SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
197
บทคัดยอ
การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับภาระงานของอาจารย มหาวิทยาลัยเชียงใหมเกิดขึ้นดวยเหตุผลที่มหาวิทยาลัย
เชียงใหมไดออกแบบภาระงานขั้นต่ำของอาจารยทุกสาขาวิชา (สาขาวิทยา ศาสตรสุขภาพ สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
และสาขาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตร) เพื่อทดลองใชตั้งแต 1 เมษายน – 30 กันยายน 2550 โดยกำหนดใหมีภาระงาน
5 ลักษณะ คือ งานการเรียนการสอน งานวิจัย งานการพัฒนานักศึกษา งานบริการวิชาการ และงานบริหารและอื่นๆ
ที่ไดรับมอบหมาย โดยใน 4 ภาระงานแรกตองมีผลของงานรวมแลวไมนอยกวา 82.5 % ทำใหที่ประชุมกรรมการสภาอาจารย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม ลงความเห็นวา ควรจัดทำแบบสอบถามใหคณาจารยไดแสดงความคิดเห็น โดยเสนอใหมีภาระงาน
ขั้นต่ำทั้ง 5 งานเหมือนกับมหาวิทยาลัย โดยมีภาระงานรวมกันไมต่ำกวา 80 % สวนอีก 20 % อาจารยแตละทานสามารถปฎิบัติ
ในภาระงานใดก็ไดตามความสนใจและความถนัด พรอมกับใหโอกาสเสนอแนะขอคิดเห็น ผลการสำรวจและไดรับแบบสอบถาม
กลับมา 412 ชุดพบขอสรุปวา
คณาจารยสวนใหญเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย ยกเวนเกณฑ
ของงานพัฒนานักศึกษา กลาวคือ รอยละ 87.2 88.1 และ 73.2 ระบุวาควรมีภาระงานสอน งานวิจัย และงานบริการวิชาการ
ไมนอยกวา 50 12 และ 5 % ตามลำดับ สวนงานพัฒนานักศึกษาไมควรกำหนดมากกวา 5% (รอยละ 74.4 ของผูตอบ
แบบสอบถาม) เมื่อพิจารณาในแตละสาขาวิชา จะเห็นวา สาขาวิชาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตร มีธรรมชาติของงานสอน
มากกวาสาขาวิทยา ศาสตรสุขภาพ และสาขาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ในขณะที่สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะเนนหนัก
ดานงานวิจัย สวนสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ การใหบริการดานวิชาการจะมีมาก กวาสาขาอื่น
อยางไรก็ตามกอนใชเกณฑนี้มหาวิทยาลัยควรชี้แจง ทำความเขาใจ และเพิ่มประเภทของงานที่ยังไมครอบคลุม
รวมทั้งการคิดภาระงาน ควรมีความยืดหยุน ตามลักษณะงาน / ธรรมชาติ ของสาขาวิชาที่แตกตางกัน
วิธีการ (Methodology)
การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับภาระงานของอาจารย เปนการสำรวจที่ตองการทราบความคิดเห็นของคณาจารย
ในมหาวิทยาลัยเชียงใหมทั้งหมด จึงไดทำการสำรวจความเห็นคณาจารยทุกคนผานตัวแทนกรรมการสภาอาจารยของ
แตละคณะ จำนวนทั้งหมด 20 คณะ โดยแบงกลุมคณะตามลักษณะสาขาวิชาเปน 3 กลุม คือ1. สาขาวิทยา ศาสตรสุขภาพ
2. สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ3. สาขาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตรไดแบบสอบถามตอบกลับทั้งสิ้น 412 ชุด
198
ผลการสำรวจ
ผลการสำรวจแบงออกเปน 3 ตอนดังนี้
1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม พบวา
สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ มีผูตอบทั้งหมด 224 คน ในจำนวนนี้เปนเพศหญิงประมาณ 2 เทาของเพศชาย
เปนขาราชการประมาณ 4 เทาของพนักงานมหาวิทยาลัย และไมเปนผูบริหาร 79% สวนใหญ (37%) มีอายุอยูระหวาง 31-40 ป
โดย 39% ของผูตอบแบบสอบถามระบุวา รับราชการนาน 6-15 ป สวนนอย (17%) อายุราชการ <5 ป และสวนใหญ
(38%) ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม 6-15 ปเชนกัน และมีปริมาณเทาๆ กัน (20-21%) ที่ระบุวาทำงานในมหาวิทยาลัย
เชียงใหมเปนระยะเวลา <5, 16-25 และ >25 ป
สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีผูตอบทั้งหมด 119 คน เปนเพศชายมากกวาหญิง คือประมาณ 3 เทาของเพศหญิง
เปนขาราชการประมาณ 2 เทาของพนักงานมหาวิทยาลัย และสวนใหญ (79%) ไมเปนผูบริหาร ผูตอบประมาณ 40% มีอายุ
ระหวาง 31-40 ป สวนนอยที่สุด (5%) อายุ <30 ป ในจำนวนผูตอบทั้งหมด สวนใหญ (37%) รับราชการนาน 6-15 ป รองลงมา
ในปริมาณที่เทาๆ กัน (23-25%) อายุราชการ <5 ป และ 16-25 ป กลุมที่นอยที่สุด (15%) อายุราชการนาน >25 ป ในจำนวนนี้
สวนใหญ (40%) ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม 6-15 ปเชนกัน ขณะที่ 27% ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม <5 ป และ 19%
ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม 16-25 ป
สาขาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตร มีผูตอบทั้งหมด 71 คน ในจำนวนนี้เปนเพศชายประมาณ 2.5 เทาของเพศหญิง
เปนพนักงานมหาวิทยาลัยประมาณ 2 เทาของขาราชการ และไมเปนผูบริหาร 75% โดยมีอายุอยูระหวาง 31-40 ป เปนสวนใหญ
(32%) สวนนอยที่สุด (9%) อายุ <30 ป เชนกัน ในจำนวนผูตอบทั้งหมดนี้ มีผูรับราชการจำนวนเทาๆ กัน (27-30%) เปนระยะ
เวลา <5, 6-15 และ > 25 ป สวนนอย (14%) ที่ระบุวามีอายุราชการ 16-25 ป ทั้งนี้สวนใหญ (65%) ทำงานในมหาวิทยาลัย
เชียงใหม <15 ป โดย 1 ใน 3 ของผูตอบกลุมนี้เพิ่งจะเขามาทำงาน (<5 ป) สวนผูที่ระบุวาทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม
ระหวาง 6-15 ป มีจำนวนมากที่สุดคือ 44% และรองลงมา >25 ป มีจำนวนเทากับ 25% (ดังแสดงในตาราง 1)
199
1
( , n )
-
(n=224) (n=119) (n=71)
32.1 73.9 71.8
67.9 26.1 28.2
79.5 65.5 33.8
20.5 34.5 66.2
21.0 21.0 25.4
79.0 79.0 74.6
( )
< 30 6.3 5.0 8.5
31-40 36.6 40.3 32.4
41-50 21.0 17.6 19.7
> 50 23.2 14.3 23.9
12.9 22.7 15.5
( )
< 5 16.5 25.2 26.8
6-15 39.3 37.0 29.6
16-25 22.3 22.7 14.1
> 25 21.9 15.1 29.6
. ( )
< 5 20.1 26.9 21.1
6-15 38.4 39.5 43.7
16-25 20.5 18.5 9.9
> 25 21.0 15.1 25.4
2. ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดสัดสวนภาระงาน สามารถสรุปในแตละภาระงานไดดังตอไปนี้
ภาระงานการเรียนการสอน
คณาจารยทั้ง 3 กลุมสาขาวิชา สวนใหญ (78-82%) เห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และ
คณะกรรมการสภาอาจารย คือประมาณ รอยละ 50 ของงานทั้งหมด (50-51.4%) แตเมื่อเปรียบเทียบระหวางการมีภาระ
งานการเรียนการสอน 0-48% และ 55-75% พบวา มีผูเสนอปริมาณเทาๆ กันในสาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร ขณะที่
สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพมีผูเสนอภาระงาน 0-48% มากกวา 55-75% ทำใหผลโดยเฉลี่ย
มีผูเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (50-51.4%) ถึง 79.5% ของผู
200
ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมา 12.8% ตองการใหมีภาระงานการเรียนการสอนเพียง <50% ขณะที่ 7.7% ตองการใหมี
ภาระงาน >55%
จากผลสำรวจนี้ อาจกลาวไดวาสาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร มีภาระการเรียนการสอนในปริมาณที่มากกวา
หรือเนนภาระการเรียนการสอนมากกวาสาขาอื่น
ภาระงานวิจัย
คณาจารยทั้ง 3 กลุมสาขาวิชาสวนใหญ (62-72%) เห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และ
คณะกรรมการสภาอาจารย (12-15%) ทั้งนี้ผูตอบแบบสอบถามในกลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประสงคจะใหกำหนดสูงกวา
เกณฑนี้ คือ ระหวาง 17-50% ของภาระงานทั้งหมด มีจำนวนมากถึง 21% ซึ่งสูงกวาอีก 2 สาขาอยางชัดเจน
อยางไรก็ดีในสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ รอยละ 14.3 ประสงคจะใหมีภาระงานวิจัย <12% ซึ่งแสดงใหเห็นวา
สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพมีภาระงานอื่น เชน ดานการบริการ มากกวาอีก 2 สาขา
ภาระงานการพัฒนานักศึกษา
ผลการวิเคราะหในสวนนี้เปนที่นาสังเกตวา ทั้ง 3 สาขาวิชาไมเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานทั้งโดยมหาวิทยาลัย
และคณะกรรมการสภาอาจารย (5-10%) โดยสวนใหญ (66-79%) มีความเห็นตรงกันวา ควรมีภาระงานเพียง 3-5% เทานั้น
รองลงมา (17-29%) เห็นดวยวาควรมีภาระงานตามที่มหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารยกำหนด (5-10%) ทำให
ผลโดยเฉลี่ย มีผูเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานวิจัยโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารยเพียง 23.2% ขณะที่
ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ 71.2% ตองการใหมีภาระงานนี้เพียง 3-5%
ผลสำรวจนี้นาสนใจตรงที่วาความเห็นในทุกสาขาไมเห็นดวยกับทั้งมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย
และตองการใหมีปริมาณงานในสวนนี้คอนขางนอย ทั้งๆ ที่เปนภาระงานสำคัญ คือ การพัฒนานักศึกษา ทั้งนี้อาจเปนเพราะมี
ความไมชัดเจนในการกำหนดลักษณะงานนี้ก็ได
ภาระงานบริการวิชาการ
สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพและสาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร พบวา สวนใหญ (84-94%) เห็นดวยกับ
การกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (5-15%) ขณะที่สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มีผูเห็นดวยเพียง 26% เทานั้น แตมีอีก 71% ของผูตอบแบบสอบถาม ประสงคจะใหมีภาระงานชนิดนี้ <5% ทั้งนี้อาจเปนเพราะ
สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีภาระงานสอนและวิจัยในปริมาณที่มาก อีกทั้งโอกาสการใหบริการ (ของบางคณะ
เชน คณะวิทยาศาสตร) เปนไปไดนอยกวาสาขาอื่น เชน สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพมีผูใชบริการเขามาเปนจำนวนมาก ทำให
ผลสำรวจโดยรวมและคำนวณเปนคาเฉลี่ย พบวา มีผูเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานบริการวิชาการโดยมหาวิทยาลัย และ
คณะกรรมการสภาอาจารย (5-15%) เพียง 68.1% ของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาจำนวน 26.8% ตองการใหมี
ภาระงานนี้เพียง 0-5%
ภาระงานบริหารและงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย
ผลจากการสำรวจพบวา สาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตรมีความเห็นที่ตางไปจากที่กำหนดโดยมหาวิทยาลัย และ
คณะกรรมการสภาอาจารย (0-5%) กลาวคือ สวนใหญ 76% ตองการใหมีภาระงานในสวนนี้ 5-10% และมีอีกจำนวน 13%
ที่ตองการเพิ่มเปน 10-40% ของภาระงานทั้งหมด ในขณะที่สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ
เห็นดวยกับเกณฑที่กำหนดโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (0-5%) เปนสวนใหญ (90-92%)
ในสวนสุดทายเปนการแสดงความคิดเห็นโดยอิสระในแตละภาระงาน พบวา มีผูเสนอใหมีรายการเพิ่มเติมจากที่ระบุ
ในแบบสอบถาม ดังนี้
201
ภาระงานการเรียนการสอน
ควรเพิ่ม ภาระงานการสอนเสริมหรือการติว ผูประสานงานของกระบวนวิชาที่มีหลายตอน ทัศนศึกษาที่เกี่ยวกับวิชา
ที่สอนหรือการพานักศึกษาดูงานนอกสถานที่
ภาระงานวิจัย
ควรเพิ่ม ภาระงานที่ปรึกษาโครงการวิจัย / ที่ปรึกษารวม การคิดภาระงานในขั้นตอนกอนการไดโครงการวิจัย
เชน การคนควาขอมูล การติดตอประสานงานดานตางๆ การติดตอหัวหนาอุทยานแหงชาติในการขอใชสถานที่ในการทำวิจัย
การเตรียมหัวขอ / การสำรวจภาคสนามเบื้องตน เปนตน และควรคำนึงถึงภาระงานการวิจัยรวมสาขาตาง ๆ ใหเปนสัดสวน
เพื่อเปนภาระงานที่ชัดเจน
ภาระงานการพัฒนานักศึกษา
ควรเพิ่ม ภาระงานของกิจกรรมที่พัฒนานักศึกษาทางคุณธรรมและจริยธรรม เชน จัดกิจกรรมสงเสริมนักศึกษา
ในการบำเพ็ญประโยชนกับสังคม การจัดอบรมใหนักศึกษา / เสริมทักษะ /กิจกรรมการประกวดแขงขันตางๆ การใหขอมูล
ความรูประสบการณในการดำเนินชีวิตของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย รวมถึงการแนะนำนักศึกษาในเรื่องตางๆ ที่อาจ
ไมไดเกี่ยวของกับการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพิเศษสำหรับนักศึกษา บัณฑิตศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ
และการวิจัย การปลูกฝงและทำนุบำรุงภาษาศิลปะ วัฒนธรรมแหงชาติ เปนตน
ภาระงานบริการวิชาการ
ควรเพิ่ม การเขียนหลักสูตรฝกอบรมบุคลากรทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน การจัดฝกอบรมหลักสูตรเฉพาะ
ใหกับองคกรภายนอก การจัดรายการวิจัย – โทรทัศน การรวมกิจกรรมชุมชน ใหรวมมือกับทองถิ่น การเผยแพรรูปแบบอื่นๆ
เชน ประชาสัมพันธลงใน Web page งานเขียนหนังสือ / ตำรา / งานเขียนรูปแบบอื่นๆ เชน สารคดี บันเทิง ฯลฯ การรับรอง
ผูที่มาดูงานจากตางประเทศ การรับนักศึกษา – ฝกงาน การเปน Host ใหกับอาจารยและนักศึกษาตางชาติ การจัดประชุม
วิชาการโดยเฉพาะระดับนานาชาติ Reviewer board, Editorial board และผูจัดทำในวารสารระดับตาง ๆ การเปนที่ปรึกษา
ใหแกโรงพยาบาลหรือสถานบริการ การใหคำปรึกษาแกนักศึกษาที่ไมใช Advisee ของตนเอง เปนกรรมการในองคกรเอกชน,
รัฐวิสาหกิจ หรือองคกรไมแสวงหาผลกำไร และการเปนอาจารยพิเศษ เปนตน
ภาระงานบริหารและงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย
ควรเพิ่ม ประธานสาขาวิชา / หลักสูตรพิเศษตางๆ / หัวหนาโครงการ / หัวหนาศูนย กรรมการกิจกรรมเฉพาะกิจ
เปนครั้งคราว /ในสาขา / ภาควิชา กรรมการบริหารหลักสูตร ปกติและพิเศษทุกระดับ การเปนอาจารยในหลักสูตรหรือคณะ
ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม งานบริการอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายทั้งในหรือนอกองคกร และงานอื่นๆ ที่ชวยเหลือโดยไมมีการ
มอบหมายจากองคกร แตไดรับการรองขอจากองคกรภายนอก เปนตน (ดังแสดงในตาราง 2)
202
2
-TOR
(n=224) (n=119) (n=71)
<50 (0-48) * 16.5 13.4 8.5 12.8
50-51.4 ** 77.7 79.0 81.7 79.5
>55 (55-75) 5.8 7.6 9.9 7.7
<12 (0-12) 14.3 10.1 11.3 11.9
12-15 ** 72.3 62.2 69.0 67.8
15-30 (17-30) 10.7 21.0 19.7 17.1
30-40 (35-40) 1.8 4.2 - 3.0
>40 (50) 0.9 2.5 - 1.7
<2.5 (0-2.5) 3.6 3.4 2.8 3.2
2.5-5 (3-5) 79.0 65.5 69.0 71.2
5-10 ** 16.9 28.6 23.9 23.2
10-15 (15) 0.5 1.7 2.8 1.6
>15 (20-25) 0.8 1.4 1.1
<5 (0-5) 6.3 71.4 2.8 26.8
5-15 ** 83.9 26.1 94.4 68.1
15-30 (20-30) 7.6 2.5 2.8 4.3
30-45 (35-45) 2.2 - - 2.2
>5 ** 90.6 92.4 11.3 64.8
5-10 4.5 7.6 76.1 29.4
10-25 3.1 - 11.3 7.2
25-40 (30-40) 1.3 - 1.4 1.4
>40 (50) 0.5 - - 0.4
หมายเหตุ * ขอมูลในวงเล็บคือ ชวงของการตอบ
** เกณฑที่เสนอโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย
3. ขอเสนอแนะอื่นๆ
กอนใชกฏเกณฑนี้ คณาจารยมหาวิทยาลัยเชียงใหมเห็นวาควรทำประชาพิจารณและชี้แจงบุคลากรใหทราบโดยทั่วไป
ควรคิดภาระงานทุกอยางใหสะทอนการปฎิบัติงานตามความเปนจริง ภาระงานควรกำหนดเกณฑกวางๆ เชน การสอน
40 – 60% ตามลักษณะ ธรรมชาติของคณะ ภาควิชา แตควรยืดหยุนได ทั้งนี้เพราะแตละสาขาวิชามีธรรมชาติตางกัน
เชน สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพควรเพิ่มสัดสวนภาระงานบริการวิชาการใหมากขึ้น โดยใหมีกรรมการประเมินคุณภาพงาน
โดยเนนคุณภาพของงานเปนหลัก
203
บทคัดยอ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัย
ในกำกับของรัฐ ในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยใชแบบสำรวจเกี่ยวกับปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจ
สนับสนุนหรือไมสนับสนุนการนำมหาวิทยาลัย ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
กลุมตัวอยาง ไดแก ขาราชการ พนักงานประจำ ลูกจางชั่วคราว ลูกจางประจำ และพนักงานราชการ ซึ่งเปน
บุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 565 คน
ผลการศึกษาพบวา บุคลากรมีความเห็นวาปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาลัยนเรศวรปจจุบันไปเปนมหาวิทยาลัย
ในกำกับของรัฐนั้นเปนประเด็นขอกังวลใจตาง ๆ ของบุคลากร ซึ่งสามารถแสดงประมาณกลุมตัวอยางที่มีความกังวลใจไดดังนี้
1) ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ 2) ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับ
มหาวิทยาลัย 3) ระบบสวัสดิการของพนักงานและลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 4) ผลประโยชนตอบแทนของ
พนักงานและลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 5) ที่มาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย 6) เกรงวามหาวิทยาลัยจะรับนิสิต
โดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ 7) ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน 8) การเพิ่มขึ้นของ
คาใชจายที่ฟุมเฟอยของมหาวิทยาลัย 9) ระบบการบริหารงานของคณะ 10) การยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา เปนตน
11) เงินคาตอบแทนผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญของบุคลากรสายสนับสนุน 12) วาระของอธิการบดี 13) ที่มาของสภา
มหาวิทยาลัย 14) องคประกอบของสภามหาวิทยาลัย และ 15) วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัย มีปริมาณรอยละ
69.20, 66.19, 64.78, 60.00, 53.63, 53.27, 52.21, 49.91, 42.12, 32.00, 32.00, 29.91, 29.73, 26.19 และ21.23 ตามลำดับ
คำสำคัญ : มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ปจจัยที่สงผล มหาวิทยาลัยนเรศวร
ความเปนมาของปญหา
รัฐบาลชุดปจจุบันไดมีนโยบายใหมหาวิทยาลัยของรัฐปรับเปลี่ยนสถานภาพเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
เพื่อกระจายอำนาจในการบริหารจัดการศึกษาใหเกิดความคลองตัวในการบริหารงานและบริหารงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรร
ใหเปนเงินอุดหนุน(Block Grant) ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมสอดคลองกับธรรมชาติของแตละมหาวิทยาลัย
ในการสรางคนดี คนเกง เปนผูนำสังคม และสามารถตอบสนองกลไกการตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล
ซึ่งถาชาวมหาวิทยาลัยเขาใจถึงเหตุผลความเปนมาดังกลาว ก็จะเขาใจเปาหมายที่เปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยคำนึงถึง
ผลประโยชนของสวนรวมเปนที่ตั้ง มีเหตุมีผลเปนธรรมกับทุกคน
204
ดังนั้น งานสภาอาจารยจึงไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ
ของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวรขึ้น เพื่อรวบรวมขอมูลนำเสนอให มหาวิทยาลัยไปพิจารณาดำเนินการ
ตามสมควรตอไป
จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา
เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในทัศนะของบุคลากร
มหาวิทยาลัยนเรศวร
ความสำคัญของการศึกษาคนควา
1. ทำใหทราบปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ
ของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร
2. นำขอมูลที่ไดจากการศึกษาเสนอใหมหาวิทยาลัย เพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร
ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
ขอบเขตของการศึกษาคนควา
การศึกษาคนควาครั้งนี้ไดกำหนดขอบเขตไวดังนี้
1. การศึกษาคนควาครั้งนี้มุงศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ
ของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ใน 15 ประเด็น ดังนี้ 1) ที่มาของสภามหาวิทยาลัย 2) องคประกอบ
ของสภามหาวิทยาลัย 3) วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัย 4) ที่มาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย 5) วาระของ
อธิการบดี 6) ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย 7) การยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา
เปนตน 8) ระบบการบริหารงานของคณะ 9) เงินคาตอบแทนผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญของบุคลากรสายสนับสนุน
10) ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ 11) ผลประโยชนตอบแทนของพนักงานและลูกจาง
เมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 12) ระบบสวัสดิการของพนักงานและลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 13) ผลกระทบ
ตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน 14) การเพิ่มขึ้นของคาใชจายที่ฟุมเฟอยของมหาวิทยาลัย และ 15) เกรงวา
มหาวิทยาลัยจะรับนิสิตโดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ
2. กลุมตัวอยาง
กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนบุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวรที่เปนขาราชการ พนักงาน
มหาวิทยาลัย ลูกจางชั่วคราว ลูกจางประจำ และพนักงานราชการ รวมจำนวนทั้งสิ้น 565 คน
3. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา
เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาในครั้งนี้เปนแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัย
นเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ใน 15 ประเด็น ซึ่งประเด็น
คำถามไดจากการเสนอของคณะกรรมการสภาอาจารย ประจำป 2550
การเก็บขอมูลและการวิเคราะหขอมูล
โดยแจกแบบสอบถามใหคณะผูวิจัยทำการเก็บขอมูลกลุมตัวอยางในชวงเดือนมกราคม 2550 และทำการวิเคราะห
ขอมูลในเดือน กุมภาพันธ 2550
ดังภาพที่ 1
205
ภาพที่ 1 สถานภาพของกลุมตัวอยาง
เมื่อพิจารณาสถานภาพของกลุมตัวอยาง ซึ่งเปนบุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 565 คน พบวาเปน
ขาราชการคิดเปนรอยละ 21.06 พนักงานประจำรอยละ 46.37 ลูกจางประจำรอยละ 5.84 พนักงานราชการรอยละ 8.50
และลูกจางชั่วคราวรอยละ 18.23
2. ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางทั้งหมดตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการ
เปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในอนาคต ดังแสดงไวในภาพที่ 2
ภาพที่ 2 ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางทั้งหมด ตอประเด็นปจจัยตางๆ
เมื่อพิจารณาความคิดเห็นของกลุมตัวอยางพบวา ประเด็นปจจัยที่บุคลากรใหความสำคัญมากที่สุด ไดแก
ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ซึ่งมีคาความถี่ 391 และประเด็นปจจัยอื่น ๆ สำคัญรองลงไป
ไดแก ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 374 ระบบสวัสดิการของพนักงาน
และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการมีคาความถี่ 366 ผลประโยชนตอบแทนของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบ
กับขาราชการ มีคาความถี่ 303 เกรงวามหาวิทยาลัยจะรับนิสิตโดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ มีคาความถี่ 301
ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน มีคาความถี่ 295 การเพิ่มขึ้นของคาใชจายที่ฟุมเฟอย
ของมหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 282 ระบบการบริหารงานของคณะ มีคาความถี่ 238 การยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา
เปนตน มีคาความถี่ 181 เงินคาตอบแทนผูชำนาญการ และผูเชี่ยวชาญของบุคลากร สายสนับสนุน มีคาความถี่ 181
วาระของอธิการบดี มีคาความถี่ 169 ที่มาของสภามหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 168 องคประกอบของสภามหาวิทยาลัย มีคา
ความถี่ 148 วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 120 ตามลำดับ
206
3. ความคิดเห็นของขาราชการตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัย
ในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 3
ภาพที่ 3 ความคิดเห็นของขาราชการ ตอ ประเด็นปจจัยตาง ๆ
ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของขาราชการ ( จำนวน 119 คน ) ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ พบวาประเด็น
ที่มีความสำคัญ 5 อันดับแรก ไดแก ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย ระบบการประเมิน
การทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ที่มาของผูบริหาร ระดับมหาวิทยาลัย ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียน
ที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน และการเพิ่มขึ้นของคาใชจาย ที่ฟุมเฟอยของมหาวิทยาลัย และเกรงวามหาวิทยาลัยจะรับนิสิต
โดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ และกลุมตัวอยางขาราชการใหความสำคัญนอยที่สุด ตอประเด็นวาระของกรรมการ
สภามหาวิทยาลัย และการยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา เปนตน อาจเปนเพราะขาราชการมีความคิดวาผูบริหาร
ระดับมหาวิทยาลัย จะเปนผูกำหนดนโยบายและทิศทางของมหาวิทยาลัย อันจะสงผลตอการพัฒนามหาวิทยาลัย ใหแขงขัน
กับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเชิงคุณภาพของบัณฑิต นอกจากนี้ ขาราชการยังใหความสำคัญ ตอระบบประเมินการทำงาน
เปนอยางมาก เพราะมหาวิทยาลัยยังไมมีการกำหนดระบบประเมินที่แนนอนชัดเจน
4. ความคิดเห็นของอาจารย ( ขาราชการสาย ก ) ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร
ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 4
ภาพที่ 4 ความคิดเห็นของอาจารยตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
207
ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของอาจารย จำนวน 80 คน พบวาอาจารยใหความสำคัญตอระบบ การตรวจสอบการ
ทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัยมากที่สุด และอีก 4 ลำดับ รองลงมาไดแก ที่มาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย
และระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน
ระบบการบริหารงานของคณะ และวาระ ของอธิการบดี ซึ่งแสดงวาอาจารยมีความคิดเห็นวาผูบริหารควรปฏิบัติงานในกรอบ
ที่บุคลากร สามารถรับรูได และควรมีระบบการตรวจสอบการบริหารงานอยางชัดเจน รวมทั้งอาจารยคำนึงถึงวิธีการไดมาซึ่ง
ผูบริหาร เพราะอาจจะทำใหไดผูบริหารที่มีวิสัยทัศนไมสอดคลองกับความตองการขององคกร
5. ความคิดเห็นของขาราชการสาย ข และสาย ค ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร
ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 5
ภาพที่ 5 ความคิดเห็นของขาราชการสาย ข และสาย ค ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของขาราชการสาย ข จำนวน 10 คน ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ เปนไปตามแผนภาพ
ที่ 5 ซึ่งขาราชการสาย ข ใหความสำคัญตอ “ เงินคาตอบแทนผูชำนาญการ และผูเชี่ยวชาญของบุคลากรสายสนับสนุน “
มากที่สุด ซึ่งอาจเนื่องจากกลุมตัวอยางมีความวิตกกังวลถึงสภาพความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ในแงของคาตอบแทนที่เพิ่มขึ้น
กลุมตัวอยางที่เปนขาราชการสาย ค จำนวน 29 คน ใหความสำคัญตอประเด็น “ ระบบประเมินการทำงาน
ของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ “ มากที่สุด อาจเนื่องมาจากมหาวิทยาลัยยังไมไดกำหนด หรือชี้แจงระบบประเมิน
ที่ชัดเจน เมื่อมหาวิทยาลัยอยูในสภาพมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ นอกจากนี้ ประเด็นอื่น ๆ ที่ใหความสำคัญลำดับแรก ๆ
จะคลายคลึงกับของขาราชการสาย ก
6. ความคิดเห็นของพนักงานประจำสายวิชาการ และสายสนับสนุน ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำ
มหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 6
208
ภาพที่ 6 ความคิดเห็นของพนักงานประจำสายวิชาการ และสายสนับสนุน ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
ผลการศึกษาพบวา พนักงานประจำสายสนับสนุน จำนวน 177 คน ใหความสำคัญตอการแสดงความคิดเห็น
ตอปจจัยตาง ๆ มากกวาพนักงานประจำสายวิชาการ จำนวน 85 คน ซึ่งอาจจะมีผลกระทบ เมื่อมีการนำมหาวิทยาลัย
ไปเปนมหาวิทยาลัยในกำกับคอนขางมากกวา เนื่องจากลักษณะของงานเปนลักษณะเชนเดียวกับขาราชการสาย ข และ
สาย ค ซึ่งผูบริหารมีอำนาจบังคับบัญชาโดยตรง โดยมีผลตอการสนับสนุนใหเขาสูตำแหนงที่สูงขึ้น หรือ ไดรับการพิจารณา
เลื่อนขั้นเปนกรณีพิเศษ ซึ่งนั่นหมายถึงความมั่นคงของการปฏิบัติงานจะขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชา อยางไรก็ตามพนักงานสาย
สนับสนุนก็ใหความสำคัญตอปจจัยเกี่ยวกับระบบสวัสดิการ ผลประโยชนตอบแทนของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบ
กับขาราชการ และระบบการประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ เหมือนกัน เนื่องจากเปนปจจัย
ที่เกี่ยวของกับความมั่นคงของอาชีพ
7. ความคิดเห็นของลูกจางประจำ และพนักงานราชการ ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร
ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 7
ภาพที่ 7 ความคิดเห็นของลูกจางประจำ และพนักงานราชการ ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
209
ผลการศึกษาพบวา ลูกจางประจำ จำนวน 33 คน มีความคิดเห็นตอประเด็นปจจัยคลาย ๆ กับขาราชการ
โดยคำนึงถึงการไดมาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย และระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย
มากกวาปจจัยอื่น ๆ แตขณะเดียวกัน ก็คำนึงถึงความมั่นคงและคุณภาพของนิสิตดวย ซึ่งแตกตางจากพนักงานราชการ
จำนวน 48 คน ซึ่งคำนึงถึงความมั่นคงในอาชีพมากกวา ซึ่งไดแก ผลประโยชนตอบแทนของพนักงาน และลูกจาง
เมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ ระบบสวัสดิการของพนักงานและลูกจางเปรียบเทียบกับขาราชการ และระบบการประเมิน
การทำงานของพนักงานลูกจาง และขาราชการ
8. ความคิดเห็นของลูกจางชั่วคราว ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปน
มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 8
ผลวิเคราะหความคิดเห็นของลูกจางชั่วคราว จำนวน 103 คน พบวา ลูกจางชั่วคราวใหความสำคัญมากตอประเด็น
ความมั่นคงของการทำงาน ซึ่งไดแก ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ผลประโยชนตอบแทน
ของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ และระบบสวัสดิการของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับ
ขาราชการ ซึ่งอาจเปนเพราะลูกจางชั่วคราวมีสัญญาจางในการทำงานระยะสั้น เชน รายวัน รายเดือน รายป เปนตน
และดวยเหตุนี้ ลูกจางชั่วคราว จึงใหความสำคัญของระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารดวย เพราะอาจจะมีผลตอการ
ตอสัญญาของลูกจางชั่วคราวได
สรุปผลการศึกษา
การศึกษาประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนสถานภาพของมหาวิทยาลัยของรัฐ ไปเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ
ของรัฐ ในความคิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ในป 2550 นั้น ไดแสดงใหเห็นชัดเจนวา บุคลากรใหความสำคัญ
มากตอการไดมาซึ่งผูบริหาร รวมทั้งการทำงานของผูบริหาร ซึ่งขณะเดียวกันก็ใหความสำคัญมากตอปจจัยดานความมั่นคง
ของการปฏิบัติงาน เชน สวัสดิการฯผลประโยชนตอบแทนฯ และระบบการประเมินการทำงานฯ เปนตน ดังนั้น ขอมูล
ดังกลาวนี้ ผูบริหารและผูที่เกี่ยวของในการเปลี่ยนสถานภาพของมหาวิทยาลัย นาจะนำไปใชประโยชนในการตัดสินใจ
ไดสวนหนึ่งในอนาคต
กิตติกรรมประกาศ
คณะผูวิจัยขอขอบคุณ รองศาสตราจารย ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ที่ใหคำแนะนำในการทำวิจัย
เรื่องนี้ จนกระทั่งไดบทความวิจัยที่สมบูรณ และคณะกรรมการสภาอาจารย มหาวิทยาลัยนเรศวร ป พ.ศ.2550 เปนอยางสูง
ที่ใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ภาพที่ 8 ความคิดเห็นของลูกจางชั่วคราว ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
211
บทบาท หนาที่ของสภาคณาจารยและโดยเฉพาะบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของประธานสภาคณาจารย
ที่ปรากฏในบทความนี้ เขียนขึ้นจากประสบการณตรงของผูเขียนที่ดำรงตำแหนงประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย มีจุดมุงหมายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูที่ดำรงตำแหนงประธานสภาฯ
ในสถาบันอุดมศึกษาตางๆ อีกทั้งยังหวังใหเปนฐานขอมูลแกผูที่สนใจจะเปนประธานสภาฯ ตอไปในอนาคต
ในพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2522 ไดระบุหนาที่ของสภาคณาจารยไวใน หมวด 2 มาตรา 22 วา
“ใหมีสภาคณาจารยมหาวิทยาลัยทำหนาที่ใหคำปรึกษา และขอแนะนำตออธิการบดี และหนาที่อื่นตามที่
สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย ประกอบดวยสมาชิก ซึ่งคณาจารยประจำของมหาวิทยาลัยเลือกตั้งขึ้น
จากคณาจารยประจำของมหาวิทยาลัย
จำนวนสมาชิก หลักเกณฑและวิธีการเลือกตั้ง และการดำเนินงานของสภาคณาจารยมหาวิทยาลัย ใหกำหนด
เปนขอบังคับของมหาวิทยาลัย”
และในขอบังคับ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวย สภาคณาจารย พ.ศ. 2522 ไดระบุหนาที่ของสภาคณาจารยไวใน
ขอ 5 ของขอบังคับวา
“ขอ 5 สภาคณาจารยในฐานะตัวแทนของคณาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีหนาที่ใหคำปรึกษา และขอแนะนำตอ
อธิการบดีเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัย และมีหนาที่ซึ่งรวมตลอดถึง
5.1 เสนอแนะกฎเกณฑเกี่ยวกับตำแหนงทางวิชาการและมาตรฐานทางวิชาการ
5.2 เสนอแนะในเชิงประเมินผลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย
5.3 เสนอแนะเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายของมหาวิทยาลัย
5.4 เสนอแนะเกี่ยวกับการสรางความสัมพันธอันดีระหวางคณาจารยและนิสิต
5.5 สรางและสงเสริมจรรยาบรรณของคณาจารยในมหาวิทยาลัย
5.6 หนาที่อื่นใดตามที่สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย
สภาคณาจารยอาจวางระเบียบของสภาคณาจารย ดำเนินงานออกสิ่งพิมพเพื่อแถลงกิจการ แสวงหาและติดตอขอขอมูล
เชิญผูดำรงตำแหนงบริหารในมหาวิทยาลัย คณาจารยหรือเจาหนาที่ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตลอดจนบุคคลอื่นใดมาเขา
รวมประชุมไดเปนครั้งคราว และอาจแตงตั้งคณะกรรมการ เพื่อกระทำกิจการหรือพิจารณาเรื่องใดๆ อันอยูในหนาที่ของ
สภาคณาจารยโดยใหคณะกรรมการดังกลาวรายงานตอสภาคณาจารย”
หากพิจารณาภาระหนาที่ของสภาคณาจารยตามที่ระบุไวใน พระราชบัญญัติและขอบังคับ ก็มีประเด็นวา
สภาคณาจารยควรจะดำเนินบทบาทในลักษณะใด และประธานสภาฯในฐานะผูแทนของสภาฯควรจะมีบทบาท หนาที่และ
ความรับผิดชอบอยางไร
ผูเขียนขอนำเสนอบทบาทตามหนาที่ของสภาคณาจารยในสองลักษณะคือ
1. ตอบสนอง สภาคณาจารยทำหนาที่ใหคำปรึกษา หรือขอแนะนำ หรือปฏิบัติงานตามคำรองขอหรือไดรับ
มอบหมายจากอธิการหรือ สภามหาวิทยาลัย
212
2. นำเสนอ สภาคณาจารยทำหนาที่เสนอความเห็นหรือขอแนะนำตออธิการบดีในเรื่องที่เกี่ยวของกับกิจการ
ของมหาวิทยาลัยตามที่สภาคณาจารยเห็นวาสำคัญและจำเปนโดยตรงเอง โดยไมตองรอใหมีการรองขอหรือมอบหมาย
ทั้งสองบทบาทตางก็มีความสำคัญ ขึ้นอยูกับสถานการณและคุณภาพของผูบริหารมหาวิทยาลัยในขณะนั้น แตไมวา
สถานการณ และผูบริหารจะเปนเชนใด สภาคณาจารยจะดองปฏิบัติหนาที่ดวยเจตนาบริสุทธิ์ โปรงใส เพื่อความมั่นคง กาวหนา
และเพื่อประโยชนสุขโดยรวมของประชาคมของมหาวิทยาลัยและประเทศชาติ
โดยนัยเดียวกัน ประธานสภาฯในฐานะผูแทนสภาฯควรมีบทบาทและหนาที่ที่สอดคลองกับบทบาทหนาที่
ของสภาฯ และยังตองมีความรับผิดชอบตอสภาฯในฐานะผูแทนของสภาฯอีกดวย โดยไมบิดเบือนบทบาท หนาที่ หรือมติ
ของสภาฯ แตดองปฏิบัติ และสนับสนุนบทบาทตามหนาที่ของสภาฯอยางมีความรับผิดชอบ เต็มความสามารถ และมีความ
หนักแนนมั่นคงในบทบาทหนาที่ของประธานสภาฯ
ในขอ 13 หมวด 2 ของระเบียบสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวย การดำเนินงานของสภาคณาจารย
ระบุอำนาจและ หนาที่ของประธานสภาฯไวดังนี้
ขอ 13 ประธานมีอำนาจ และหนาที่ดังตอไปนี้
(1) เปนประธานของที่ประชุมสภา เวนแตในขณะที่กลาวอภิปรายสนับสนุนหรือคัดคานญัตติ
ในที่ประชุม
(2) ดำเนินกิจกรรมของสภา
(3) รักษาความสงบเรียบรอยในสภา
(4) เปนผูแทนของสภาในกิจกรรมภายนอก
(5) ดำเนินกิจกรรมตามที่ไดรับมอบหมายจากสภา
(6) ปฏิบัติหนาที่อื่นๆตามที่ไดกำหนดไวในระเบียบใดๆของสภาหรือขอบังคับ
บทบาทหนาที่ของสภาคณาจารย และประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในชวงหนึ่งปที่ผูเขียนปฏิบัติ
หนาที่ประธานสภา นอกจากจะพยายามทำตามหนาที่ที่ระบุไวในพระราชบัญญัติ ขอบังคับ และระเบียบตามที่ไดกลาวไวแลว
ผูเขียนยังมุงมั่นใหการทำงานของสภาและของประธานสภา มีลักษณะในเชิงสรางสรรค (Constructive) ทางบวก (Positive)
เชิงแนะนำ (Suggestive) ใหขาวสาร (Informative) ใหและเตือนสติ เนนอนาคต (Proactive) และเสนอทางเลือก (Alternative)
บนฐานของคุณธรรมและปญญา
การทำงานในทิศทางดังกลาว สภาคณาจารย จึงไมใชฝายคาน หรือฝายเดียวกับผูบริหาร ประธานสภาก็ไมใชหัวหนา
ฝายคานหรือสนับสนุนผูบริหารมหาวิทยาลัยอยางขาดสติ หรือแบบหัวชนฝา แตสภาคณาจารยและประธานสภาคณาจารย
เปนฝายเดียวกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและสังคมไทยโดยรวม
บทบาทเชิงสรางสรรคที่สำคัญของสภาคณาอาจารยที่ทำอยางตอเนื่อง จึงเปนการนำเสนอขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ
และโครงตางๆที่สมาชิกสภาคณาจารยพิจารณาวามีความสำคัญ เปนประโยชนตอประชาคมชาวจุฬาฯ และ/หรือเปนประโยชน
ตอสังคมโดยสวนรวม
บทบาทหนาที่ของสภาคณาจารยทั้งหมดที่กลาวถึง รวมทั้งที่จะมีเพิ่มมากขึ้นในอนาคต สะทอนใหเห็นความสำคัญของ
สภาคณาจารยในฐานะที่เปนองคกรหนึ่งของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
โดยนัยเดียวกัน บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของประธานสภาก็คงจะเพิ่มและมีความทาทายมากขึ้น
ประธานสภายังตองปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการชุดตางๆในมหาวิทยาลัย และนอกมหาวิทยาลัย หนึ่งปของการเปน
ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสมัยที่ 36 (พ.ศ.2549-2550) มีงานกรรมการตางๆ ดังตอไปนี้
1.การประชุมในคณะกรรมการชุดตางๆ ของมหาวิทยาลัย
1.1 กรรมการสภามหาวิทยาลัย
1.2 กรรมการกิจการสภามหาวิทยาลัย
1.3 การประชุม อ.ก.บ. (ผูทรงคุณวุฒิ) และคณบดี
1.4 กรรมการจัดการทรัพยสิน
1.5 กรรมการนโยบายการเงิน
213
1.6 กรรมการพิจารณานำเงินฝากธนาคารพาณิชยของมหาวิทยาลัย
1.7 กรรมการนโยบายวิชาการของสภามหาวิทยาลัย
1.8 คณะทำงานดำเนินการในการแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิพิจารณาตำแหนงทา
วิชาการของมหาวิทยาลัย
1.9 คณะทำงานเฉพาะกิจพิจารณารางพระราชบัญญัติ จุฬาฯ พ.ศ. ....
1.10 คณะทำงานยกรางขอบังคับตามรางพระราชบัญญัติ จุฬาฯ พ.ศ....
1.11 กรรมการพิจารณาการตอเวลาราชการของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
1.12 ประธานดำเนินการเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทคณาจารย ประจำ
1.13 กรรมการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทผูทรงคุณวุฒิ
1.14 กรรมการผูทรงคุณวุฒิ เพื่อพิจารณาการใหปริญญากิตติมศักดิ์ และเสนอแตงตั้งศาสตราจารยกิตติคุณ
1.15 กรรมการบริหารศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
1.16 กรรมการนโยบายการรับนักเรียนเขาศึกษาในจุฬาฯโดยวิธีพิเศษ
1.17 คณะทำงานพิจารณาจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
1.18 กรรมการดำเนินการหยั่งเสียงฯ เลือกตั้งกรรมการดำเนินการสหกรณออมทรัพยจุฬาฯ
1.19 กรรมการพิจารณาหลักเกณฑการเขาสูตำแหนงศาสตราจารยของอาจารยพนักงานมหาวิทยาลัย
1.20 กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการของผูเสนอผลงานขอตำแหนง ผศ. หรือ รศ. โดยวิธีพิเศษ
1.21 กรรมการมูลนิธิสถาบันทรัพยสินทางปญญาแหงจุฬาฯ
1.22 กรรมการนโยบายรับนักเรียนเขาศึกษาในจุฬาฯ โดยวิธีพิเศษ
2. การประชุมคณะกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัย
2.1 อนุกรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะของประชาคมจุฬาฯ
2.2 ประชุมที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.)
2.3 กรรมการบริหาร ปอมท.
2.4 ผูอำนวยการฝายพัฒนาบุคลากรของ ปอมท.
2.5 ที่ปรึกษาฝายประชาสัมพันธ ปอมท.
2.6 ที่ปรึกษาฝายวิชาการ ปอมท.
ประธานสภายังทำหนาที่เปนกรรมการสรรหาคณบดี/ผูอำนวยการสถาบันตางๆในมหาวิทยาลัย ในชวงที่ดำรงตำแหนง
อยู มีการสรรหาคณบดี/ผูอำนวยการสถาบันทั้งหมด 8 แหง ไดแก
1.คณบดีคณะรัฐศาสตร
2.ผูอำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทย
3.คณบดีคณะนิเทศศาสตร
4.ผูอำนวยการสถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร
5.ผูอำนวยการสถาบันวิจัยสังคม
6.ผูอำนวยการสถาบันเอเชียศึกษา
7.ผูอำนวยการสถาบันภาษา
8.คณบดีคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี
การประชุมกรรมการแตละชุดในแตละครั้งใชเวลาคอนขางมาก บางชุดประชุมตอนเย็นหลังเวลาราชการ บางครั้งถึง
2-3 ทุม บางชุดตองใชสติปญญา เมตตา ขันติและสันติธรรมในการบริหารจัดการปญหาอยางมาก บทบาทของประธานสภา
ในการประชุมกรรมการชุดตางๆสวนใหญเปนเรื่องของการใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ ทั้งในฐานะกรรมการ นักวิชาการ
ที่ปรึกษาอธิการ เปนคนกลาง และเปนผูแทนของสภาคณาจารย หลังจากนั้นประธานจะสรุปรายงานแจงใหคณะกรรมการบริหาร
ประจำสภาฯ และที่ประชุมใหญของสภาคณาจารยเพื่อทราบและพิจารณา หากที่ประชุมมีขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ หรือมีมติ
ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และมีมติใหประธานสภานำกลับไปเสนอคณะกรรมการ หรือผูบริหารมหาวิทยาลัย ประธานสภาก็จะปฏิบัติ
214
ตามมติที่ประชุม
มีการเชิญผูบริหารมหาวิทยาลัยมาพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเห็นเปนระยะๆกับที่ประชุม
สภาคณาจารยในเรื่องที่สมาชิกสภามีความสนใจ
มีการจัดประชุมทางวิชาการประจำป 2 ครั้ง โดยเชิญวิทยากรจากทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
รับเปนเจาภาพจัดการประชุมที่ประชุมสภาอาจารยแหงประเทศไทย (ปอมท.) 1 ครั้ง
ไดรวมมือกับชมรมสมาชิกสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่มีรองศาสตราจารย ประณต นันทิยะกุล
เปนประธานชมรม (ประธานสภาเปนรองประธานชมรมโดยตำแหนง) จัดทำหนังสือคูมือสภาคณาจารย เพื่อเปนประโยชนตอ
สมาชิกสภาคณาจารย ผูเกี่ยวของ และผูสนใจทั่วไป
นอกจากนั้น ในชวงที่ปฏิบัติหนาที่ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูเขียนไดรับเชิญใหไปเปน
วิทยากร ผูรวมอภิปราย และผูบรรยายพิเศษเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัย และสภาคณาจารยในสถาบันตางๆหลายครั้ง
งานของสภาคณาจารยและประธานสภาจะสัมฤทธิผลตองอาศัยความรวมมืออยางดีจากสมาชิกสภาคณาจารย และโดย
เฉพาะการทำงานที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกรรมการบริหารประจำสภา และกรรมการชุดตางๆของสภา
การที่จะปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ของสภาคณาจารย และของประธานสภาโดยตรงและในสวนที่เกี่ยวของให
บรรลุเปาหมายไดอยางสมบูรณมากขึ้น ประธานสภาพึงปฏิบัติหนาที่อยางมีสติ ใชปญญา มีความคิดสรางสรรค มีความทุมเท
และเสียสละอยางมาก ทั้งในแงของเวลา สุขภาวะทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
หนึ่งปที่ผูเขียนปฏิบัติหนาที่ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผนวกกับภาระงานของคณาจารย
ประจำตามที่เคยรับผิดชอบอยูเดิม เปนหนึ่งปของความทุมเท เปนหนึ่งปที่ผูเขียนทำงานหนักที่สุดตั้งแตรับราชการมา เปนหนึ่งป
ที่เหนื่อยกาย ทาทายสมอง แตสุขใจและภูมิใจที่ไดรับเกียรติ์ใหเปน และทำหนาที่ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
ขอมูลและประสบการณทั้งหมดที่ปรากฏในบทความนี้ หากจะมีความดีงาม หรือเกิดประโยชนแกสภาฯสถาบันใดๆ
ผูเขียนขอมอบเปนสักการบูชาแดสภาคณาจารย และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอันเปนที่เคารพรักยิ่งของผูเขียนทั้งหมด
216
- ไมมีการเปดเผยขอมูลอันเปนความลับโดยเฉพาะขอมูล อันจะนำไปสูผลประโยชนของตัวกรรมการ สภามหาวิทยาลัย เอง
หรือผลประโยชนตอผูอื่น
- ตองหลีกเลี่ยงการเซ็นตขอตกลงทางธุรกิจใดใด ทั้งโดยตรงและโดยออม ซึ่งจะมีผลสืบเนื่องตอ กิจการมหาวิทยาลัย
ไมวาจะเปนการซื้อขายที่ดิน สินทรัพย พัสดุ ครุภัณฑ หรือ บริการใดๆ
- พึงหลีกเลี่ยงการรับของขวัญ หรือ ผลประโยชนเฉพาะตัวบุคคลจากบุคคล หรือกลุมบุคคล ที่มีการดำเนินธุรกิจ
หรือมีขอตกลงทางธุรกิจรวมกับ มหาวิทยาลัย
- ตองแจงใหที่ประชุมทราบ เมื่อไดทราบถึงความไมชอบมาพากลในการดำเนินกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ
มหาวิทยาลัย ใหนายกสภามหาวิทยาลัย และอธิการบดีทราบในทันที
อยางไรก็ตาม ขอบเขตหนาที่ของสภามหาวิทยาลัยนั้นกำหนดไวเพียงกำกับ ไมกาวกายอำนาจหนาที่ของ อธิการบดี
ซึ่งมีฐานะของผูบริหารสูงสุดทั้งโดยตำแหนง และโดยฐานะของบุคลากรสายวิชาการ อันเปนตำแหนงที่ควรไดรับการคัดเลือก
จากสภามหาวิทยาลัย ใหปฏิบัติงานบริหารมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามจุดมุงหมาย และนโยบาย ของสภามหาวิทยาลัย
โดยอาศัยวิจารณญานของตนในการสรางประโยชนสูงสุดของมหาวิทยาลัย และจะตองรายงานใหสภามหาวิทยาลัยทราบถึง
เปาหมายระยะยาวของมหาวิทยาลัย และหลักสูตรใหมๆ อันจะนำไปสูวัตถุประสงคที่เปนเปาหมายนั้น อีกทั้งยังตองรายงานให
สภามหาวิทยาลัยทราบถึงการ แตงตั้ง การจายผลตอบแทน และการเลื่อนขั้นเงินเดือนของบุคลากร การลาหยุด/ลากิจ/
ลาพักผอนของบุคลากร ใหสภามหาวิทยาลัยรับทราบ หากไดรับการสอบถาม รวมทั้งตองปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามแตจะไดรับ
มอบหมายจากสภามหาวิทยาลัย
รูปแบบการจัดองคกรในมหาวิทยาลัยซึ่งไดรับความนิยมอยูทั่วไปในปจจุบัน
รูปแบบโครงสรางมหาวิทยาลัยไทย
สำหรับรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัยของไทยนั้น สวนใหญมักมีการจำลองรูปแบบ มาในลักษณะ คลายๆกัน
มีขอกฏหมาย ที่อยูในลักษณะ พระราชบัญญัติประจำแตละมหาวิทยาลัย และ ขอบังคับ ที่เกี่ยวของ ซึ่งมีลักษณะซ้ำๆ คลายกับ
จะเปน การถายทอดไปมาระหวางกัน ตลอดจนกระทั่ง รูปแบบผังการบริหาร ก็ยังมีลักษณะแทบไมแตกตางกัน คือ
มีสภามหาวิทยาลัย เปนองคคณะที่อยูจุดสูงสุดของสายการบริหาร และมีการระบุถึงความหมาย ที่มา ตลอดจน บทบาทของ
สภามหาวิทยาลัย ไวใน มาตราที่ ๑๖, ๑๗, ๑๘ ใน พรบ. ของแตละมหาวิทยาลัย
ลักษณะเฉพาะของสภามหาวิทยาลัยไทย
จากการศึกษาขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัยทั้งของภาครัฐและเอกชน จำนวน ๑๐๘ แหง ทางอินเทอรเน็ต โดย
คนผานโฮมเพจของสถาบันการศึกษา พบลักษณะพิเศษ อันบงบอกถึงลักษณะเฉพาะของสภามหาวิทยาลัย วัฒนธรรมองคกร
ของมหาวิทยาลัย หรือ ตัวตนของผูบริหาร ไดดังนี้
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)

More Related Content

Viewers also liked

San khau
San khauSan khau
San khausonbm
 
The Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben Cardall
The Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben CardallThe Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben Cardall
The Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben CardallMX Publishing
 
4 dasar%20pemrograman%20java
4 dasar%20pemrograman%20java4 dasar%20pemrograman%20java
4 dasar%20pemrograman%20javadh15ca
 
Historicising the Human-Robot Boundary
Historicising the Human-Robot BoundaryHistoricising the Human-Robot Boundary
Historicising the Human-Robot BoundaryCaroline Edwards
 
知識管理專家課程
知識管理專家課程知識管理專家課程
知識管理專家課程KMIRC PolyU
 
VII feria cientifica colegio salesiano san luis
VII feria cientifica colegio salesiano san luisVII feria cientifica colegio salesiano san luis
VII feria cientifica colegio salesiano san luisvaleskayakue
 
Формы взаимодействия образовательных организаций с родителями, обучающимися,...
Формы взаимодействия образовательных организаций  с родителями, обучающимися,...Формы взаимодействия образовательных организаций  с родителями, обучающимися,...
Формы взаимодействия образовательных организаций с родителями, обучающимися,...TCenter500
 
Recycle and reuse of solid waste
Recycle and  reuse of solid wasteRecycle and  reuse of solid waste
Recycle and reuse of solid wasteManoj Dasi
 
CV_LI XIAONI
CV_LI XIAONICV_LI XIAONI
CV_LI XIAONIAnnie Li
 

Viewers also liked (11)

San khau
San khauSan khau
San khau
 
Franklin molina
Franklin molinaFranklin molina
Franklin molina
 
The Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben Cardall
The Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben CardallThe Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben Cardall
The Real Sherlock Holmes - The Mini Monographs With Ben Cardall
 
4 dasar%20pemrograman%20java
4 dasar%20pemrograman%20java4 dasar%20pemrograman%20java
4 dasar%20pemrograman%20java
 
Historicising the Human-Robot Boundary
Historicising the Human-Robot BoundaryHistoricising the Human-Robot Boundary
Historicising the Human-Robot Boundary
 
知識管理專家課程
知識管理專家課程知識管理專家課程
知識管理專家課程
 
VII feria cientifica colegio salesiano san luis
VII feria cientifica colegio salesiano san luisVII feria cientifica colegio salesiano san luis
VII feria cientifica colegio salesiano san luis
 
MODELO DE CITACION, ACOREL
MODELO DE CITACION, ACORELMODELO DE CITACION, ACOREL
MODELO DE CITACION, ACOREL
 
Формы взаимодействия образовательных организаций с родителями, обучающимися,...
Формы взаимодействия образовательных организаций  с родителями, обучающимися,...Формы взаимодействия образовательных организаций  с родителями, обучающимися,...
Формы взаимодействия образовательных организаций с родителями, обучающимися,...
 
Recycle and reuse of solid waste
Recycle and  reuse of solid wasteRecycle and  reuse of solid waste
Recycle and reuse of solid waste
 
CV_LI XIAONI
CV_LI XIAONICV_LI XIAONI
CV_LI XIAONI
 

Similar to บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)

Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติkruniti
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2chaiwat vichianchai
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนYumisnow Manoratch
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...sirimongkol9990
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
การทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทย
การทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทยการทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทย
การทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทยสุรพล ศรีบุญทรง
 
งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1Narinpho
 

Similar to บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225) (10)

Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
 
T5
T5T5
T5
 
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
IS นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตร...
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
การทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทย
การทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทยการทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทย
การทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยไทย
 
งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1งานนำเสนอวิชาการ1
งานนำเสนอวิชาการ1
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยแบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
แบบทดสอบธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
บทความการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย (หน้า226 248)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
2.เรื่องการวิจัยสภาสถาบันอุดมศึกษา โดยศ.ดร.สมหวัง(หน้า 63 70)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 

บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)

  • 1. 197 บทคัดยอ การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับภาระงานของอาจารย มหาวิทยาลัยเชียงใหมเกิดขึ้นดวยเหตุผลที่มหาวิทยาลัย เชียงใหมไดออกแบบภาระงานขั้นต่ำของอาจารยทุกสาขาวิชา (สาขาวิทยา ศาสตรสุขภาพ สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสาขาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตร) เพื่อทดลองใชตั้งแต 1 เมษายน – 30 กันยายน 2550 โดยกำหนดใหมีภาระงาน 5 ลักษณะ คือ งานการเรียนการสอน งานวิจัย งานการพัฒนานักศึกษา งานบริการวิชาการ และงานบริหารและอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย โดยใน 4 ภาระงานแรกตองมีผลของงานรวมแลวไมนอยกวา 82.5 % ทำใหที่ประชุมกรรมการสภาอาจารย มหาวิทยาลัยเชียงใหม ลงความเห็นวา ควรจัดทำแบบสอบถามใหคณาจารยไดแสดงความคิดเห็น โดยเสนอใหมีภาระงาน ขั้นต่ำทั้ง 5 งานเหมือนกับมหาวิทยาลัย โดยมีภาระงานรวมกันไมต่ำกวา 80 % สวนอีก 20 % อาจารยแตละทานสามารถปฎิบัติ ในภาระงานใดก็ไดตามความสนใจและความถนัด พรอมกับใหโอกาสเสนอแนะขอคิดเห็น ผลการสำรวจและไดรับแบบสอบถาม กลับมา 412 ชุดพบขอสรุปวา คณาจารยสวนใหญเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย ยกเวนเกณฑ ของงานพัฒนานักศึกษา กลาวคือ รอยละ 87.2 88.1 และ 73.2 ระบุวาควรมีภาระงานสอน งานวิจัย และงานบริการวิชาการ ไมนอยกวา 50 12 และ 5 % ตามลำดับ สวนงานพัฒนานักศึกษาไมควรกำหนดมากกวา 5% (รอยละ 74.4 ของผูตอบ แบบสอบถาม) เมื่อพิจารณาในแตละสาขาวิชา จะเห็นวา สาขาวิชาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตร มีธรรมชาติของงานสอน มากกวาสาขาวิทยา ศาสตรสุขภาพ และสาขาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ในขณะที่สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะเนนหนัก ดานงานวิจัย สวนสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ การใหบริการดานวิชาการจะมีมาก กวาสาขาอื่น อยางไรก็ตามกอนใชเกณฑนี้มหาวิทยาลัยควรชี้แจง ทำความเขาใจ และเพิ่มประเภทของงานที่ยังไมครอบคลุม รวมทั้งการคิดภาระงาน ควรมีความยืดหยุน ตามลักษณะงาน / ธรรมชาติ ของสาขาวิชาที่แตกตางกัน วิธีการ (Methodology) การสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับภาระงานของอาจารย เปนการสำรวจที่ตองการทราบความคิดเห็นของคณาจารย ในมหาวิทยาลัยเชียงใหมทั้งหมด จึงไดทำการสำรวจความเห็นคณาจารยทุกคนผานตัวแทนกรรมการสภาอาจารยของ แตละคณะ จำนวนทั้งหมด 20 คณะ โดยแบงกลุมคณะตามลักษณะสาขาวิชาเปน 3 กลุม คือ1. สาขาวิทยา ศาสตรสุขภาพ 2. สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ3. สาขาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตรไดแบบสอบถามตอบกลับทั้งสิ้น 412 ชุด
  • 2. 198 ผลการสำรวจ ผลการสำรวจแบงออกเปน 3 ตอนดังนี้ 1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม พบวา สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ มีผูตอบทั้งหมด 224 คน ในจำนวนนี้เปนเพศหญิงประมาณ 2 เทาของเพศชาย เปนขาราชการประมาณ 4 เทาของพนักงานมหาวิทยาลัย และไมเปนผูบริหาร 79% สวนใหญ (37%) มีอายุอยูระหวาง 31-40 ป โดย 39% ของผูตอบแบบสอบถามระบุวา รับราชการนาน 6-15 ป สวนนอย (17%) อายุราชการ <5 ป และสวนใหญ (38%) ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม 6-15 ปเชนกัน และมีปริมาณเทาๆ กัน (20-21%) ที่ระบุวาทำงานในมหาวิทยาลัย เชียงใหมเปนระยะเวลา <5, 16-25 และ >25 ป สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีผูตอบทั้งหมด 119 คน เปนเพศชายมากกวาหญิง คือประมาณ 3 เทาของเพศหญิง เปนขาราชการประมาณ 2 เทาของพนักงานมหาวิทยาลัย และสวนใหญ (79%) ไมเปนผูบริหาร ผูตอบประมาณ 40% มีอายุ ระหวาง 31-40 ป สวนนอยที่สุด (5%) อายุ <30 ป ในจำนวนผูตอบทั้งหมด สวนใหญ (37%) รับราชการนาน 6-15 ป รองลงมา ในปริมาณที่เทาๆ กัน (23-25%) อายุราชการ <5 ป และ 16-25 ป กลุมที่นอยที่สุด (15%) อายุราชการนาน >25 ป ในจำนวนนี้ สวนใหญ (40%) ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม 6-15 ปเชนกัน ขณะที่ 27% ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม <5 ป และ 19% ทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม 16-25 ป สาขาสังคมศาสตร – มนุษยศาสตร มีผูตอบทั้งหมด 71 คน ในจำนวนนี้เปนเพศชายประมาณ 2.5 เทาของเพศหญิง เปนพนักงานมหาวิทยาลัยประมาณ 2 เทาของขาราชการ และไมเปนผูบริหาร 75% โดยมีอายุอยูระหวาง 31-40 ป เปนสวนใหญ (32%) สวนนอยที่สุด (9%) อายุ <30 ป เชนกัน ในจำนวนผูตอบทั้งหมดนี้ มีผูรับราชการจำนวนเทาๆ กัน (27-30%) เปนระยะ เวลา <5, 6-15 และ > 25 ป สวนนอย (14%) ที่ระบุวามีอายุราชการ 16-25 ป ทั้งนี้สวนใหญ (65%) ทำงานในมหาวิทยาลัย เชียงใหม <15 ป โดย 1 ใน 3 ของผูตอบกลุมนี้เพิ่งจะเขามาทำงาน (<5 ป) สวนผูที่ระบุวาทำงานในมหาวิทยาลัยเชียงใหม ระหวาง 6-15 ป มีจำนวนมากที่สุดคือ 44% และรองลงมา >25 ป มีจำนวนเทากับ 25% (ดังแสดงในตาราง 1)
  • 3. 199 1 ( , n ) - (n=224) (n=119) (n=71) 32.1 73.9 71.8 67.9 26.1 28.2 79.5 65.5 33.8 20.5 34.5 66.2 21.0 21.0 25.4 79.0 79.0 74.6 ( ) < 30 6.3 5.0 8.5 31-40 36.6 40.3 32.4 41-50 21.0 17.6 19.7 > 50 23.2 14.3 23.9 12.9 22.7 15.5 ( ) < 5 16.5 25.2 26.8 6-15 39.3 37.0 29.6 16-25 22.3 22.7 14.1 > 25 21.9 15.1 29.6 . ( ) < 5 20.1 26.9 21.1 6-15 38.4 39.5 43.7 16-25 20.5 18.5 9.9 > 25 21.0 15.1 25.4 2. ขอมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำหนดสัดสวนภาระงาน สามารถสรุปในแตละภาระงานไดดังตอไปนี้ ภาระงานการเรียนการสอน คณาจารยทั้ง 3 กลุมสาขาวิชา สวนใหญ (78-82%) เห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการสภาอาจารย คือประมาณ รอยละ 50 ของงานทั้งหมด (50-51.4%) แตเมื่อเปรียบเทียบระหวางการมีภาระ งานการเรียนการสอน 0-48% และ 55-75% พบวา มีผูเสนอปริมาณเทาๆ กันในสาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร ขณะที่ สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพมีผูเสนอภาระงาน 0-48% มากกวา 55-75% ทำใหผลโดยเฉลี่ย มีผูเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (50-51.4%) ถึง 79.5% ของผู
  • 4. 200 ตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมา 12.8% ตองการใหมีภาระงานการเรียนการสอนเพียง <50% ขณะที่ 7.7% ตองการใหมี ภาระงาน >55% จากผลสำรวจนี้ อาจกลาวไดวาสาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร มีภาระการเรียนการสอนในปริมาณที่มากกวา หรือเนนภาระการเรียนการสอนมากกวาสาขาอื่น ภาระงานวิจัย คณาจารยทั้ง 3 กลุมสาขาวิชาสวนใหญ (62-72%) เห็นดวยกับการกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการสภาอาจารย (12-15%) ทั้งนี้ผูตอบแบบสอบถามในกลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประสงคจะใหกำหนดสูงกวา เกณฑนี้ คือ ระหวาง 17-50% ของภาระงานทั้งหมด มีจำนวนมากถึง 21% ซึ่งสูงกวาอีก 2 สาขาอยางชัดเจน อยางไรก็ดีในสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ รอยละ 14.3 ประสงคจะใหมีภาระงานวิจัย <12% ซึ่งแสดงใหเห็นวา สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพมีภาระงานอื่น เชน ดานการบริการ มากกวาอีก 2 สาขา ภาระงานการพัฒนานักศึกษา ผลการวิเคราะหในสวนนี้เปนที่นาสังเกตวา ทั้ง 3 สาขาวิชาไมเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานทั้งโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (5-10%) โดยสวนใหญ (66-79%) มีความเห็นตรงกันวา ควรมีภาระงานเพียง 3-5% เทานั้น รองลงมา (17-29%) เห็นดวยวาควรมีภาระงานตามที่มหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารยกำหนด (5-10%) ทำให ผลโดยเฉลี่ย มีผูเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานวิจัยโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารยเพียง 23.2% ขณะที่ ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ 71.2% ตองการใหมีภาระงานนี้เพียง 3-5% ผลสำรวจนี้นาสนใจตรงที่วาความเห็นในทุกสาขาไมเห็นดวยกับทั้งมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย และตองการใหมีปริมาณงานในสวนนี้คอนขางนอย ทั้งๆ ที่เปนภาระงานสำคัญ คือ การพัฒนานักศึกษา ทั้งนี้อาจเปนเพราะมี ความไมชัดเจนในการกำหนดลักษณะงานนี้ก็ได ภาระงานบริการวิชาการ สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพและสาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตร พบวา สวนใหญ (84-94%) เห็นดวยกับ การกำหนดภาระงานโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (5-15%) ขณะที่สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีผูเห็นดวยเพียง 26% เทานั้น แตมีอีก 71% ของผูตอบแบบสอบถาม ประสงคจะใหมีภาระงานชนิดนี้ <5% ทั้งนี้อาจเปนเพราะ สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีภาระงานสอนและวิจัยในปริมาณที่มาก อีกทั้งโอกาสการใหบริการ (ของบางคณะ เชน คณะวิทยาศาสตร) เปนไปไดนอยกวาสาขาอื่น เชน สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพมีผูใชบริการเขามาเปนจำนวนมาก ทำให ผลสำรวจโดยรวมและคำนวณเปนคาเฉลี่ย พบวา มีผูเห็นดวยกับการกำหนดภาระงานบริการวิชาการโดยมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการสภาอาจารย (5-15%) เพียง 68.1% ของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด รองลงมาจำนวน 26.8% ตองการใหมี ภาระงานนี้เพียง 0-5% ภาระงานบริหารและงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย ผลจากการสำรวจพบวา สาขาสังคมศาสตร-มนุษยศาสตรมีความเห็นที่ตางไปจากที่กำหนดโดยมหาวิทยาลัย และ คณะกรรมการสภาอาจารย (0-5%) กลาวคือ สวนใหญ 76% ตองการใหมีภาระงานในสวนนี้ 5-10% และมีอีกจำนวน 13% ที่ตองการเพิ่มเปน 10-40% ของภาระงานทั้งหมด ในขณะที่สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ เห็นดวยกับเกณฑที่กำหนดโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย (0-5%) เปนสวนใหญ (90-92%) ในสวนสุดทายเปนการแสดงความคิดเห็นโดยอิสระในแตละภาระงาน พบวา มีผูเสนอใหมีรายการเพิ่มเติมจากที่ระบุ ในแบบสอบถาม ดังนี้
  • 5. 201 ภาระงานการเรียนการสอน ควรเพิ่ม ภาระงานการสอนเสริมหรือการติว ผูประสานงานของกระบวนวิชาที่มีหลายตอน ทัศนศึกษาที่เกี่ยวกับวิชา ที่สอนหรือการพานักศึกษาดูงานนอกสถานที่ ภาระงานวิจัย ควรเพิ่ม ภาระงานที่ปรึกษาโครงการวิจัย / ที่ปรึกษารวม การคิดภาระงานในขั้นตอนกอนการไดโครงการวิจัย เชน การคนควาขอมูล การติดตอประสานงานดานตางๆ การติดตอหัวหนาอุทยานแหงชาติในการขอใชสถานที่ในการทำวิจัย การเตรียมหัวขอ / การสำรวจภาคสนามเบื้องตน เปนตน และควรคำนึงถึงภาระงานการวิจัยรวมสาขาตาง ๆ ใหเปนสัดสวน เพื่อเปนภาระงานที่ชัดเจน ภาระงานการพัฒนานักศึกษา ควรเพิ่ม ภาระงานของกิจกรรมที่พัฒนานักศึกษาทางคุณธรรมและจริยธรรม เชน จัดกิจกรรมสงเสริมนักศึกษา ในการบำเพ็ญประโยชนกับสังคม การจัดอบรมใหนักศึกษา / เสริมทักษะ /กิจกรรมการประกวดแขงขันตางๆ การใหขอมูล ความรูประสบการณในการดำเนินชีวิตของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย รวมถึงการแนะนำนักศึกษาในเรื่องตางๆ ที่อาจ ไมไดเกี่ยวของกับการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพิเศษสำหรับนักศึกษา บัณฑิตศึกษา เพื่อพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ และการวิจัย การปลูกฝงและทำนุบำรุงภาษาศิลปะ วัฒนธรรมแหงชาติ เปนตน ภาระงานบริการวิชาการ ควรเพิ่ม การเขียนหลักสูตรฝกอบรมบุคลากรทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน การจัดฝกอบรมหลักสูตรเฉพาะ ใหกับองคกรภายนอก การจัดรายการวิจัย – โทรทัศน การรวมกิจกรรมชุมชน ใหรวมมือกับทองถิ่น การเผยแพรรูปแบบอื่นๆ เชน ประชาสัมพันธลงใน Web page งานเขียนหนังสือ / ตำรา / งานเขียนรูปแบบอื่นๆ เชน สารคดี บันเทิง ฯลฯ การรับรอง ผูที่มาดูงานจากตางประเทศ การรับนักศึกษา – ฝกงาน การเปน Host ใหกับอาจารยและนักศึกษาตางชาติ การจัดประชุม วิชาการโดยเฉพาะระดับนานาชาติ Reviewer board, Editorial board และผูจัดทำในวารสารระดับตาง ๆ การเปนที่ปรึกษา ใหแกโรงพยาบาลหรือสถานบริการ การใหคำปรึกษาแกนักศึกษาที่ไมใช Advisee ของตนเอง เปนกรรมการในองคกรเอกชน, รัฐวิสาหกิจ หรือองคกรไมแสวงหาผลกำไร และการเปนอาจารยพิเศษ เปนตน ภาระงานบริหารและงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย ควรเพิ่ม ประธานสาขาวิชา / หลักสูตรพิเศษตางๆ / หัวหนาโครงการ / หัวหนาศูนย กรรมการกิจกรรมเฉพาะกิจ เปนครั้งคราว /ในสาขา / ภาควิชา กรรมการบริหารหลักสูตร ปกติและพิเศษทุกระดับ การเปนอาจารยในหลักสูตรหรือคณะ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม งานบริการอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมายทั้งในหรือนอกองคกร และงานอื่นๆ ที่ชวยเหลือโดยไมมีการ มอบหมายจากองคกร แตไดรับการรองขอจากองคกรภายนอก เปนตน (ดังแสดงในตาราง 2)
  • 6. 202 2 -TOR (n=224) (n=119) (n=71) <50 (0-48) * 16.5 13.4 8.5 12.8 50-51.4 ** 77.7 79.0 81.7 79.5 >55 (55-75) 5.8 7.6 9.9 7.7 <12 (0-12) 14.3 10.1 11.3 11.9 12-15 ** 72.3 62.2 69.0 67.8 15-30 (17-30) 10.7 21.0 19.7 17.1 30-40 (35-40) 1.8 4.2 - 3.0 >40 (50) 0.9 2.5 - 1.7 <2.5 (0-2.5) 3.6 3.4 2.8 3.2 2.5-5 (3-5) 79.0 65.5 69.0 71.2 5-10 ** 16.9 28.6 23.9 23.2 10-15 (15) 0.5 1.7 2.8 1.6 >15 (20-25) 0.8 1.4 1.1 <5 (0-5) 6.3 71.4 2.8 26.8 5-15 ** 83.9 26.1 94.4 68.1 15-30 (20-30) 7.6 2.5 2.8 4.3 30-45 (35-45) 2.2 - - 2.2 >5 ** 90.6 92.4 11.3 64.8 5-10 4.5 7.6 76.1 29.4 10-25 3.1 - 11.3 7.2 25-40 (30-40) 1.3 - 1.4 1.4 >40 (50) 0.5 - - 0.4 หมายเหตุ * ขอมูลในวงเล็บคือ ชวงของการตอบ ** เกณฑที่เสนอโดยมหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภาอาจารย 3. ขอเสนอแนะอื่นๆ กอนใชกฏเกณฑนี้ คณาจารยมหาวิทยาลัยเชียงใหมเห็นวาควรทำประชาพิจารณและชี้แจงบุคลากรใหทราบโดยทั่วไป ควรคิดภาระงานทุกอยางใหสะทอนการปฎิบัติงานตามความเปนจริง ภาระงานควรกำหนดเกณฑกวางๆ เชน การสอน 40 – 60% ตามลักษณะ ธรรมชาติของคณะ ภาควิชา แตควรยืดหยุนได ทั้งนี้เพราะแตละสาขาวิชามีธรรมชาติตางกัน เชน สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพควรเพิ่มสัดสวนภาระงานบริการวิชาการใหมากขึ้น โดยใหมีกรรมการประเมินคุณภาพงาน โดยเนนคุณภาพของงานเปนหลัก
  • 7. 203 บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ ในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยใชแบบสำรวจเกี่ยวกับปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจ สนับสนุนหรือไมสนับสนุนการนำมหาวิทยาลัย ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กลุมตัวอยาง ไดแก ขาราชการ พนักงานประจำ ลูกจางชั่วคราว ลูกจางประจำ และพนักงานราชการ ซึ่งเปน บุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 565 คน ผลการศึกษาพบวา บุคลากรมีความเห็นวาปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาลัยนเรศวรปจจุบันไปเปนมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐนั้นเปนประเด็นขอกังวลใจตาง ๆ ของบุคลากร ซึ่งสามารถแสดงประมาณกลุมตัวอยางที่มีความกังวลใจไดดังนี้ 1) ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ 2) ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับ มหาวิทยาลัย 3) ระบบสวัสดิการของพนักงานและลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 4) ผลประโยชนตอบแทนของ พนักงานและลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 5) ที่มาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย 6) เกรงวามหาวิทยาลัยจะรับนิสิต โดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ 7) ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน 8) การเพิ่มขึ้นของ คาใชจายที่ฟุมเฟอยของมหาวิทยาลัย 9) ระบบการบริหารงานของคณะ 10) การยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา เปนตน 11) เงินคาตอบแทนผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญของบุคลากรสายสนับสนุน 12) วาระของอธิการบดี 13) ที่มาของสภา มหาวิทยาลัย 14) องคประกอบของสภามหาวิทยาลัย และ 15) วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัย มีปริมาณรอยละ 69.20, 66.19, 64.78, 60.00, 53.63, 53.27, 52.21, 49.91, 42.12, 32.00, 32.00, 29.91, 29.73, 26.19 และ21.23 ตามลำดับ คำสำคัญ : มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ปจจัยที่สงผล มหาวิทยาลัยนเรศวร ความเปนมาของปญหา รัฐบาลชุดปจจุบันไดมีนโยบายใหมหาวิทยาลัยของรัฐปรับเปลี่ยนสถานภาพเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เพื่อกระจายอำนาจในการบริหารจัดการศึกษาใหเกิดความคลองตัวในการบริหารงานและบริหารงบประมาณที่รัฐบาลจัดสรร ใหเปนเงินอุดหนุน(Block Grant) ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความเหมาะสมสอดคลองกับธรรมชาติของแตละมหาวิทยาลัย ในการสรางคนดี คนเกง เปนผูนำสังคม และสามารถตอบสนองกลไกการตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล ซึ่งถาชาวมหาวิทยาลัยเขาใจถึงเหตุผลความเปนมาดังกลาว ก็จะเขาใจเปาหมายที่เปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยคำนึงถึง ผลประโยชนของสวนรวมเปนที่ตั้ง มีเหตุมีผลเปนธรรมกับทุกคน
  • 8. 204 ดังนั้น งานสภาอาจารยจึงไดศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวรขึ้น เพื่อรวบรวมขอมูลนำเสนอให มหาวิทยาลัยไปพิจารณาดำเนินการ ตามสมควรตอไป จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในทัศนะของบุคลากร มหาวิทยาลัยนเรศวร ความสำคัญของการศึกษาคนควา 1. ทำใหทราบปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร 2. นำขอมูลที่ไดจากการศึกษาเสนอใหมหาวิทยาลัย เพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ขอบเขตของการศึกษาคนควา การศึกษาคนควาครั้งนี้ไดกำหนดขอบเขตไวดังนี้ 1. การศึกษาคนควาครั้งนี้มุงศึกษาปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ใน 15 ประเด็น ดังนี้ 1) ที่มาของสภามหาวิทยาลัย 2) องคประกอบ ของสภามหาวิทยาลัย 3) วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัย 4) ที่มาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย 5) วาระของ อธิการบดี 6) ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย 7) การยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา เปนตน 8) ระบบการบริหารงานของคณะ 9) เงินคาตอบแทนผูชำนาญการและผูเชี่ยวชาญของบุคลากรสายสนับสนุน 10) ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ 11) ผลประโยชนตอบแทนของพนักงานและลูกจาง เมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 12) ระบบสวัสดิการของพนักงานและลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ 13) ผลกระทบ ตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน 14) การเพิ่มขึ้นของคาใชจายที่ฟุมเฟอยของมหาวิทยาลัย และ 15) เกรงวา มหาวิทยาลัยจะรับนิสิตโดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ 2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนบุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวรที่เปนขาราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย ลูกจางชั่วคราว ลูกจางประจำ และพนักงานราชการ รวมจำนวนทั้งสิ้น 565 คน 3. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควาในครั้งนี้เปนแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอการนำมหาวิทยาลัย นเรศวรไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในทัศนะของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ใน 15 ประเด็น ซึ่งประเด็น คำถามไดจากการเสนอของคณะกรรมการสภาอาจารย ประจำป 2550 การเก็บขอมูลและการวิเคราะหขอมูล โดยแจกแบบสอบถามใหคณะผูวิจัยทำการเก็บขอมูลกลุมตัวอยางในชวงเดือนมกราคม 2550 และทำการวิเคราะห ขอมูลในเดือน กุมภาพันธ 2550 ดังภาพที่ 1
  • 9. 205 ภาพที่ 1 สถานภาพของกลุมตัวอยาง เมื่อพิจารณาสถานภาพของกลุมตัวอยาง ซึ่งเปนบุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 565 คน พบวาเปน ขาราชการคิดเปนรอยละ 21.06 พนักงานประจำรอยละ 46.37 ลูกจางประจำรอยละ 5.84 พนักงานราชการรอยละ 8.50 และลูกจางชั่วคราวรอยละ 18.23 2. ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางทั้งหมดตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวรไปสูการ เปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในอนาคต ดังแสดงไวในภาพที่ 2 ภาพที่ 2 ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางทั้งหมด ตอประเด็นปจจัยตางๆ เมื่อพิจารณาความคิดเห็นของกลุมตัวอยางพบวา ประเด็นปจจัยที่บุคลากรใหความสำคัญมากที่สุด ไดแก ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ซึ่งมีคาความถี่ 391 และประเด็นปจจัยอื่น ๆ สำคัญรองลงไป ไดแก ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 374 ระบบสวัสดิการของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการมีคาความถี่ 366 ผลประโยชนตอบแทนของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบ กับขาราชการ มีคาความถี่ 303 เกรงวามหาวิทยาลัยจะรับนิสิตโดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ มีคาความถี่ 301 ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน มีคาความถี่ 295 การเพิ่มขึ้นของคาใชจายที่ฟุมเฟอย ของมหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 282 ระบบการบริหารงานของคณะ มีคาความถี่ 238 การยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา เปนตน มีคาความถี่ 181 เงินคาตอบแทนผูชำนาญการ และผูเชี่ยวชาญของบุคลากร สายสนับสนุน มีคาความถี่ 181 วาระของอธิการบดี มีคาความถี่ 169 ที่มาของสภามหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 168 องคประกอบของสภามหาวิทยาลัย มีคา ความถี่ 148 วาระของกรรมการสภามหาวิทยาลัย มีคาความถี่ 120 ตามลำดับ
  • 10. 206 3. ความคิดเห็นของขาราชการตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัย ในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 3 ภาพที่ 3 ความคิดเห็นของขาราชการ ตอ ประเด็นปจจัยตาง ๆ ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของขาราชการ ( จำนวน 119 คน ) ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ พบวาประเด็น ที่มีความสำคัญ 5 อันดับแรก ไดแก ระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย ระบบการประเมิน การทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ที่มาของผูบริหาร ระดับมหาวิทยาลัย ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียน ที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน และการเพิ่มขึ้นของคาใชจาย ที่ฟุมเฟอยของมหาวิทยาลัย และเกรงวามหาวิทยาลัยจะรับนิสิต โดยคำนึงถึงคุณภาพนอยกวาปริมาณ และกลุมตัวอยางขาราชการใหความสำคัญนอยที่สุด ตอประเด็นวาระของกรรมการ สภามหาวิทยาลัย และการยุบเลิกหนวยงานยอย เชน ภาควิชา เปนตน อาจเปนเพราะขาราชการมีความคิดวาผูบริหาร ระดับมหาวิทยาลัย จะเปนผูกำหนดนโยบายและทิศทางของมหาวิทยาลัย อันจะสงผลตอการพัฒนามหาวิทยาลัย ใหแขงขัน กับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเชิงคุณภาพของบัณฑิต นอกจากนี้ ขาราชการยังใหความสำคัญ ตอระบบประเมินการทำงาน เปนอยางมาก เพราะมหาวิทยาลัยยังไมมีการกำหนดระบบประเมินที่แนนอนชัดเจน 4. ความคิดเห็นของอาจารย ( ขาราชการสาย ก ) ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 4 ภาพที่ 4 ความคิดเห็นของอาจารยตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
  • 11. 207 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของอาจารย จำนวน 80 คน พบวาอาจารยใหความสำคัญตอระบบ การตรวจสอบการ ทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัยมากที่สุด และอีก 4 ลำดับ รองลงมาไดแก ที่มาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย และระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ผลกระทบตอนิสิตในรูปคาเลาเรียนที่สูงขึ้นมากเกินจำเปน ระบบการบริหารงานของคณะ และวาระ ของอธิการบดี ซึ่งแสดงวาอาจารยมีความคิดเห็นวาผูบริหารควรปฏิบัติงานในกรอบ ที่บุคลากร สามารถรับรูได และควรมีระบบการตรวจสอบการบริหารงานอยางชัดเจน รวมทั้งอาจารยคำนึงถึงวิธีการไดมาซึ่ง ผูบริหาร เพราะอาจจะทำใหไดผูบริหารที่มีวิสัยทัศนไมสอดคลองกับความตองการขององคกร 5. ความคิดเห็นของขาราชการสาย ข และสาย ค ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 5 ภาพที่ 5 ความคิดเห็นของขาราชการสาย ข และสาย ค ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของขาราชการสาย ข จำนวน 10 คน ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ เปนไปตามแผนภาพ ที่ 5 ซึ่งขาราชการสาย ข ใหความสำคัญตอ “ เงินคาตอบแทนผูชำนาญการ และผูเชี่ยวชาญของบุคลากรสายสนับสนุน “ มากที่สุด ซึ่งอาจเนื่องจากกลุมตัวอยางมีความวิตกกังวลถึงสภาพความมั่นคงในการปฏิบัติงาน ในแงของคาตอบแทนที่เพิ่มขึ้น กลุมตัวอยางที่เปนขาราชการสาย ค จำนวน 29 คน ใหความสำคัญตอประเด็น “ ระบบประเมินการทำงาน ของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ “ มากที่สุด อาจเนื่องมาจากมหาวิทยาลัยยังไมไดกำหนด หรือชี้แจงระบบประเมิน ที่ชัดเจน เมื่อมหาวิทยาลัยอยูในสภาพมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ นอกจากนี้ ประเด็นอื่น ๆ ที่ใหความสำคัญลำดับแรก ๆ จะคลายคลึงกับของขาราชการสาย ก 6. ความคิดเห็นของพนักงานประจำสายวิชาการ และสายสนับสนุน ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 6
  • 12. 208 ภาพที่ 6 ความคิดเห็นของพนักงานประจำสายวิชาการ และสายสนับสนุน ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ ผลการศึกษาพบวา พนักงานประจำสายสนับสนุน จำนวน 177 คน ใหความสำคัญตอการแสดงความคิดเห็น ตอปจจัยตาง ๆ มากกวาพนักงานประจำสายวิชาการ จำนวน 85 คน ซึ่งอาจจะมีผลกระทบ เมื่อมีการนำมหาวิทยาลัย ไปเปนมหาวิทยาลัยในกำกับคอนขางมากกวา เนื่องจากลักษณะของงานเปนลักษณะเชนเดียวกับขาราชการสาย ข และ สาย ค ซึ่งผูบริหารมีอำนาจบังคับบัญชาโดยตรง โดยมีผลตอการสนับสนุนใหเขาสูตำแหนงที่สูงขึ้น หรือ ไดรับการพิจารณา เลื่อนขั้นเปนกรณีพิเศษ ซึ่งนั่นหมายถึงความมั่นคงของการปฏิบัติงานจะขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชา อยางไรก็ตามพนักงานสาย สนับสนุนก็ใหความสำคัญตอปจจัยเกี่ยวกับระบบสวัสดิการ ผลประโยชนตอบแทนของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบ กับขาราชการ และระบบการประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ เหมือนกัน เนื่องจากเปนปจจัย ที่เกี่ยวของกับความมั่นคงของอาชีพ 7. ความคิดเห็นของลูกจางประจำ และพนักงานราชการ ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปนมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 7 ภาพที่ 7 ความคิดเห็นของลูกจางประจำ และพนักงานราชการ ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
  • 13. 209 ผลการศึกษาพบวา ลูกจางประจำ จำนวน 33 คน มีความคิดเห็นตอประเด็นปจจัยคลาย ๆ กับขาราชการ โดยคำนึงถึงการไดมาของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย และระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารระดับมหาวิทยาลัย มากกวาปจจัยอื่น ๆ แตขณะเดียวกัน ก็คำนึงถึงความมั่นคงและคุณภาพของนิสิตดวย ซึ่งแตกตางจากพนักงานราชการ จำนวน 48 คน ซึ่งคำนึงถึงความมั่นคงในอาชีพมากกวา ซึ่งไดแก ผลประโยชนตอบแทนของพนักงาน และลูกจาง เมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ ระบบสวัสดิการของพนักงานและลูกจางเปรียบเทียบกับขาราชการ และระบบการประเมิน การทำงานของพนักงานลูกจาง และขาราชการ 8. ความคิดเห็นของลูกจางชั่วคราว ตอประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการนำมหาวิทยาลัยนเรศวร ไปสูการเปน มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ดังแสดงไวในภาพที่ 8 ผลวิเคราะหความคิดเห็นของลูกจางชั่วคราว จำนวน 103 คน พบวา ลูกจางชั่วคราวใหความสำคัญมากตอประเด็น ความมั่นคงของการทำงาน ซึ่งไดแก ระบบประเมินการทำงานของพนักงาน ลูกจาง และขาราชการ ผลประโยชนตอบแทน ของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับขาราชการ และระบบสวัสดิการของพนักงาน และลูกจางเมื่อเปรียบเทียบกับ ขาราชการ ซึ่งอาจเปนเพราะลูกจางชั่วคราวมีสัญญาจางในการทำงานระยะสั้น เชน รายวัน รายเดือน รายป เปนตน และดวยเหตุนี้ ลูกจางชั่วคราว จึงใหความสำคัญของระบบการตรวจสอบการทำงานของผูบริหารดวย เพราะอาจจะมีผลตอการ ตอสัญญาของลูกจางชั่วคราวได สรุปผลการศึกษา การศึกษาประเด็นปจจัยที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนสถานภาพของมหาวิทยาลัยของรัฐ ไปเปนมหาวิทยาลัยในกำกับ ของรัฐ ในความคิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ในป 2550 นั้น ไดแสดงใหเห็นชัดเจนวา บุคลากรใหความสำคัญ มากตอการไดมาซึ่งผูบริหาร รวมทั้งการทำงานของผูบริหาร ซึ่งขณะเดียวกันก็ใหความสำคัญมากตอปจจัยดานความมั่นคง ของการปฏิบัติงาน เชน สวัสดิการฯผลประโยชนตอบแทนฯ และระบบการประเมินการทำงานฯ เปนตน ดังนั้น ขอมูล ดังกลาวนี้ ผูบริหารและผูที่เกี่ยวของในการเปลี่ยนสถานภาพของมหาวิทยาลัย นาจะนำไปใชประโยชนในการตัดสินใจ ไดสวนหนึ่งในอนาคต กิตติกรรมประกาศ คณะผูวิจัยขอขอบคุณ รองศาสตราจารย ดร.รัตนา สนั่นเมือง ประธานสภาอาจารย ที่ใหคำแนะนำในการทำวิจัย เรื่องนี้ จนกระทั่งไดบทความวิจัยที่สมบูรณ และคณะกรรมการสภาอาจารย มหาวิทยาลัยนเรศวร ป พ.ศ.2550 เปนอยางสูง ที่ใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ภาพที่ 8 ความคิดเห็นของลูกจางชั่วคราว ตอประเด็นปจจัยตาง ๆ
  • 14.
  • 15. 211 บทบาท หนาที่ของสภาคณาจารยและโดยเฉพาะบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของประธานสภาคณาจารย ที่ปรากฏในบทความนี้ เขียนขึ้นจากประสบการณตรงของผูเขียนที่ดำรงตำแหนงประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มีจุดมุงหมายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณกับผูที่ดำรงตำแหนงประธานสภาฯ ในสถาบันอุดมศึกษาตางๆ อีกทั้งยังหวังใหเปนฐานขอมูลแกผูที่สนใจจะเปนประธานสภาฯ ตอไปในอนาคต ในพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2522 ไดระบุหนาที่ของสภาคณาจารยไวใน หมวด 2 มาตรา 22 วา “ใหมีสภาคณาจารยมหาวิทยาลัยทำหนาที่ใหคำปรึกษา และขอแนะนำตออธิการบดี และหนาที่อื่นตามที่ สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย ประกอบดวยสมาชิก ซึ่งคณาจารยประจำของมหาวิทยาลัยเลือกตั้งขึ้น จากคณาจารยประจำของมหาวิทยาลัย จำนวนสมาชิก หลักเกณฑและวิธีการเลือกตั้ง และการดำเนินงานของสภาคณาจารยมหาวิทยาลัย ใหกำหนด เปนขอบังคับของมหาวิทยาลัย” และในขอบังคับ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวย สภาคณาจารย พ.ศ. 2522 ไดระบุหนาที่ของสภาคณาจารยไวใน ขอ 5 ของขอบังคับวา “ขอ 5 สภาคณาจารยในฐานะตัวแทนของคณาจารยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีหนาที่ใหคำปรึกษา และขอแนะนำตอ อธิการบดีเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัย และมีหนาที่ซึ่งรวมตลอดถึง 5.1 เสนอแนะกฎเกณฑเกี่ยวกับตำแหนงทางวิชาการและมาตรฐานทางวิชาการ 5.2 เสนอแนะในเชิงประเมินผลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย 5.3 เสนอแนะเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายของมหาวิทยาลัย 5.4 เสนอแนะเกี่ยวกับการสรางความสัมพันธอันดีระหวางคณาจารยและนิสิต 5.5 สรางและสงเสริมจรรยาบรรณของคณาจารยในมหาวิทยาลัย 5.6 หนาที่อื่นใดตามที่สภามหาวิทยาลัยหรืออธิการบดีมอบหมาย สภาคณาจารยอาจวางระเบียบของสภาคณาจารย ดำเนินงานออกสิ่งพิมพเพื่อแถลงกิจการ แสวงหาและติดตอขอขอมูล เชิญผูดำรงตำแหนงบริหารในมหาวิทยาลัย คณาจารยหรือเจาหนาที่ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตลอดจนบุคคลอื่นใดมาเขา รวมประชุมไดเปนครั้งคราว และอาจแตงตั้งคณะกรรมการ เพื่อกระทำกิจการหรือพิจารณาเรื่องใดๆ อันอยูในหนาที่ของ สภาคณาจารยโดยใหคณะกรรมการดังกลาวรายงานตอสภาคณาจารย” หากพิจารณาภาระหนาที่ของสภาคณาจารยตามที่ระบุไวใน พระราชบัญญัติและขอบังคับ ก็มีประเด็นวา สภาคณาจารยควรจะดำเนินบทบาทในลักษณะใด และประธานสภาฯในฐานะผูแทนของสภาฯควรจะมีบทบาท หนาที่และ ความรับผิดชอบอยางไร ผูเขียนขอนำเสนอบทบาทตามหนาที่ของสภาคณาจารยในสองลักษณะคือ 1. ตอบสนอง สภาคณาจารยทำหนาที่ใหคำปรึกษา หรือขอแนะนำ หรือปฏิบัติงานตามคำรองขอหรือไดรับ มอบหมายจากอธิการหรือ สภามหาวิทยาลัย
  • 16. 212 2. นำเสนอ สภาคณาจารยทำหนาที่เสนอความเห็นหรือขอแนะนำตออธิการบดีในเรื่องที่เกี่ยวของกับกิจการ ของมหาวิทยาลัยตามที่สภาคณาจารยเห็นวาสำคัญและจำเปนโดยตรงเอง โดยไมตองรอใหมีการรองขอหรือมอบหมาย ทั้งสองบทบาทตางก็มีความสำคัญ ขึ้นอยูกับสถานการณและคุณภาพของผูบริหารมหาวิทยาลัยในขณะนั้น แตไมวา สถานการณ และผูบริหารจะเปนเชนใด สภาคณาจารยจะดองปฏิบัติหนาที่ดวยเจตนาบริสุทธิ์ โปรงใส เพื่อความมั่นคง กาวหนา และเพื่อประโยชนสุขโดยรวมของประชาคมของมหาวิทยาลัยและประเทศชาติ โดยนัยเดียวกัน ประธานสภาฯในฐานะผูแทนสภาฯควรมีบทบาทและหนาที่ที่สอดคลองกับบทบาทหนาที่ ของสภาฯ และยังตองมีความรับผิดชอบตอสภาฯในฐานะผูแทนของสภาฯอีกดวย โดยไมบิดเบือนบทบาท หนาที่ หรือมติ ของสภาฯ แตดองปฏิบัติ และสนับสนุนบทบาทตามหนาที่ของสภาฯอยางมีความรับผิดชอบ เต็มความสามารถ และมีความ หนักแนนมั่นคงในบทบาทหนาที่ของประธานสภาฯ ในขอ 13 หมวด 2 ของระเบียบสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวย การดำเนินงานของสภาคณาจารย ระบุอำนาจและ หนาที่ของประธานสภาฯไวดังนี้ ขอ 13 ประธานมีอำนาจ และหนาที่ดังตอไปนี้ (1) เปนประธานของที่ประชุมสภา เวนแตในขณะที่กลาวอภิปรายสนับสนุนหรือคัดคานญัตติ ในที่ประชุม (2) ดำเนินกิจกรรมของสภา (3) รักษาความสงบเรียบรอยในสภา (4) เปนผูแทนของสภาในกิจกรรมภายนอก (5) ดำเนินกิจกรรมตามที่ไดรับมอบหมายจากสภา (6) ปฏิบัติหนาที่อื่นๆตามที่ไดกำหนดไวในระเบียบใดๆของสภาหรือขอบังคับ บทบาทหนาที่ของสภาคณาจารย และประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในชวงหนึ่งปที่ผูเขียนปฏิบัติ หนาที่ประธานสภา นอกจากจะพยายามทำตามหนาที่ที่ระบุไวในพระราชบัญญัติ ขอบังคับ และระเบียบตามที่ไดกลาวไวแลว ผูเขียนยังมุงมั่นใหการทำงานของสภาและของประธานสภา มีลักษณะในเชิงสรางสรรค (Constructive) ทางบวก (Positive) เชิงแนะนำ (Suggestive) ใหขาวสาร (Informative) ใหและเตือนสติ เนนอนาคต (Proactive) และเสนอทางเลือก (Alternative) บนฐานของคุณธรรมและปญญา การทำงานในทิศทางดังกลาว สภาคณาจารย จึงไมใชฝายคาน หรือฝายเดียวกับผูบริหาร ประธานสภาก็ไมใชหัวหนา ฝายคานหรือสนับสนุนผูบริหารมหาวิทยาลัยอยางขาดสติ หรือแบบหัวชนฝา แตสภาคณาจารยและประธานสภาคณาจารย เปนฝายเดียวกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและสังคมไทยโดยรวม บทบาทเชิงสรางสรรคที่สำคัญของสภาคณาอาจารยที่ทำอยางตอเนื่อง จึงเปนการนำเสนอขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ และโครงตางๆที่สมาชิกสภาคณาจารยพิจารณาวามีความสำคัญ เปนประโยชนตอประชาคมชาวจุฬาฯ และ/หรือเปนประโยชน ตอสังคมโดยสวนรวม บทบาทหนาที่ของสภาคณาจารยทั้งหมดที่กลาวถึง รวมทั้งที่จะมีเพิ่มมากขึ้นในอนาคต สะทอนใหเห็นความสำคัญของ สภาคณาจารยในฐานะที่เปนองคกรหนึ่งของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยนัยเดียวกัน บทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของประธานสภาก็คงจะเพิ่มและมีความทาทายมากขึ้น ประธานสภายังตองปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการชุดตางๆในมหาวิทยาลัย และนอกมหาวิทยาลัย หนึ่งปของการเปน ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสมัยที่ 36 (พ.ศ.2549-2550) มีงานกรรมการตางๆ ดังตอไปนี้ 1.การประชุมในคณะกรรมการชุดตางๆ ของมหาวิทยาลัย 1.1 กรรมการสภามหาวิทยาลัย 1.2 กรรมการกิจการสภามหาวิทยาลัย 1.3 การประชุม อ.ก.บ. (ผูทรงคุณวุฒิ) และคณบดี 1.4 กรรมการจัดการทรัพยสิน 1.5 กรรมการนโยบายการเงิน
  • 17. 213 1.6 กรรมการพิจารณานำเงินฝากธนาคารพาณิชยของมหาวิทยาลัย 1.7 กรรมการนโยบายวิชาการของสภามหาวิทยาลัย 1.8 คณะทำงานดำเนินการในการแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิพิจารณาตำแหนงทา วิชาการของมหาวิทยาลัย 1.9 คณะทำงานเฉพาะกิจพิจารณารางพระราชบัญญัติ จุฬาฯ พ.ศ. .... 1.10 คณะทำงานยกรางขอบังคับตามรางพระราชบัญญัติ จุฬาฯ พ.ศ.... 1.11 กรรมการพิจารณาการตอเวลาราชการของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 1.12 ประธานดำเนินการเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทคณาจารย ประจำ 1.13 กรรมการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัย ประเภทผูทรงคุณวุฒิ 1.14 กรรมการผูทรงคุณวุฒิ เพื่อพิจารณาการใหปริญญากิตติมศักดิ์ และเสนอแตงตั้งศาสตราจารยกิตติคุณ 1.15 กรรมการบริหารศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1.16 กรรมการนโยบายการรับนักเรียนเขาศึกษาในจุฬาฯโดยวิธีพิเศษ 1.17 คณะทำงานพิจารณาจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 1.18 กรรมการดำเนินการหยั่งเสียงฯ เลือกตั้งกรรมการดำเนินการสหกรณออมทรัพยจุฬาฯ 1.19 กรรมการพิจารณาหลักเกณฑการเขาสูตำแหนงศาสตราจารยของอาจารยพนักงานมหาวิทยาลัย 1.20 กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการของผูเสนอผลงานขอตำแหนง ผศ. หรือ รศ. โดยวิธีพิเศษ 1.21 กรรมการมูลนิธิสถาบันทรัพยสินทางปญญาแหงจุฬาฯ 1.22 กรรมการนโยบายรับนักเรียนเขาศึกษาในจุฬาฯ โดยวิธีพิเศษ 2. การประชุมคณะกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัย 2.1 อนุกรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะของประชาคมจุฬาฯ 2.2 ประชุมที่ประชุมประธานสภาอาจารยมหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย (ปอมท.) 2.3 กรรมการบริหาร ปอมท. 2.4 ผูอำนวยการฝายพัฒนาบุคลากรของ ปอมท. 2.5 ที่ปรึกษาฝายประชาสัมพันธ ปอมท. 2.6 ที่ปรึกษาฝายวิชาการ ปอมท. ประธานสภายังทำหนาที่เปนกรรมการสรรหาคณบดี/ผูอำนวยการสถาบันตางๆในมหาวิทยาลัย ในชวงที่ดำรงตำแหนง อยู มีการสรรหาคณบดี/ผูอำนวยการสถาบันทั้งหมด 8 แหง ไดแก 1.คณบดีคณะรัฐศาสตร 2.ผูอำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรการแพทย 3.คณบดีคณะนิเทศศาสตร 4.ผูอำนวยการสถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร 5.ผูอำนวยการสถาบันวิจัยสังคม 6.ผูอำนวยการสถาบันเอเชียศึกษา 7.ผูอำนวยการสถาบันภาษา 8.คณบดีคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี การประชุมกรรมการแตละชุดในแตละครั้งใชเวลาคอนขางมาก บางชุดประชุมตอนเย็นหลังเวลาราชการ บางครั้งถึง 2-3 ทุม บางชุดตองใชสติปญญา เมตตา ขันติและสันติธรรมในการบริหารจัดการปญหาอยางมาก บทบาทของประธานสภา ในการประชุมกรรมการชุดตางๆสวนใหญเปนเรื่องของการใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ ทั้งในฐานะกรรมการ นักวิชาการ ที่ปรึกษาอธิการ เปนคนกลาง และเปนผูแทนของสภาคณาจารย หลังจากนั้นประธานจะสรุปรายงานแจงใหคณะกรรมการบริหาร ประจำสภาฯ และที่ประชุมใหญของสภาคณาจารยเพื่อทราบและพิจารณา หากที่ประชุมมีขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ หรือมีมติ ในเรื่องหนึ่งเรื่องใด และมีมติใหประธานสภานำกลับไปเสนอคณะกรรมการ หรือผูบริหารมหาวิทยาลัย ประธานสภาก็จะปฏิบัติ
  • 18. 214 ตามมติที่ประชุม มีการเชิญผูบริหารมหาวิทยาลัยมาพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเห็นเปนระยะๆกับที่ประชุม สภาคณาจารยในเรื่องที่สมาชิกสภามีความสนใจ มีการจัดประชุมทางวิชาการประจำป 2 ครั้ง โดยเชิญวิทยากรจากทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รับเปนเจาภาพจัดการประชุมที่ประชุมสภาอาจารยแหงประเทศไทย (ปอมท.) 1 ครั้ง ไดรวมมือกับชมรมสมาชิกสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่มีรองศาสตราจารย ประณต นันทิยะกุล เปนประธานชมรม (ประธานสภาเปนรองประธานชมรมโดยตำแหนง) จัดทำหนังสือคูมือสภาคณาจารย เพื่อเปนประโยชนตอ สมาชิกสภาคณาจารย ผูเกี่ยวของ และผูสนใจทั่วไป นอกจากนั้น ในชวงที่ปฏิบัติหนาที่ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูเขียนไดรับเชิญใหไปเปน วิทยากร ผูรวมอภิปราย และผูบรรยายพิเศษเกี่ยวกับกิจการของมหาวิทยาลัย และสภาคณาจารยในสถาบันตางๆหลายครั้ง งานของสภาคณาจารยและประธานสภาจะสัมฤทธิผลตองอาศัยความรวมมืออยางดีจากสมาชิกสภาคณาจารย และโดย เฉพาะการทำงานที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกรรมการบริหารประจำสภา และกรรมการชุดตางๆของสภา การที่จะปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ของสภาคณาจารย และของประธานสภาโดยตรงและในสวนที่เกี่ยวของให บรรลุเปาหมายไดอยางสมบูรณมากขึ้น ประธานสภาพึงปฏิบัติหนาที่อยางมีสติ ใชปญญา มีความคิดสรางสรรค มีความทุมเท และเสียสละอยางมาก ทั้งในแงของเวลา สุขภาวะทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ หนึ่งปที่ผูเขียนปฏิบัติหนาที่ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผนวกกับภาระงานของคณาจารย ประจำตามที่เคยรับผิดชอบอยูเดิม เปนหนึ่งปของความทุมเท เปนหนึ่งปที่ผูเขียนทำงานหนักที่สุดตั้งแตรับราชการมา เปนหนึ่งป ที่เหนื่อยกาย ทาทายสมอง แตสุขใจและภูมิใจที่ไดรับเกียรติ์ใหเปน และทำหนาที่ประธานสภาคณาจารย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ขอมูลและประสบการณทั้งหมดที่ปรากฏในบทความนี้ หากจะมีความดีงาม หรือเกิดประโยชนแกสภาฯสถาบันใดๆ ผูเขียนขอมอบเปนสักการบูชาแดสภาคณาจารย และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยอันเปนที่เคารพรักยิ่งของผูเขียนทั้งหมด
  • 19.
  • 20. 216 - ไมมีการเปดเผยขอมูลอันเปนความลับโดยเฉพาะขอมูล อันจะนำไปสูผลประโยชนของตัวกรรมการ สภามหาวิทยาลัย เอง หรือผลประโยชนตอผูอื่น - ตองหลีกเลี่ยงการเซ็นตขอตกลงทางธุรกิจใดใด ทั้งโดยตรงและโดยออม ซึ่งจะมีผลสืบเนื่องตอ กิจการมหาวิทยาลัย ไมวาจะเปนการซื้อขายที่ดิน สินทรัพย พัสดุ ครุภัณฑ หรือ บริการใดๆ - พึงหลีกเลี่ยงการรับของขวัญ หรือ ผลประโยชนเฉพาะตัวบุคคลจากบุคคล หรือกลุมบุคคล ที่มีการดำเนินธุรกิจ หรือมีขอตกลงทางธุรกิจรวมกับ มหาวิทยาลัย - ตองแจงใหที่ประชุมทราบ เมื่อไดทราบถึงความไมชอบมาพากลในการดำเนินกิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ มหาวิทยาลัย ใหนายกสภามหาวิทยาลัย และอธิการบดีทราบในทันที อยางไรก็ตาม ขอบเขตหนาที่ของสภามหาวิทยาลัยนั้นกำหนดไวเพียงกำกับ ไมกาวกายอำนาจหนาที่ของ อธิการบดี ซึ่งมีฐานะของผูบริหารสูงสุดทั้งโดยตำแหนง และโดยฐานะของบุคลากรสายวิชาการ อันเปนตำแหนงที่ควรไดรับการคัดเลือก จากสภามหาวิทยาลัย ใหปฏิบัติงานบริหารมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามจุดมุงหมาย และนโยบาย ของสภามหาวิทยาลัย โดยอาศัยวิจารณญานของตนในการสรางประโยชนสูงสุดของมหาวิทยาลัย และจะตองรายงานใหสภามหาวิทยาลัยทราบถึง เปาหมายระยะยาวของมหาวิทยาลัย และหลักสูตรใหมๆ อันจะนำไปสูวัตถุประสงคที่เปนเปาหมายนั้น อีกทั้งยังตองรายงานให สภามหาวิทยาลัยทราบถึงการ แตงตั้ง การจายผลตอบแทน และการเลื่อนขั้นเงินเดือนของบุคลากร การลาหยุด/ลากิจ/ ลาพักผอนของบุคลากร ใหสภามหาวิทยาลัยรับทราบ หากไดรับการสอบถาม รวมทั้งตองปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามแตจะไดรับ มอบหมายจากสภามหาวิทยาลัย รูปแบบการจัดองคกรในมหาวิทยาลัยซึ่งไดรับความนิยมอยูทั่วไปในปจจุบัน รูปแบบโครงสรางมหาวิทยาลัยไทย สำหรับรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัยของไทยนั้น สวนใหญมักมีการจำลองรูปแบบ มาในลักษณะ คลายๆกัน มีขอกฏหมาย ที่อยูในลักษณะ พระราชบัญญัติประจำแตละมหาวิทยาลัย และ ขอบังคับ ที่เกี่ยวของ ซึ่งมีลักษณะซ้ำๆ คลายกับ จะเปน การถายทอดไปมาระหวางกัน ตลอดจนกระทั่ง รูปแบบผังการบริหาร ก็ยังมีลักษณะแทบไมแตกตางกัน คือ มีสภามหาวิทยาลัย เปนองคคณะที่อยูจุดสูงสุดของสายการบริหาร และมีการระบุถึงความหมาย ที่มา ตลอดจน บทบาทของ สภามหาวิทยาลัย ไวใน มาตราที่ ๑๖, ๑๗, ๑๘ ใน พรบ. ของแตละมหาวิทยาลัย ลักษณะเฉพาะของสภามหาวิทยาลัยไทย จากการศึกษาขอมูลกรรมการสภามหาวิทยาลัยทั้งของภาครัฐและเอกชน จำนวน ๑๐๘ แหง ทางอินเทอรเน็ต โดย คนผานโฮมเพจของสถาบันการศึกษา พบลักษณะพิเศษ อันบงบอกถึงลักษณะเฉพาะของสภามหาวิทยาลัย วัฒนธรรมองคกร ของมหาวิทยาลัย หรือ ตัวตนของผูบริหาร ไดดังนี้