน เป็นสถานที่ศึกษาเพิ่มเติมของผู้สําเร็จวิชาแพทย์เพื่อเตรียมตัวไป ปฏิบัติงานสาธารณสุข โดยเอกสารโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลที่ทรงวางรูปแบบไว้นั้น ประกอบไปด้วย โครงการย่อย ๔ โครงการด้วยกัน ได้แก่ ๑) โครงการว่าด้วยกิจการของโรงพยาบาล ๒) โครงการว่าด้วยเรื่องการเงิน ๓) โครงการว่าด้วยเจ้าหน้าที่ ๔) โครงการว่าด้วยการก่อสร้าง มีรายละเอียดโดยย่อในแต่ละโครงการ ดังนี้ ๑) โครงการวาดวยกิจการของโรงพยาบาล๑๐๓ ก) กิจการโรงพยาบาลโดยเฉพาะ มีผูปวยในสถานที่สวนใหญเปนผปวยสูติกรรม จําพวกคลอด ผิดปรกติ และผูปวยรายปรกติที่อาจจะชวยชําระเงินคารักษาพยาบาลไดบาง มีตึกสําหรับผูปวยเด็กซึ่งมีงาน ๑๐๑ ก่อนจะโอนย้ายมาอยู่ในความดูแลของกรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๙๖ ๑๐๒ คําว่า ”หมอตําแย” นี้ เชื่อว่าเป็นการเรียกตามชื่อเชื้อพระวงค์ผู้หนึ่งซึ่งทรงเป็นครูผู้สอนวิชานี้ เพื่อเป็นการแสดง กตเวทิตาต่อครูผู้เป็นเจ้าของตํารา ๑๐๓ อ้างอิงจาก “โครงการพัฒนาวชิรพยาบาล” ๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้าที่ ๑๓๗ – ๑๓๙ อัมรินทร์พรินติ้งกรุ๊พ จํากัด ๒๕๓๔
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๘ -- ประสานกับแผนกสูติกรรม ผูปวยเหลานี้จะไดใชเปนประโยชนในการศึกาของนักเรียนดวย นอกจากนั้น มีตึก ผูปวยศัลยกรรม โอสถกรรม และนรีเวชกรรม สําหรับผูปวยทั่วไปดวย กับยังมีตึกพิเศษสําหรับผูปวยที่อาจ ชําระเงินใหแกโรงพยาบาลได ข) การศึกษา วชิรพยาบาลควรใหเปนศูนยการศึกษาของกรมสาธารณสุข โดยมีโรงเรียนอบรม หมอตําแย โรงเรียนพยาบาลที่เขาขั้นมาตรฐานซึ่งจะรวมการผดุงครรภ การพยาบาลสาธารณสุข กับงาน สังคมสงเคราะหไวดวย ผูสําเร็จการศึกษาแลวจะไดรับประกาศณียบัตรในสาขาตางๆ คือ การพยาบาลทั่วไป การผดุงครรภ การพยาบาลสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห และหมอตําแย พวกสําเร็จอบรมหมอตําแยจะ ไดสงไปสวนภูมิภาคประจําตามตําบลตางๆ การศึกษาเพิ่มเติมของผูสําเร็จวิชาแพทยหากจะฝกฝนเฉพาะใน สาขาสูตินรีเวชและการเลี้ยงเด็กออนรวมทั้งแพทยที่เตรียมตัวจะไปปฏิบัติงานาธารณสุขเหลานี้ จะไดใชวชิรพ ยาบาลเปนสถานศึกษาอบรม ค) การสาธารณสุข นอกจากจะมีการตรวจรักษาใหแกผูปวยนอกแลว วชิรพยาบาลควรเปน สถานีกลางของการอนามัยในยานสามเสน โดยการกําหนดการตรวจผูปวยประเภทตางๆ ไวตามวันที่กําหนด ในรอบสัปดาห มีทั้งผูปวยทั่วไป การฝากครรภ การตรวจสุขภาพเด็กดี การตรวจนักเรียนตามโรงเรียนตางๆ รวมกับกองอนามัยโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการเฉพาะในเขตสามเสน กับการตรวจและรักษากามโรคดวย สวนการรักษาผูปวยปจจุบันทันดวน หรือฉุกเฉินใหเปดทําการทุกวันและตลอดเวลา นอกจากนั้น ในโครงการยังไดกําหนดงานของเจาหนาที่ฝายสาธารณสุขใหปฏิบัติงานกวางขวาง อกไปถึงการชวยเหลือผูมีครรภตามหมูบาน การติดตามผูปวยที่ยากจน และติดตามการเลี้ยงดูเด็กออนตาม หมูบานในเขตสามเสน โดยมิใหงานนี้ซ้ํากับสภากาชาด สวนการสังคมสงเคราะห ก็ใหรวมมือประสานกับการรักษาผูปวยทั้งในสถานที่และนอกสถานที่ดวย เปนอยางดี ง) การวิจัย เปนงานที่จัดขึ้นไดยาก ตามโครงการใหเริ่มตนดวยการเขียนรายงานผูปวยให สมบูรณเปนความสําคัญเบื้องตน และขั้นตอไปเจะเปนงานสถิติแลวจึงจะถึงการวิจัย งานวิจัยนี้จะสําเร็จไดก็ ดวยโอกาสตัวผูวิจัย และเงินทุน การวิจัยควรมุงไปในเรื่องที่เกี่ยวกับการตายของเด็กออน โรคไขภายหลัง การคลอด โรคพิษแหงครรภ การใหนม เด็กออน การใหอาหารในเด็กเล็ก การแพรเชื้อกามโรค กับโรค บิดในผูปวยตั้งครรภและแทง
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๙๙ -- ๒) โครงการวาดวยเรื่องการเงิน การเงินของโรงพยาบาลมีความสําคัญมากรวมกับสมรรถภาพของเจาหนาที่ ในการที่จะใหโรงพยาบาลเจริญกาวหนา แตขณะนี้การแพทยแผนปจจุบันยังไมอยูในความนิยมของประชาชน ฉะนั้นโรงพยาบาลควรไดรับเงินอุดหนุนทางเลือกอื่นอีก เชน ก)เงินอุดหนุนจากรัฐ ไดแกเงินการจรเพื่อกอสราง และจัดซื้อเครื่องมือแพทยเปนครั้งคราว เงินคาใช สอยเพื่อจายเปนเงินเดือน คาบํารุงรักษาสถานที่ คาใชจายในการกินอยูและรักษาตัวใหแกผูปวย และการ ใชจายในรายวัน ข)เงินรายไดประจําวันของโรงพยาบาล อาจไดจากคายาที่รัฐบาลจายขาดเพื่อจายยาฟรีใหแกผูปวย แตผูปวยบางคนพอมีเงินชําระใหโรงพยาบาลไดบาง ดังเชนโรงพยาบาลศิริราช เงินจากผูปวยมีฐานะดียอม ใหโรงพยาบาลคิดอัตราพิเศษตามระเบียบของโรงพยาบาล เงินที่มีผูบริจาคเพื่อเก็บดอกผลใหโรงพยาบาล โดยเฉพาะผลประโยชนทางอื่นที่โรงพยาบาลสามารถหมุนหาไดเอง ค)เงินรายไดพิเศษ เมื่อกิจการของโรงพยาบาลเจริญขึ้นและเปนที่เชื่อถือจนเกิดศรัทธา มีผูปวยพิเศษ หรือองคการตางๆ ใหตึก ใหเครื่องใชในการแพทยหรือใหเงินทุนกอนใหญ อาจไดจากการเรี่ยไรชักนําห ประชาชนมาบริจาคและรวบรวมมาเปนคาใชจาย อาจชักชวนหาทุนวิจัย ทุนการศึกษาทั้งภายในภายนอก ประเทศ นับเปนเงินรายไดพิเศษทั้งสิ้น ง) เงินเพิ่มพูนรายไดของโรงพยาบาล ควรมีคณะกรรมการวางวิธีการและควบคุมการปฏิบัติใหโร พยาบาลมีรายไดเพิ่มพูนขึ้น ไดแกการโฆษณาหาเงินบํารุงเปนพิเศษ เงินลงทุนของโรงพยาบาลเพื่อเก็บดอก ผล ที่ดินของโรงพยาบาลตอนริมถนนหากปลูกอาคารใหเชา จัดบริการรักษาตัวโดยไมคิดมูลคาใหแกผูสละ เงินการกุศลใหแกโรงพยาบาลเปนจํานวนมากๆ ดังเชนโรงพยาบาลสภากาชาดจัดทําอยู ๓) โครงการวาดวยเจาหนาที่ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานตองรวมมือชวยเหลือกัน รูจักผอนหนักผอนเบา มีการ เพิ่มปริมาณเจาหนาที่ปละเล็กละนอยโดยการตอรองกับกระทรวงพระคลัง ทั้งนี้ มีตําแหนงสําคัญๆ ซึ่งทรง กําหนดคาเงินเดือนไวอยางชัดเจนดังนี้ ตําแหนง ผูดํารงตําแหนง ประมาณเงินเดือน ผูอํานวยการโรงพยาบาล พระยาเวชสิทธิ์ ๖๐๐ – ๘๐๐ บาท เลขานุการ (ขอตัวจากกรมฯ) ๒๐๐ – ๓๐๐ บาท ศัลยแพทยผูเชี่ยวชาญ (เปนครั้งคราว) หลวงนิตย (เพิ่มจาก ง.ด.) ๑๐๐ บาท
  • 4. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๐๐ -- อายุรแพทยผูเชี่ยวชาญ (เปนครั้งคราว) พระวรสุนทรฯ (เพิ่มจาก ง.ด.) ๑๐๐ บาท สูติแพทยผูเชี่ยวชาญ (เปนครั้งคราว) มาดามศรีวิศาลฯ ๑๕๐ บาท ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ ทรงขอใหมีการยืมตัวที่ปรึกษาทางอายุรกรรมมาจากรมสาธารณสุข และกําหนดใหหัวหนาพยาบาล ตองปกครองโรงเรียนผดุงครรภดวยเพื่อเนนใหเห็นความสําคัญ ทั้งยังทรงกําหนดใหเพิ่มจํานวนพยาบาลหญิง ใหมากขึ้น พรอมไปกับการลดจํานวนพยาบาลชายใหเหลือแตในหนวยกามโรคเทานั้น ที่สําคัญ ทรง วางแผนสรางความกาวหนาใหกับบุคลากรเหลานั้นดวยการเสนอวาการใหทุนไปศึกษาตอตางประเทศนั้นเปน สิ่งจําเปน ๔) โครงการวาดวยตึก ไดวางโครงการเกี่ยวกับอาคารสิ่งปลูกสรางไว ๔ ประเภทคือ ก) ตึกโรงพยาบาลเฉพาะ ไดแก ตึกศัลยกรรม ซึ่งมีหองตรวจเชื้อและงานพยาธิวิทยาภายใน และตึกสูติกรรม ซึ่งมีหองคลอดปรกติ หองตรวจเชื้อ หองใหการบําบัด หองสอนนักเรียนภาคปฏิบัติ ครัว โรง ซักฟอก คลัง พัสดุ หองกันหนูแมลงได ฯลฯ ข) ตึกผูปวยนอก ตองรมหองปฐมพยาบาลและมีที่พักผูปวยประสบอุปทวเหตุ มีโรงเก็บรถพยาบาล ดวย ค) ตึกของโรงเรียน มีตึกนอน ตึกที่ทําการของครูซึ่งมีหองบรรยาย หองสมุด หองพิพิธภัณฑ หองทํางานเจาหนาที่โรงเรียน หองอาหาร และตองมีสวนหนึ่งสําหรับอบรมนางผดุงครรภ ง) ตึกจําพวกลงทุนหารายไดใหกับโรงพยาบาล ไดแกที่พักญาติมิตรของผูปวยที่มาจาก ตางจังหวัด โดยโรงพยาบาลเก็บคาเชาเปนเงินบํารุง ที่ดินติดถนนควรสรางหองแถวไมใหเชาเก็บเงินเขาบํารุง โรงพยาบาล ทรงแนะนําใหถมที่ดินซึ่งมีลักษณะเปนหลุมบอภายในโรงพยาบาลเพื่อมิใหเปนแหลงเพาะพันธุยุง แลวจัดทําเปนถนนเพื่อใหสะดวกแกการสัญจร อยางไรก็ตาม ทรงแนะนําไมใหสรางทางเดินเชื่อมระหวางตึก ใหมากนักเพราะจะเปลืองงบประมาณ คาสรางและคาดุแลรักษา ทั้งยังทรงแนะนําใหสรางอาคารในรูป สี่เหลี่ยมผืนผาเพื่อใหไดเนื้อที่ใชสอยเต็มประโยชน ไมควรมีเหลี่ยมมุมมาก ผูปวยพิเศษควรพักในตึกแยกเปน หลังๆ เรียงกันใหสวยงามและสอดคลองกับเนื้อที่ดิน โดยทรงแนะนําวาตึกอํานวยการ ที่พักแพทย หองสมุด หองเก็บรายงาน หองเรียน คลังพัสดุ หอง ปรุงยา และที่ทําการฝายธุรการ ควรใชอาคารหลังใหญ และใชตึกขนาดเล็กเปนที่พักพยาบาล และดานหนา
  • 5. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๑๐๑ -- ตึกอํานวยการควรใชเพื่อการดานผูปวยนอก สวนดานหลังนั้นควรสรางอาคารชั้นเดียวเรียงกัน ๕ หลัง เพื่อ ใชเปนตึกผูปวยศัลยกรรม ตึกสูตินรีเวช เด็ก โอสถกรรม และตึกพักพยาบาล ทรงลงในรายละเอียดแบบแปลนของสิ่งปลูกสรางวา หองผาตัดควรสรางที่พักผูปวยชาย ใหสราง โรงรถติดกับศาลาผูปวยนอกทางดานเหนือของโรงพยาบาล และจัดสรางอาคารเกี่ยวกับสวนสนับสนุนการ ดําเนินงานภายในโรงพยาบาล อยางเชน โรงครัว ซักลาง โรงงาน โรงไฟฟาสําหรับผลิตกระแสไฟฟาไว ใขภายในโรงพยาบาล ฯลฯ๑๐๔ ใหเปนเอกเทศดวยการสรางอีกฟากหนึ่งของคลองดานใตสวนที่ติดกับ ถนนสังคโลก สวนดานติดถนนทางทิศเหนือและใตนั้นทรงแนะนําใหปลูกหองแถวใหญาติผูปวย และผูที่ เดินทางมาจากตางจังหวัดเชา เพื่อเปนรายไดสนับสนุนกิจการของโรงพยาบาล ทั้งยังทรงคาดการณลวงหนา ไปถึงผืนดินสวนที่ยังคงวางอยูในทิศตะวันตกวาจะตองวางเวนไวเพื่อการขยายขนาดโรงพยาบาลในอนาคต ๑๐๔ สําหรับผุ้ที่สนใจ หากจะได้ลองเดินสํารวจอาณาบริเวณของโรงพยาบาลวชิรพยาบาลในปัจจุบัน ก็จะพบว่านอกจาก อาคารปลูกสร้างใหม่ๆ แล้ว ผังที่สมเด็จฯ พระบรมราชชนกทรงวางไว้ก้ยังคงมีเค้าให้สังเกตุได้