SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๔ --
ทรงวางรากฐานทางสาธารณสุขและพยาบาล
ในช่วงปีเศษๆ (๒๐ เดือน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๖๗ – ๒๔๖๘) ระหว่างที่ประทับอยู่ในสยาม สม
เด็จฯ พระบรมราชชนกยังได้ทรงช่วยเหลือเสด็จในกรมพระยาชัยนาทฯ จัดระเบียบวิธีอํานวยการโรงเรียน
แพทย์และโรงพยาบาลศิริราช ที่ประชุมที่มีพระองค์เป็นประธานได้ตกลงกันว่าให้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้น ๒
คณะ ชุดแรกประกอบด้วย อาจารย์หัวหน้า
แผนกวิชา และเจ้าหน้าที่แผนกพยาบาลเป็น
กรรมการ มีการประชุมเดือนละ ๒ ครั้ง มีหน้าที่
วางนโยบาย กรรมการชุดที่สองเป็น
กรรมการบริหาร ประกอบด้วยสมเด็จพระบรม
ราชชนก คณบดี และหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อ
ดําเนินการตามที่กรรมการชุดที่หนึ่งได้ตกลง
แนะนําไว้
นอกจากนี้ ยังทรงปฏิบัติพระราช
กรณียกิจทางสาธารณสุขอีกหลายอย่าง เช่น
ทรงมีบทบาทสําคัญในการกําหนดให้แพทย์
ปัจจุบันต้องมีการขึ้นทะเบียน ภายใต้ข้อกําหนด
ของพระราชบัญญัติ การแพทย์ พ.ศ. ๒๔๖๗
ทรงขอให้หม่อมเจ้าหญิงจันทรนิภา เทวกุล เข้า
มาช่วยดูแลกิจการของพยาบาล โดยขอให้รับ
ตําแหน่งเป็นอาจารย์ผู้ปกครองผดุงครรภ์และ
พยาบาล เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนการสอนพยาบาลและผดุงครรภ์อย่างถูกต้องเป็นระบบ
ต่อมายังทรงซื้อโรงเรียนวังหลังจากคณะมิชชั่นนารี (Presbyterian Mission) ซึ่งมีพื้นที่ใกล้เคียง
กับศิริราช ในราคา ๕๐.๐๐๐ บาท ให้ทางคณะแพทย์ได้เช่าในอัตราต่ํามากพอเป็นพิธี เพียงปีละ ๑ หรือ
๒ บาท ผูกพันเป็นเวลา ๓๐ ปี๖๘
เพื่อให้ใช้เป็นที่อยู่ของพยาบาล ในขณะที่พระองค์ได้บริจาคเงินให้กับ
โรงเรียนพยาบาลเป็นเงินมากถึง ๒๐,๐๐๐ บาท สําหรับการปลูกอาคารหลังใหม่เพื่อให้เป็นที่พักของอาจารย์
ผู้ปกครอง โดยประทานค่าซ่อมแซมให้อีกปีละ ๖,๒๐๐ บาท ตลอดจนได้พระราชทานเงินส่วนพระองค์
สําหรับเป็นค่าจ้างรายเดือนให้แก่อาจารย์ชาวต่างประเทศอีก ๒ คนด้วย
๖๘
พลตรีพระศักดาพลรักษ์ เคยเรียนถามถึงเหตุผลว่า “ทําไมทรงทําเช่นนั้น” ทรงตรัสตอบว่า “ถ้าไม่ทําเช่นนั้น ไปยกให้เขา
เสียเลย เราจะไม่มีอํานาจจัดการก่อสร้างได้ตามแผนของเรา” ทรงปรารภเป็นห่วงว่ารัฐบาลไทยจะผิดสัญญาเรื่องการสร้างตึก
เป็นแน่ ซึ่งต่อมาก็ต้องทรงพระราชทานเงินส่วนพระองค์มาเพื่อการสร้างตึกจริงๆ ซึ่งก็คือ “ตึกมหิดลฯ”
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๕ --
นอกจากนั้น ยังทรงสละเวลาเผยแผ่ความรู้ให้เป็นวิทยาทาน โดยโปรดให้คําบรรยายแก่คณะผู้รับ
การอบรมหลายชุดด้วยกัน ได้แก่
o การสอนวิชาปฏิบัติการสุขาภิบาลแก่แพทย์สาธารณสุขที่เข้ารับการอบรมของกรมสาธารณสุข
ครั้งที่ ๑ ในระหว่างวันที่ ๒๘ มิถุนายน ถึง ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๗ ณ สถานเสาวภา
o ทรงแสดงปาฐกถาเรื่อง “ธาตุปัจจัยในการสาธารณสุข” ในการอบรมสาธารณสุขมณฑลแก่ผู้
เข้ามาประชุมในกรุงเทพฯ ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๗๖๙
โดยทรงแบ่ง ประเภทของ
กิจการสาธารณสุขไว้โดยชัดเจน เป็น ๓ ชนิด คือ
๑. สุขวิทยา (Hygiene) คือ ความรู้ที่จะช่วยให้เรารู้จักบํารุงร่างกายให้เป็นปกติอยู่ให้มี
ความจําเริญแข็งแรงตามธรรมชาติ เช่น นอนเป็นเวลา กินเป็นเวลา เป็นต้น
๒. เวชกรรมกันโรค และการปราบโรค (Prevention Medicine) เวชกรรมศาสตร์นั้น เป็น
วิชาที่แก้ไขรักษาโรคที่เกิดขึ้นในตัวมนุษย์โดยทางรักษาเวชกรรมกันโรคนี้ มุ่งจะกันไม่ให้
เข้าสู่ร่างกายได้ เช่น ปลูกฝีกันไข้ทรพิษ เป็นต้น
๓. สุขาภิบาล (Sanitation) คือ บํารุงสถานที่และควบคุมหนทางออก ทางเข้าและสิ่งที่ออก
จากและเข้าไปในร่างกาย และสถานที่มนุษย์อยู่ อย่าให้เป็นบ่อเกิดและนํามาแห่งโรค
ทั้ง ๓ ประการ
นี้ รวมเรียกว่า
สาธารณสุข
ในการอบรมครั้งนี้
ทรงปรารภถึงตึกแถว
ถนนเจริญกรุงว่าสร้าง
เหลื่อมล้ํากันออกมา
ไม่ถูก
สุขลักษณะ แล้วทรง
พาผู้อบรมไปเห็น
สถานที่จริง ดูตลาดและส้วมตามวัดต่างๆ ที่พระองค์ได้ปรารภถึง เช่น วัดดวงแขและวัดบรม
นิวาส ทรงช่วยพระราชทานเงินสมทบสร้างส้วมให้แก่วัดและที่สาธารณะ จนบรรดาแพทย์ที่
๖๙
เทียบได้กับการประชุมเชิงปฏิบัติการที่นิยมทํากันอยู่ในปัจจุบัน โดยทรงให้คําบรรยายในวันพุธที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๖๗
ประกอบกับการพาไปดูสถานที่จริง บริเวณวัดต่างๆ เช่น วัดดวงแข และวัดบรมนิวาส และทรงประทานเลี้ยงอาหารแก่
ผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วย โดยในระหว่างการออกสํารวจสถานที่ในตลาดสดนั้น เล่ากันว่ามีชาวบ้านสาดนํ้าทิ้งจนเกือบถูก
พระองค์ ก็มิได้ตรัสตําหนิต่อว่าแต่ประการใด ก็ยิ่งทําให้แพทย์ที่เข้าร่วมอบรมต่างมีความซาบซึ้งในพระเมตตาเป็นอย่างยิ่ง
จนกระทั่งเมื่อทรงบรรยายอีกครั้งในวันศุกร์ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๔๖๗ ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของการอบรม แพทย์เหล่านั้นจึงได้
พร้อมใจกันจัดของที่ระลึกถวาย และเป็นที่มาของพระราชหัตถเลขาตอบผ่านกรมพระยาชัยนาทนเรนทร
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๖ --
มาร่วมประชุมพร้อมใจกันจัดของที่ระลึกถวายด้วยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ทรงได้มีลาย
พระราชหัตถ์ตอบผ่านกรมพระยาชัยนาทฯ ว่า
"….หมอมฉันรูสึกอยูเสมอวาการสาธารณสุขนั้น เปนของสําคัญยิ่ง เปนเครื่องบํารุงกําลัง
ของชาติไทย และเปนสาธารณประโยชนแกมนุษยชาติทั่วไปดวย เพราะฉะนั้นเมื่อมีโอกาสอัน
ใดที่หมอมฉันพอที่จะชวยออกกําลังกาย ปญญา หรือทรัพยอันเปนผลที่จะทะนุบํารุงใหการนั้น
เจริญขึ้นแลว หมอมฉันยินดีปฏิบัติไดเสมอ อนึ่ง หมอมฉันรูสึกวากิจการที่หมอมฉันได
ทํามานั้นเปนการเล็กนอยเทานั้น”
o แสดงปาฐกถาเรื่อง “คิดเป็นจํานวน” มีเนื้อความว่าหากจัดการสาธารณสุขให้ดีแล้ว จะ
สามารถลดจํานวนผู้ป่วยในหมู่ประชากรลงได้อย่างขัดเจน เพราะมีโรคจํานวนมากที่สามารถ
ป้องกันได้ อันจะส่งผลให้ประเทศชาติมีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจเพราะไม่ต้องเสียกําลัง
แรงงาน ไม่ต้องเสียค่ารักษาพยาบาลอันประมาณค่าไม่ได้
o ทรงพระราชทานน้ําดื่มน้ําใช้ให้แก่ชาวบ้าน เช่น ด้วยการสร้างคันกั้นน้ํา เพื่อให้ราษฎรได้มีน้ํา
ดื่มน้ําใช้ที่สะอาดไว้อุปโภคและบริโภคที่โรงพยาบาลศิริราช ทรงขอร้องให้กระทรวงมหาดไทย
วางท่อประปาข้ามแม่น้ําส่งมาโรงพยาบาล๗๐
o ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดํารงตําแหน่งกรรมการปกครองวชิรพยาบาล จึง
ได้ทรงวางโครงการดัดแปลง วชิรพยาบาลเป็นโรงพยาบาลคลอดบุตรขนาดใหญ่โดยเฉพาะ
ให้เป็นศูนย์อบรมศึกษาพยาบาลผดุงครรภ์ พยาบาลสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และหมอ
ตําแย เพื่อจะได้มีผู้ทํางานด้านสงเคราะห์มารดาและทารกเพิ่มขึ้น เนื่องจากในสมัยนั้นอัตรา
ตายของทารกต่ํากว่า ๑ ขวบมีสูงมาก อย่างไรก็ตาม กว่าโครงการดังกล่าวจะปรากฏเป็น
รูปลักษณ์อักษรนั้นอยู่ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ซึ่งเป็นช่วงปีสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพแล้ว
ในเดือนกรกฎาคมปีต่อมา (๒๔๖๘) ได้ทรงเสด็จไปภาคเหนือเพื่อเปิดโรงพยาบาลแมคคอมิค ของ
คณะผู้เผยแพร่ศาสนาลัทธิเพรสไบทีเรี่ยน จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้ทรงพระราชทานทุนอุดหนุนแพทย์อเมริกัน
คนหนึ่งที่ได้มาปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราวในขณะนั้น
พระราชดําริเรื่องการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์
ทรงมีพระราชดําริว่าในอนคตประเทศสยามควรมีสถานศึกษาแพทย์มากกว่าหนึ่งแห่ง รวมทั้งกิจการ
ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่ในระยะเริ่มแรกนั้นจะต้องมีโรงเรียนแพทย์ที่ดี คือมีตึกเรียน
๗๐
ทรงมีนํ้าพระทัยกรุณาผู้ป่วยที่เป็นคนยากจนมาก ทรงรับสั่งต่อพลตรีพระยาศักดาพลรักษ์ ว่า “ทางฝั่งพระนครมี
โรงพยาบาลสมัยใหม่ ที่มีทุนรอนมากอยู่แล้ว” (ทรงหมายถึงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์) ทรงรับสั่งถึงขนาดว่าจะขุดคลองใน
บริเวณที่ปัจจุบันคือถนนพรานนกเพื่อให้ประชาชนพายเรือออกมาหาหมอที่ศิริราชได้โดยสะดวก แต่ต่อมาทรงเปลี่ยน
พระทัยด้วยระบบการขนส่งผู้ป่วยเปลี่ยนไปใช้วิธีการเปลหามและรถเข็นมากขึ้น ... อีกเรื่องที่ทรงเป็นห่วงมากคือเรื่องนํ้า
สะอาด ทรงติดต่อขอร้องผู้ใหญ่ในกระทรวงมหาดไทยเป็นแรมปีเพื่อให้วางท่อประปาข้ามแม่นํ้ามายังฝั่งศิริราช
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๗ --
อุปกรณ์และห้องปฎิบัติการที่พร้อมจะให้นักเรียนเข้าใช้ในการศึกษาค้นคว้า มีครูแพทย์ที่เป็นตัวอย่างที่ดีแก่
นักเรียนได้ สามารถสอนได้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีหลักสูตรที่ดี มีมาตรฐาน ทรงปรับแก้ไขหลักสูตร
ขยายเวลาเรียนเป็น ๕ ปี แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาคละ ๒ ปีครึ่ง ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนสนใจการศึกษาแพทย์
และไว้ใจเลื่อมใสต่อการแพทย์สมัยใหม่ จนกระทั่งมีพระประสงค์ให้ปริญญาแพทย์ของสยามได้รับการ
รับรองวิทยฐานะจากบรรดานานาอารยะประเทศ
ในส่วนของการเรียนการสอนนั้น ทรงย้ําว่าจะต้องเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ เป็น
คนช่างสังเกต ช่างคิด มีเหตุผล เน้นการปฏิบัติ ลงมือทําในห้องปฏิบัติการ ในห้องตรวจ ทรงเน้นว่า การ
ฝึกฝนปฏิบัติ (practice) เป็นหัวใจของการเรียนแพทย์ ดังปรากฏในลายพระหัตถ์ถึง มจ. พูนศรีเกษม เกษม
ศรี ว่า
“อันที่จริงเราควรดําริการทําทดลอง (lab) ใหมาก เพราะขอนี้เปนปญหายากที่สุด ตองการทั้งเงิน
เวลาและความชํานาญ และความตั้งใจของเรา และพวกครูฉันยังหนักใจมาก เพราะการบรรยาย (เล็กเชอร)
เทานั้นนักเรียนลืมเร็วเต็มที การที่จะจัดวิชาปฏิบัติการ (lab course) ใหสําเร็จจะตองนึกถึง
๑. สถานที่และเครื่องมือตองใหมีพอใชกัน เรื่องเครื่องมือนี้ ถาใครมีความเฉลียวฉลาด
(ingenuity) ดี อาจจางคนจีน (เจก) ทําในกรุงเทพฯ ไดหลายอยาง เอาอยางโนนมา
ใชรวมกับอยางนี้ ไมตองสั่งนอกทุกอยางไป แตก็ควรใหมีทั่วถึงกัน๗๑
๒. คนสอน ครูผูชวยเรายังหายากเต็มที่ ถาไดนักเรียนชั้นใหญผูเคยเรียนมาแลวมาเปนครูผูชวยจะดี
มาก และจะใหความชํานาญแกนักเรียนผูสอนดวย
๓. เวลาที่กะมานั้นเปรียบกับโปรแกรมที่จะใหเรียนในงานภาคปฏิบัติ (Practical work) เห็น
วามีเวลาอยูขางจะนอยไป เพราะจะตองคิดเสียวาควรจะเดินชาในเมืองไทยมากกวาเมืองนอก
และควรใหเวลาสําหรับการทดลองซ้ํา (repeat experiments) ที่ทําไมสําเร็จครั้งแรกหรือ
ขาดเรียน (Absent) เสีย แตจะหาเวลามาจากไหนฉันก็ยังนึกไมออก เพราะหองปฏิบัติการ
(Lab) ของเรามีนอย และแยงกันใชมาก และจะเปดใหนักเรียนเขามาทําเอาเองเวลาวางก็
ไมได ไมเหมือนเมืองนอก เพราะนักเรียนของเรายังตองการความควบคุมอยูมาก
๗๑
ทรงระบุให้ใช้เครื่องมือเป็นเพียงส่วนประกอบของการเรียนรู้ ทรงไม่สนับสนุนให้สั่งซื้อเครื่องไม้เครื่องมือที่มีราคาแพง
จากต่างประเทศ แต่เน้นที่การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือต่างๆ มาไว้ใช้เอง สอดคล้องกับแนวเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency
Economy)
--  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๘ --
๔. วัสดุอุปกรณ (Material) การหา สิ่งสงตรวจที่เปนของสดหรือสิ่งมีชีวิต (fresh and
perhaps living material) มาสอนนั้นเปนของยาก และบางทีจะตองเปลี่ยนโปรแกรม
การสอนตามแตจะหาวัสดุอุปกรณ (material) ได เรื่องนี้ฉันขอใหเธอสนใจใหมาก
๕. เรื่องของเจาหนาที่เทคนิค และหองจัดเตรียมอุปกรณ (Preparation room and
Technician) บางการทดลอง
(experiment) นั้น การตั้งเครื่องมือกิน
เวลานานกวาการทํา ถานักเรียนไดเรียนตั้ง
เครื่องมือพอชํานาญแลว ก็ควรจัดใหมีเจาหนาที่เทคนิค (Technician) หรือใครมาทํางานนี้
แทน นักเรียนจะไดตั้งตนทํางานไดทีเดียว หนาที่นี้สําคัญมาก เพราะเรามีหองนอยจะตองรื้อ
เครื่องมือทุกทีไป เพื่อไมกีดขวางแกวิชา (Course) อื่น
๖. การประสาน (Coordination) เราควรพยายามกะใหงานภาคปฏิบัติ (Lab work)
ตรงกับวิชาบรรยาย (Lecture Courses) แตนี่เปนของยากมาก เธอก็ทราบดี และ วิชา
(Courses) เชน พฤกษศาสตร (Botany), ชีววิทยา (Biology), สัตววิทยา
(Zoology) นั้น ควรสอนใหติดตอกันจะไดสะดวกแกทั้งครูแลนักเรียน ฉันขอใหเธอตริตรองขอ
ที่ฉันกลาวถึง วิธีวิเคราะหแบบอุปนัย (Inductive) และ วิธีวิเคราะหแบบอนุมาน
(Deductive methods) เพราะนักเรียนเราตองการสอนใหสังเกตุการณ (observe) และ
การใชเหตุผล (reason) ของตัวเองมาก เพราะโรงเรียนมัธยมของเราสอนแตใหเรียนขึ้นใจเปน
พื้น เราตองการใหนักเรียนเรียนคิด
๗. เรื่องทฤษฎี (Theories) เพราะเรามีโอกาสสอนดวยการบรรยาย (Lecture) มากกวา
การปฏิบัติ (Lab) ครูตางๆ จึงใครสอนทฤษฎี (Theories)
มากไป ไมใชทฤษฎี (Theories) ไมดี แตออกจะสูงเกินไป
สําหรับนักเรียน และจะมีวิเคราะหเชิงปญญา (Intelligent
discussions) ก็ยังไมใครจะได ดวยนักเรียนของเราไมมีวุฒิ
ภาวะ (mature) พอ เพราะฉะนั้นก็เปนการเรียนเปนนกแกว
เทานั้นแลวก็ลืม ถาถือการปฏิบัติ (lab) เปนหลักจะดีกวา
สําหรับเราในสมัยนี้
“I do not want you to be only a Doctor.
but l also want you to be a Man”

More Related Content

What's hot

แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)ประพันธ์ เวารัมย์
 
9 potência elétrica em cc e ca
9 potência elétrica em cc e ca9 potência elétrica em cc e ca
9 potência elétrica em cc e caPedro Barros Neto
 
Ensaio de cisalhamento direto
Ensaio de cisalhamento diretoEnsaio de cisalhamento direto
Ensaio de cisalhamento diretoEzequiel Borges
 
CSP Training series : solar resource assessment 1/2
CSP Training series : solar resource assessment 1/2CSP Training series : solar resource assessment 1/2
CSP Training series : solar resource assessment 1/2Leonardo ENERGY
 
Tensão de fase
Tensão de faseTensão de fase
Tensão de faseMA RI
 
Elementos de eletrotecnica
Elementos de eletrotecnicaElementos de eletrotecnica
Elementos de eletrotecnicaPaulo Chaves
 
The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...
The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...
The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...Power System Operation
 
Tabela de centróide e mom. de inércia
Tabela de centróide e mom. de inérciaTabela de centróide e mom. de inércia
Tabela de centróide e mom. de inérciaNazildo Souza
 
Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019
Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019
Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019Gensol Engineering Limited
 
GO Ms.No.243 land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...
GO Ms.No.243  land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...GO Ms.No.243  land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...
GO Ms.No.243 land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...bansi default
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)waoram
 

What's hot (14)

แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
9 potência elétrica em cc e ca
9 potência elétrica em cc e ca9 potência elétrica em cc e ca
9 potência elétrica em cc e ca
 
Ensaio de cisalhamento direto
Ensaio de cisalhamento diretoEnsaio de cisalhamento direto
Ensaio de cisalhamento direto
 
Liquefação
LiquefaçãoLiquefação
Liquefação
 
CSP Training series : solar resource assessment 1/2
CSP Training series : solar resource assessment 1/2CSP Training series : solar resource assessment 1/2
CSP Training series : solar resource assessment 1/2
 
Tensão de fase
Tensão de faseTensão de fase
Tensão de fase
 
Elementos de eletrotecnica
Elementos de eletrotecnicaElementos de eletrotecnica
Elementos de eletrotecnica
 
The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...
The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...
The Operation of the GCCIA HVDC Project and Its Potential Impacts on the Elec...
 
Tm229 propriedades mecanicas
Tm229   propriedades mecanicasTm229   propriedades mecanicas
Tm229 propriedades mecanicas
 
Tabela de centróide e mom. de inércia
Tabela de centróide e mom. de inérciaTabela de centróide e mom. de inércia
Tabela de centróide e mom. de inércia
 
Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019
Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019
Phases of Construction & Erection for Wind Power Project_03 09 2019
 
Tensoes
TensoesTensoes
Tensoes
 
GO Ms.No.243 land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...
GO Ms.No.243  land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...GO Ms.No.243  land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...
GO Ms.No.243 land acquisition payment- Payment of Ex-gratia to various categ...
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน และตำแหน่งอื่นๆ (เล่มที่ 6)
 

Viewers also liked

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...สุรพล ศรีบุญทรง
 
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่งสุรพล ศรีบุญทรง
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรมสุรพล ศรีบุญทรง
 
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนาสุรพล ศรีบุญทรง
 
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรสสุรพล ศรีบุญทรง
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสานสุรพล ศรีบุญทรง
 
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมันสุรพล ศรีบุญทรง
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvardสุรพล ศรีบุญทรง
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์สุรพล ศรีบุญทรง
 
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯสุรพล ศรีบุญทรง
 
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาลสุรพล ศรีบุญทรง
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์สุรพล ศรีบุญทรง
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดลสุรพล ศรีบุญทรง
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือสุรพล ศรีบุญทรง
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติสุรพล ศรีบุญทรง
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สุรพล ศรีบุญทรง
 

Viewers also liked (19)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
12 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย
 
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
16 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ...
 
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
17 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง
 
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
19 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเปี่ยมด้วยอุเบกขาธรรม
 
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
21 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย หมอเจ้าฟ้าแห่งล้านนา
 
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
09 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงอภิเษกสมรส
 
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
22 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงประชวรในครั้งอวสาน
 
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
18 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระราชดำริเรื่องมหาวิทยาลัย
 
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
03 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาการทหารในอังกฤษและเยอรมัน
 
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
06 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงศึกษาที่ harvard
 
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
05 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงรับศิริราชไว้ในอุปถัมป์
 
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
11 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งสมเด็จพระพี่นางฯ
 
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
20 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางโครงการพัฒนาวชิรพยาบาล
 
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
10 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงเจรจาร๊อคกี้เฟลเลอร์
 
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
14 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย พระประสูติกาลแห่งในหลวงอานันทมหืดล
 
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย  เจ้าฟ้าทหารเรือ
04 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย เจ้าฟ้าทหารเรือ
 
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
01 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย อุภโตสุชาติ
 
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก  บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
บทนำพระราชประวัติ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

13 พระบิดาแห่งการอุดมศึกษาไทย ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุข

  • 1. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๔ -- ทรงวางรากฐานทางสาธารณสุขและพยาบาล ในช่วงปีเศษๆ (๒๐ เดือน ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๖๗ – ๒๔๖๘) ระหว่างที่ประทับอยู่ในสยาม สม เด็จฯ พระบรมราชชนกยังได้ทรงช่วยเหลือเสด็จในกรมพระยาชัยนาทฯ จัดระเบียบวิธีอํานวยการโรงเรียน แพทย์และโรงพยาบาลศิริราช ที่ประชุมที่มีพระองค์เป็นประธานได้ตกลงกันว่าให้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้น ๒ คณะ ชุดแรกประกอบด้วย อาจารย์หัวหน้า แผนกวิชา และเจ้าหน้าที่แผนกพยาบาลเป็น กรรมการ มีการประชุมเดือนละ ๒ ครั้ง มีหน้าที่ วางนโยบาย กรรมการชุดที่สองเป็น กรรมการบริหาร ประกอบด้วยสมเด็จพระบรม ราชชนก คณบดี และหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อ ดําเนินการตามที่กรรมการชุดที่หนึ่งได้ตกลง แนะนําไว้ นอกจากนี้ ยังทรงปฏิบัติพระราช กรณียกิจทางสาธารณสุขอีกหลายอย่าง เช่น ทรงมีบทบาทสําคัญในการกําหนดให้แพทย์ ปัจจุบันต้องมีการขึ้นทะเบียน ภายใต้ข้อกําหนด ของพระราชบัญญัติ การแพทย์ พ.ศ. ๒๔๖๗ ทรงขอให้หม่อมเจ้าหญิงจันทรนิภา เทวกุล เข้า มาช่วยดูแลกิจการของพยาบาล โดยขอให้รับ ตําแหน่งเป็นอาจารย์ผู้ปกครองผดุงครรภ์และ พยาบาล เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนการสอนพยาบาลและผดุงครรภ์อย่างถูกต้องเป็นระบบ ต่อมายังทรงซื้อโรงเรียนวังหลังจากคณะมิชชั่นนารี (Presbyterian Mission) ซึ่งมีพื้นที่ใกล้เคียง กับศิริราช ในราคา ๕๐.๐๐๐ บาท ให้ทางคณะแพทย์ได้เช่าในอัตราต่ํามากพอเป็นพิธี เพียงปีละ ๑ หรือ ๒ บาท ผูกพันเป็นเวลา ๓๐ ปี๖๘ เพื่อให้ใช้เป็นที่อยู่ของพยาบาล ในขณะที่พระองค์ได้บริจาคเงินให้กับ โรงเรียนพยาบาลเป็นเงินมากถึง ๒๐,๐๐๐ บาท สําหรับการปลูกอาคารหลังใหม่เพื่อให้เป็นที่พักของอาจารย์ ผู้ปกครอง โดยประทานค่าซ่อมแซมให้อีกปีละ ๖,๒๐๐ บาท ตลอดจนได้พระราชทานเงินส่วนพระองค์ สําหรับเป็นค่าจ้างรายเดือนให้แก่อาจารย์ชาวต่างประเทศอีก ๒ คนด้วย ๖๘ พลตรีพระศักดาพลรักษ์ เคยเรียนถามถึงเหตุผลว่า “ทําไมทรงทําเช่นนั้น” ทรงตรัสตอบว่า “ถ้าไม่ทําเช่นนั้น ไปยกให้เขา เสียเลย เราจะไม่มีอํานาจจัดการก่อสร้างได้ตามแผนของเรา” ทรงปรารภเป็นห่วงว่ารัฐบาลไทยจะผิดสัญญาเรื่องการสร้างตึก เป็นแน่ ซึ่งต่อมาก็ต้องทรงพระราชทานเงินส่วนพระองค์มาเพื่อการสร้างตึกจริงๆ ซึ่งก็คือ “ตึกมหิดลฯ”
  • 2. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๕ -- นอกจากนั้น ยังทรงสละเวลาเผยแผ่ความรู้ให้เป็นวิทยาทาน โดยโปรดให้คําบรรยายแก่คณะผู้รับ การอบรมหลายชุดด้วยกัน ได้แก่ o การสอนวิชาปฏิบัติการสุขาภิบาลแก่แพทย์สาธารณสุขที่เข้ารับการอบรมของกรมสาธารณสุข ครั้งที่ ๑ ในระหว่างวันที่ ๒๘ มิถุนายน ถึง ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๗ ณ สถานเสาวภา o ทรงแสดงปาฐกถาเรื่อง “ธาตุปัจจัยในการสาธารณสุข” ในการอบรมสาธารณสุขมณฑลแก่ผู้ เข้ามาประชุมในกรุงเทพฯ ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๗๖๙ โดยทรงแบ่ง ประเภทของ กิจการสาธารณสุขไว้โดยชัดเจน เป็น ๓ ชนิด คือ ๑. สุขวิทยา (Hygiene) คือ ความรู้ที่จะช่วยให้เรารู้จักบํารุงร่างกายให้เป็นปกติอยู่ให้มี ความจําเริญแข็งแรงตามธรรมชาติ เช่น นอนเป็นเวลา กินเป็นเวลา เป็นต้น ๒. เวชกรรมกันโรค และการปราบโรค (Prevention Medicine) เวชกรรมศาสตร์นั้น เป็น วิชาที่แก้ไขรักษาโรคที่เกิดขึ้นในตัวมนุษย์โดยทางรักษาเวชกรรมกันโรคนี้ มุ่งจะกันไม่ให้ เข้าสู่ร่างกายได้ เช่น ปลูกฝีกันไข้ทรพิษ เป็นต้น ๓. สุขาภิบาล (Sanitation) คือ บํารุงสถานที่และควบคุมหนทางออก ทางเข้าและสิ่งที่ออก จากและเข้าไปในร่างกาย และสถานที่มนุษย์อยู่ อย่าให้เป็นบ่อเกิดและนํามาแห่งโรค ทั้ง ๓ ประการ นี้ รวมเรียกว่า สาธารณสุข ในการอบรมครั้งนี้ ทรงปรารภถึงตึกแถว ถนนเจริญกรุงว่าสร้าง เหลื่อมล้ํากันออกมา ไม่ถูก สุขลักษณะ แล้วทรง พาผู้อบรมไปเห็น สถานที่จริง ดูตลาดและส้วมตามวัดต่างๆ ที่พระองค์ได้ปรารภถึง เช่น วัดดวงแขและวัดบรม นิวาส ทรงช่วยพระราชทานเงินสมทบสร้างส้วมให้แก่วัดและที่สาธารณะ จนบรรดาแพทย์ที่ ๖๙ เทียบได้กับการประชุมเชิงปฏิบัติการที่นิยมทํากันอยู่ในปัจจุบัน โดยทรงให้คําบรรยายในวันพุธที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๖๗ ประกอบกับการพาไปดูสถานที่จริง บริเวณวัดต่างๆ เช่น วัดดวงแข และวัดบรมนิวาส และทรงประทานเลี้ยงอาหารแก่ ผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วย โดยในระหว่างการออกสํารวจสถานที่ในตลาดสดนั้น เล่ากันว่ามีชาวบ้านสาดนํ้าทิ้งจนเกือบถูก พระองค์ ก็มิได้ตรัสตําหนิต่อว่าแต่ประการใด ก็ยิ่งทําให้แพทย์ที่เข้าร่วมอบรมต่างมีความซาบซึ้งในพระเมตตาเป็นอย่างยิ่ง จนกระทั่งเมื่อทรงบรรยายอีกครั้งในวันศุกร์ที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๔๖๗ ซึ่งเป็นวันสุดท้ายของการอบรม แพทย์เหล่านั้นจึงได้ พร้อมใจกันจัดของที่ระลึกถวาย และเป็นที่มาของพระราชหัตถเลขาตอบผ่านกรมพระยาชัยนาทนเรนทร
  • 3. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๖ -- มาร่วมประชุมพร้อมใจกันจัดของที่ระลึกถวายด้วยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ทรงได้มีลาย พระราชหัตถ์ตอบผ่านกรมพระยาชัยนาทฯ ว่า "….หมอมฉันรูสึกอยูเสมอวาการสาธารณสุขนั้น เปนของสําคัญยิ่ง เปนเครื่องบํารุงกําลัง ของชาติไทย และเปนสาธารณประโยชนแกมนุษยชาติทั่วไปดวย เพราะฉะนั้นเมื่อมีโอกาสอัน ใดที่หมอมฉันพอที่จะชวยออกกําลังกาย ปญญา หรือทรัพยอันเปนผลที่จะทะนุบํารุงใหการนั้น เจริญขึ้นแลว หมอมฉันยินดีปฏิบัติไดเสมอ อนึ่ง หมอมฉันรูสึกวากิจการที่หมอมฉันได ทํามานั้นเปนการเล็กนอยเทานั้น” o แสดงปาฐกถาเรื่อง “คิดเป็นจํานวน” มีเนื้อความว่าหากจัดการสาธารณสุขให้ดีแล้ว จะ สามารถลดจํานวนผู้ป่วยในหมู่ประชากรลงได้อย่างขัดเจน เพราะมีโรคจํานวนมากที่สามารถ ป้องกันได้ อันจะส่งผลให้ประเทศชาติมีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจเพราะไม่ต้องเสียกําลัง แรงงาน ไม่ต้องเสียค่ารักษาพยาบาลอันประมาณค่าไม่ได้ o ทรงพระราชทานน้ําดื่มน้ําใช้ให้แก่ชาวบ้าน เช่น ด้วยการสร้างคันกั้นน้ํา เพื่อให้ราษฎรได้มีน้ํา ดื่มน้ําใช้ที่สะอาดไว้อุปโภคและบริโภคที่โรงพยาบาลศิริราช ทรงขอร้องให้กระทรวงมหาดไทย วางท่อประปาข้ามแม่น้ําส่งมาโรงพยาบาล๗๐ o ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดํารงตําแหน่งกรรมการปกครองวชิรพยาบาล จึง ได้ทรงวางโครงการดัดแปลง วชิรพยาบาลเป็นโรงพยาบาลคลอดบุตรขนาดใหญ่โดยเฉพาะ ให้เป็นศูนย์อบรมศึกษาพยาบาลผดุงครรภ์ พยาบาลสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และหมอ ตําแย เพื่อจะได้มีผู้ทํางานด้านสงเคราะห์มารดาและทารกเพิ่มขึ้น เนื่องจากในสมัยนั้นอัตรา ตายของทารกต่ํากว่า ๑ ขวบมีสูงมาก อย่างไรก็ตาม กว่าโครงการดังกล่าวจะปรากฏเป็น รูปลักษณ์อักษรนั้นอยู่ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๗๒ ซึ่งเป็นช่วงปีสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพแล้ว ในเดือนกรกฎาคมปีต่อมา (๒๔๖๘) ได้ทรงเสด็จไปภาคเหนือเพื่อเปิดโรงพยาบาลแมคคอมิค ของ คณะผู้เผยแพร่ศาสนาลัทธิเพรสไบทีเรี่ยน จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้ทรงพระราชทานทุนอุดหนุนแพทย์อเมริกัน คนหนึ่งที่ได้มาปฏิบัติหน้าที่ชั่วคราวในขณะนั้น พระราชดําริเรื่องการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์ ทรงมีพระราชดําริว่าในอนคตประเทศสยามควรมีสถานศึกษาแพทย์มากกว่าหนึ่งแห่ง รวมทั้งกิจการ ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่ในระยะเริ่มแรกนั้นจะต้องมีโรงเรียนแพทย์ที่ดี คือมีตึกเรียน ๗๐ ทรงมีนํ้าพระทัยกรุณาผู้ป่วยที่เป็นคนยากจนมาก ทรงรับสั่งต่อพลตรีพระยาศักดาพลรักษ์ ว่า “ทางฝั่งพระนครมี โรงพยาบาลสมัยใหม่ ที่มีทุนรอนมากอยู่แล้ว” (ทรงหมายถึงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์) ทรงรับสั่งถึงขนาดว่าจะขุดคลองใน บริเวณที่ปัจจุบันคือถนนพรานนกเพื่อให้ประชาชนพายเรือออกมาหาหมอที่ศิริราชได้โดยสะดวก แต่ต่อมาทรงเปลี่ยน พระทัยด้วยระบบการขนส่งผู้ป่วยเปลี่ยนไปใช้วิธีการเปลหามและรถเข็นมากขึ้น ... อีกเรื่องที่ทรงเป็นห่วงมากคือเรื่องนํ้า สะอาด ทรงติดต่อขอร้องผู้ใหญ่ในกระทรวงมหาดไทยเป็นแรมปีเพื่อให้วางท่อประปาข้ามแม่นํ้ามายังฝั่งศิริราช
  • 4. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๗ -- อุปกรณ์และห้องปฎิบัติการที่พร้อมจะให้นักเรียนเข้าใช้ในการศึกษาค้นคว้า มีครูแพทย์ที่เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ นักเรียนได้ สามารถสอนได้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีหลักสูตรที่ดี มีมาตรฐาน ทรงปรับแก้ไขหลักสูตร ขยายเวลาเรียนเป็น ๕ ปี แบ่งเป็น ๒ ภาค ภาคละ ๒ ปีครึ่ง ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนสนใจการศึกษาแพทย์ และไว้ใจเลื่อมใสต่อการแพทย์สมัยใหม่ จนกระทั่งมีพระประสงค์ให้ปริญญาแพทย์ของสยามได้รับการ รับรองวิทยฐานะจากบรรดานานาอารยะประเทศ ในส่วนของการเรียนการสอนนั้น ทรงย้ําว่าจะต้องเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ เป็น คนช่างสังเกต ช่างคิด มีเหตุผล เน้นการปฏิบัติ ลงมือทําในห้องปฏิบัติการ ในห้องตรวจ ทรงเน้นว่า การ ฝึกฝนปฏิบัติ (practice) เป็นหัวใจของการเรียนแพทย์ ดังปรากฏในลายพระหัตถ์ถึง มจ. พูนศรีเกษม เกษม ศรี ว่า “อันที่จริงเราควรดําริการทําทดลอง (lab) ใหมาก เพราะขอนี้เปนปญหายากที่สุด ตองการทั้งเงิน เวลาและความชํานาญ และความตั้งใจของเรา และพวกครูฉันยังหนักใจมาก เพราะการบรรยาย (เล็กเชอร) เทานั้นนักเรียนลืมเร็วเต็มที การที่จะจัดวิชาปฏิบัติการ (lab course) ใหสําเร็จจะตองนึกถึง ๑. สถานที่และเครื่องมือตองใหมีพอใชกัน เรื่องเครื่องมือนี้ ถาใครมีความเฉลียวฉลาด (ingenuity) ดี อาจจางคนจีน (เจก) ทําในกรุงเทพฯ ไดหลายอยาง เอาอยางโนนมา ใชรวมกับอยางนี้ ไมตองสั่งนอกทุกอยางไป แตก็ควรใหมีทั่วถึงกัน๗๑ ๒. คนสอน ครูผูชวยเรายังหายากเต็มที่ ถาไดนักเรียนชั้นใหญผูเคยเรียนมาแลวมาเปนครูผูชวยจะดี มาก และจะใหความชํานาญแกนักเรียนผูสอนดวย ๓. เวลาที่กะมานั้นเปรียบกับโปรแกรมที่จะใหเรียนในงานภาคปฏิบัติ (Practical work) เห็น วามีเวลาอยูขางจะนอยไป เพราะจะตองคิดเสียวาควรจะเดินชาในเมืองไทยมากกวาเมืองนอก และควรใหเวลาสําหรับการทดลองซ้ํา (repeat experiments) ที่ทําไมสําเร็จครั้งแรกหรือ ขาดเรียน (Absent) เสีย แตจะหาเวลามาจากไหนฉันก็ยังนึกไมออก เพราะหองปฏิบัติการ (Lab) ของเรามีนอย และแยงกันใชมาก และจะเปดใหนักเรียนเขามาทําเอาเองเวลาวางก็ ไมได ไมเหมือนเมืองนอก เพราะนักเรียนของเรายังตองการความควบคุมอยูมาก ๗๑ ทรงระบุให้ใช้เครื่องมือเป็นเพียงส่วนประกอบของการเรียนรู้ ทรงไม่สนับสนุนให้สั่งซื้อเครื่องไม้เครื่องมือที่มีราคาแพง จากต่างประเทศ แต่เน้นที่การประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือต่างๆ มาไว้ใช้เอง สอดคล้องกับแนวเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)
  • 5. --  พระราชประวัติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก หน้า ๕๘ -- ๔. วัสดุอุปกรณ (Material) การหา สิ่งสงตรวจที่เปนของสดหรือสิ่งมีชีวิต (fresh and perhaps living material) มาสอนนั้นเปนของยาก และบางทีจะตองเปลี่ยนโปรแกรม การสอนตามแตจะหาวัสดุอุปกรณ (material) ได เรื่องนี้ฉันขอใหเธอสนใจใหมาก ๕. เรื่องของเจาหนาที่เทคนิค และหองจัดเตรียมอุปกรณ (Preparation room and Technician) บางการทดลอง (experiment) นั้น การตั้งเครื่องมือกิน เวลานานกวาการทํา ถานักเรียนไดเรียนตั้ง เครื่องมือพอชํานาญแลว ก็ควรจัดใหมีเจาหนาที่เทคนิค (Technician) หรือใครมาทํางานนี้ แทน นักเรียนจะไดตั้งตนทํางานไดทีเดียว หนาที่นี้สําคัญมาก เพราะเรามีหองนอยจะตองรื้อ เครื่องมือทุกทีไป เพื่อไมกีดขวางแกวิชา (Course) อื่น ๖. การประสาน (Coordination) เราควรพยายามกะใหงานภาคปฏิบัติ (Lab work) ตรงกับวิชาบรรยาย (Lecture Courses) แตนี่เปนของยากมาก เธอก็ทราบดี และ วิชา (Courses) เชน พฤกษศาสตร (Botany), ชีววิทยา (Biology), สัตววิทยา (Zoology) นั้น ควรสอนใหติดตอกันจะไดสะดวกแกทั้งครูแลนักเรียน ฉันขอใหเธอตริตรองขอ ที่ฉันกลาวถึง วิธีวิเคราะหแบบอุปนัย (Inductive) และ วิธีวิเคราะหแบบอนุมาน (Deductive methods) เพราะนักเรียนเราตองการสอนใหสังเกตุการณ (observe) และ การใชเหตุผล (reason) ของตัวเองมาก เพราะโรงเรียนมัธยมของเราสอนแตใหเรียนขึ้นใจเปน พื้น เราตองการใหนักเรียนเรียนคิด ๗. เรื่องทฤษฎี (Theories) เพราะเรามีโอกาสสอนดวยการบรรยาย (Lecture) มากกวา การปฏิบัติ (Lab) ครูตางๆ จึงใครสอนทฤษฎี (Theories) มากไป ไมใชทฤษฎี (Theories) ไมดี แตออกจะสูงเกินไป สําหรับนักเรียน และจะมีวิเคราะหเชิงปญญา (Intelligent discussions) ก็ยังไมใครจะได ดวยนักเรียนของเราไมมีวุฒิ ภาวะ (mature) พอ เพราะฉะนั้นก็เปนการเรียนเปนนกแกว เทานั้นแลวก็ลืม ถาถือการปฏิบัติ (lab) เปนหลักจะดีกวา สําหรับเราในสมัยนี้ “I do not want you to be only a Doctor. but l also want you to be a Man”